วันเวลาปัจจุบัน 19 ก.ค. 2025, 00:51  



เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง




กลับไปยังกระทู้  [ 194 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1 ... 4, 5, 6, 7, 8, 9, 10 ... 13  ต่อไป  Bookmark and Share
เจ้าของ ข้อความ
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 23 มิ.ย. 2014, 17:27 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 14 ก.ค. 2008, 21:56
โพสต์: 3925

ชื่อเล่น: เช่นนั้น
อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
นำตัวอย่างที่พระพุทธองค์สอนแล้วเกิดความหน่าย เป็นต้น มาให้ดูหน่อยสิ :b10:

ไปเปิดเองนะ
มหาสติปัฏฐานสูตร
อานาปานสติสูตร
กายคตาสติสูตร
มีอีกเพียบ ในพระไตรปิฏก
เข้าไปทำความศึกษา ล่ะ ^ ^

.....................................................
ธรรมะอันยิ่งใหญ่ ไม่อาจเอื้อนเอ่ย
บัญญัติ เป็นเพียงสิ่งต่ำต้อยแบกรับความยิ่งใหญ่


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 23 มิ.ย. 2014, 17:28 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


เช่นนั้น เขียน:
กรัชกาย เขียน:
นำตัวอย่างที่พระพุทธองค์สอนแล้วเกิดความหน่าย เป็นต้น มาให้ดูหน่อยสิ :b10:

ไปเปิดเองนะ
มหาสติปัฏฐานสูตร
อานาปานสติสูตร
กายคตาสติสูตร
มีอีกเพียบ ในพระไตรปิฏก
เข้าไปทำความศึกษา ล่ะ ^ ^



คิกๆ เอาอีกแระ :b1:

นี่เป็นประโยชน์ไหม

๕. ก. นาย บำรุงคนรับใช้และคนงาน ผู้เป็นเหมือนทิศเบื้องล่าง โดย
๑) จัดงานให้ทำตามความเหมาะสมกับกำลังเพศวัยและความสามารถ
๒) ให้ค่าจ้างรางวัลสมควรแก่งานและความเป็นอยู่
๓) จัดสวัสดิการดี มีช่วยรักษาพยาบาลในยามเจ็บไข้ เป็นต้น
๔) มีอะไรได้พิเศษมา ก็แบ่งปันให้
๕) ให้มีวันหยุดและพักผ่อนหย่อนใจตามโอกาส


ข. คนรับใช้และคนงาน อนุเคราะห์นาย ดังนี้

๑) เริ่มทำงานก่อน
๒) เลิกงานทีหลัง
๓) เอาแต่ของที่นายให้
๔) ทำการงานให้เรียบร้อยและดียิ่งขึ้น
๕) นำความดีของนายงานและกิจการไปเผยแพร่

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 23 มิ.ย. 2014, 17:32 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 14 ก.ค. 2008, 21:56
โพสต์: 3925

ชื่อเล่น: เช่นนั้น
อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
เช่นนั้น เขียน:
กรัชกาย เขียน:
นำตัวอย่างที่พระพุทธองค์สอนแล้วเกิดความหน่าย เป็นต้น มาให้ดูหน่อยสิ :b10:

ไปเปิดเองนะ
มหาสติปัฏฐานสูตร
อานาปานสติสูตร
กายคตาสติสูตร
มีอีกเพียบ ในพระไตรปิฏก
เข้าไปทำความศึกษา ล่ะ ^ ^



คิกๆ เอาอีกแระ :b1:

นี่เป็นประโยชน์ไหม

๕. ก. นาย บำรุงคนรับใช้และคนงาน ผู้เป็นเหมือนทิศเบื้องล่าง โดย
๑) จัดงานให้ทำตามความเหมาะสมกับกำลังเพศวัยและความสามารถ
๒) ให้ค่าจ้างรางวัลสมควรแก่งานและความเป็นอยู่
๓) จัดสวัสดิการดี มีช่วยรักษาพยาบาลในยามเจ็บไข้ เป็นต้น
๔) มีอะไรได้พิเศษมา ก็แบ่งปันให้
๕) ให้มีวันหยุดและพักผ่อนหย่อนใจตามโอกาส


ข. คนรับใช้และคนงาน อนุเคราะห์นาย ดังนี้

๑) เริ่มทำงานก่อน
๒) เลิกงานทีหลัง
๓) เอาแต่ของที่นายให้
๔) ทำการงานให้เรียบร้อยและดียิ่งขึ้น
๕) นำความดีของนายงานและกิจการไปเผยแพร่

อย่าเฉไฉ ไปศึกษาพระสูตรไป เสียเวลามาเวิ่นเว้ออีกน่ะ กรัชกาย

.....................................................
ธรรมะอันยิ่งใหญ่ ไม่อาจเอื้อนเอ่ย
บัญญัติ เป็นเพียงสิ่งต่ำต้อยแบกรับความยิ่งใหญ่


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 23 มิ.ย. 2014, 17:33 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 14 ก.ค. 2008, 21:56
โพสต์: 3925

ชื่อเล่น: เช่นนั้น
อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


แนะนำ กรัชกายไปศึกษาพระสูตร เป็นประโยชน์ไหม
เอาแค่นี้พอ ไม่ต้องหาอะไรพิมพ์ยาวๆ :b17: :b17:

.....................................................
ธรรมะอันยิ่งใหญ่ ไม่อาจเอื้อนเอ่ย
บัญญัติ เป็นเพียงสิ่งต่ำต้อยแบกรับความยิ่งใหญ่


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 23 มิ.ย. 2014, 17:33 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


เช่นนั้น เขียน:
กรัชกาย เขียน:
เช่นนั้น เขียน:
กรัชกาย เขียน:
นำตัวอย่างที่พระพุทธองค์สอนแล้วเกิดความหน่าย เป็นต้น มาให้ดูหน่อยสิ :b10:

ไปเปิดเองนะ
มหาสติปัฏฐานสูตร
อานาปานสติสูตร
กายคตาสติสูตร
มีอีกเพียบ ในพระไตรปิฏก
เข้าไปทำความศึกษา ล่ะ ^ ^



คิกๆ เอาอีกแระ :b1:

นี่เป็นประโยชน์ไหม

๕. ก. นาย บำรุงคนรับใช้และคนงาน ผู้เป็นเหมือนทิศเบื้องล่าง โดย
๑) จัดงานให้ทำตามความเหมาะสมกับกำลังเพศวัยและความสามารถ
๒) ให้ค่าจ้างรางวัลสมควรแก่งานและความเป็นอยู่
๓) จัดสวัสดิการดี มีช่วยรักษาพยาบาลในยามเจ็บไข้ เป็นต้น
๔) มีอะไรได้พิเศษมา ก็แบ่งปันให้
๕) ให้มีวันหยุดและพักผ่อนหย่อนใจตามโอกาส


ข. คนรับใช้และคนงาน อนุเคราะห์นาย ดังนี้

๑) เริ่มทำงานก่อน
๒) เลิกงานทีหลัง
๓) เอาแต่ของที่นายให้
๔) ทำการงานให้เรียบร้อยและดียิ่งขึ้น
๕) นำความดีของนายงานและกิจการไปเผยแพร่

อย่าเฉไฉ ไปศึกษาพระสูตรไป เสียเวลามาเวิ่นเว้ออีกน่ะ กรัชกาย



ก็ตัวเองพูดแท้ๆ ว่าพระพุทธเจ้าสอนแต่สิ่งที่เป็นประโยชน์ เราเอามาถามว่าเป็นประโยชน์ไหม แน่ะๆ บิดตะกูดไปโน่น คิกๆๆ

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 23 มิ.ย. 2014, 17:35 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


เอาอันนี้มั่ง เป็นไปเพื่อความเบื่อหน่ายไหมเนี่ย


อ้างคำพูด:
พอ ดีเมื่อวานได้นั่งสมาธิแล้วได้กำหนด พุธ-โธ เมื่อจิตสงบก็ พิจารณากายในกาย เช่นหายใจเข้าเป็นลมเข้าไปสู่ร่างกายออกมาพิจาณาสิ่งปฏิกูลในร่างกายไป สักพัก เหมือนเปลี่ยนฐานะตัวเองเป็นผู้ดู มีสติ เห็นเหมือนภาพ มีกล่องใบใหญ่มาก สีขาว

ทันใดนั้นกายก็ถูกแยกออกเป็นส่วนๆ เช่น ปอด ม้าม ตับ ไต ไส้ สมอง เล็บ ขน ฟัน หลุดเอาไปรวมในกล่องนั้น แล้วก็มีภาพพ่อ แม่ คนที่มีใจผูกพันธ์ ถูกแยกกายออกเป็นชิ้นๆเหมือนเราอวัยวะถูกรวมไปในกล่องใหญ่ใบนั้น จิตเรามันอยากเห็นอะไรในกล่องพอมองลงไปก็เห็นแต่อวัยวะต่างๆกองรวมกัน

ทัน ใดก็มีเสียงหนึ่งถามว่า "กายเธออยู่ที่ไหน" เมื่อได้เห็นแบบนี้ก็เลยตอบว่า "ไม่มี" แล้วเสียงนั้นก็ตอบว่า "แล้วจิตเธออยู่ที่ไหน" ดิฉันพยายามมองหาคำตอบว่า จิตอยู่ที่ไหน เพราะตอนนี้กายไม่มีแล้ว ก็จะบริกรรมพุธโธต่อแต่ ไม่มีกายก็ไม่มีลม คำบริกรรมก็หาย มันมีสภาวะที่โล่งๆว่างๆ เลยตอบไปว่า "จิตก็คงไม่มี" แล้วมันก็สว่างวาบแล้วเหมือนมีกระแสไฟกระจายไปทั่วความสว่างนั้น

อยากจะถามผู้รู้ ว่า

1.สิ่งที่เกิดขึ้นนี่คืออะไร เป็นนิมิตอะไร อะไรแสดงธรรมอยู่
2.ดิฉันควรปฏิบัติต่อไปอย่างไร

ครั้งนี้เป็นครั้งที่ 2 ครั้งแรก ดิฉันเห็นตัวเองเป็นซากศพ มีอะไรมากัดกิน



.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 23 มิ.ย. 2014, 17:38 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 14 ก.ค. 2008, 21:56
โพสต์: 3925

ชื่อเล่น: เช่นนั้น
อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


ไม่อ่านหรอกครับ เสียเวลา

.....................................................
ธรรมะอันยิ่งใหญ่ ไม่อาจเอื้อนเอ่ย
บัญญัติ เป็นเพียงสิ่งต่ำต้อยแบกรับความยิ่งใหญ่


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 23 มิ.ย. 2014, 17:40 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
แนวคิดของท่านเช่นนั้น

อ้างคำพูด:
ตั้งแต่ เริ่มท่องพุทโธและกำหนดลมเข้าไป ...... ก็เป็นการเริ่มจับเจ่าเฝ้าอารมณ์ทำสัญญาให้ปรากฏ
ไม่ใช่สติกำหนดลมหายใจครับ

การเริ่มท่องพุทโธและกำหนดลมเข้าไป ไม่ใช่สัมมาสมาธิ แต่เป็นการทำสมาธิให้ฟุ้งไปกับสัญญาครับ

ถ้าเจริญสมาธิเช่นนี้ ก็แป๊กครับ

คุณ Idea ทิ้งพุทโธ ไปเลยครับ ขณะนี้ไม่ได้เจริญพุทธานุสติครับ
เอาแต่อานาปานสติภาวนาอย่างเดียวก็พอ
หาที่เร้นคือที่สงบไม่มีใครรบกวน ศึกษาให้รู้จักสติด้วยลมหายใจเข้าลมหายใจออก ครับ

ด้วยความตั้งใจว่า จะทำความศึกษาเพื่อ เห็นสติ ถ้าเข้าใจก็จะไปต่อได้ง่าย
เพราะในอานาปานสติสูตร มีคำหนึ่งคือ ดำรงสติเฉพาะหน้า ก่อนที่จะไปทำการศึกษา ในกายานุปัสนาฯ

ต้องเข้าใจก่อนว่า ดำรงสติเฉพาะหน้า มีอาการอย่างไร....

สติคือการระลึกถึงข้อเท็จจริงที่ปรากฏต่ออารมณ์เฉพาะหน้าเป็นสำคัญเท่านั้น

จะนั่งหลับตา ลืมตา เดินก็ได้ วิ่งก็ได้ ไม่สำคัญ แต่อากัปกิริยาที่สะดวกที่สุดสบายที่สุดในการเจริญอานาปานสติภาวนา คือนั่งคู้ขา ตั้งกายตรง

มีลมหายใจเข้า ลมหายใจออกเป็นวัตถุ มีอาการทำการหายใจเข้าหายใจออกเป็นเครื่องหมายสำคัญว่าเป็นการหายใจ นี่คือการทำสัญญาให้ปรากฏ

ตอนนี้ก็มาถึงการเรียนรู้ สติ

ข้อเท็จจริงที่ทำขณะนี้คือ ใส่ใจเฉพาะที่จุดกระทบของลมเข้าลมออก (เช่นปลายจมูก หรือจุดเหนือริมฝีปากบน) สติจะระลึกแต่สิ่งเดียวคือการกระทบของลมที่จุดนี้

(ถ้าลืมตา ก็เห็นรูปเห็นภาพข้างหน้าก็ไม่ใส่ใจถือเป็นสำคัญ เห็นแต่ไม่รับรู้
ถ้ามีเสียงดังข้างๆหู ก็ไม่ใส่ใจถือเป็นสำคัญไม่ใช่หูดับ ได้ยินแต่ไม่รับรู้
มีลมพัดไรบ้างกระทบผิวกายก็ช่างมันไม่ใส่ใจ)

สติจะระวังอยู่แต่สิ่งนี้คือระวังใจไม่ให้ใส่ใจเรื่องอื่นนอกจากรู้ลมทีผ่านจุดกระทบ
ทำอย่างนี้สติก็จะตั้งอยู่ในภายใน

คุณIdea ก็จะเห็นความแตกต่างระหว่างสัญญา และสติ
สติกำหนดลมหายใจว่ามีเพียงลมหายใจเท่านั้น เป็นการกำหนดเพื่อระวังใจไปใส่ใจต่อผัสสะอื่นที่มากระทบทางทวารอื่น
ต่างจากทำสัญญาให้ปรากฏ คือทำการหายใจเข้าหายใจออกเป็นเครื่องหมายสำคัญว่าเป็นการหายใจ


ไม่ต้องสนใจว่าลมจะเข้าท้องพอง หรือท้องยุบ
ไม่ต้องสนใจว่าลมจะไปถึงไหน
ไม่ต้องสนใจระยะทางของลม
ไม่ต้องสนใจว่าเมื่อไรจะออกเมื่อไรจะเข้า

เป็นการศึกษาอย่างแรก ที่ต้องอาศัยความเพียร ในการทำความรู้จักสติ ว่าสติ ทำหน้าที่ระวังใจคุมใจต่อข้อเท็จจริงกำหนดที่ข้อเท็จจริงว่าขณะนั้นทำอะไรอยู่

ขณะนั้นทำอะไรอยู่จึงเป็น เพียงอุปกรณ์ในการฝึกให้รู้จัก "สติ"

การฝึกแบบนี้ จึงไม่ใช่การจับเจ่าเฝ้าอารมณ์ แต่จะเป็นการศึกษาเข้ามาในจิตกันเลยทีเดียวครับ

ศึกษาให้รู้จัก "สติ" ก่อนครับ .....ค่อยไปต่อ...

เราไม่ใช่ตอไม้ จนถึงกับไม่ได้เห็นไม่ได้ยินอะไรรอบข้าง..........
ทำไปก่อนใช้เวลาไม่นานหรอก ทำสบายๆ : ))

http://www.dhammajak.net/forums/viewtopic.php?f=2&t=47939



แล้วนี่เป็นไปเพื่อความเบื่อหน่ายไหม :b14:

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 23 มิ.ย. 2014, 17:43 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 14 ก.ค. 2008, 21:56
โพสต์: 3925

ชื่อเล่น: เช่นนั้น
อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
กรัชกาย เขียน:
แนวคิดของท่านเช่นนั้น

อ้างคำพูด:
ตั้งแต่ เริ่มท่องพุทโธและกำหนดลมเข้าไป ...... ก็เป็นการเริ่มจับเจ่าเฝ้าอารมณ์ทำสัญญาให้ปรากฏ
ไม่ใช่สติกำหนดลมหายใจครับ

การเริ่มท่องพุทโธและกำหนดลมเข้าไป ไม่ใช่สัมมาสมาธิ แต่เป็นการทำสมาธิให้ฟุ้งไปกับสัญญาครับ

ถ้าเจริญสมาธิเช่นนี้ ก็แป๊กครับ

คุณ Idea ทิ้งพุทโธ ไปเลยครับ ขณะนี้ไม่ได้เจริญพุทธานุสติครับ
เอาแต่อานาปานสติภาวนาอย่างเดียวก็พอ
หาที่เร้นคือที่สงบไม่มีใครรบกวน ศึกษาให้รู้จักสติด้วยลมหายใจเข้าลมหายใจออก ครับ

ด้วยความตั้งใจว่า จะทำความศึกษาเพื่อ เห็นสติ ถ้าเข้าใจก็จะไปต่อได้ง่าย
เพราะในอานาปานสติสูตร มีคำหนึ่งคือ ดำรงสติเฉพาะหน้า ก่อนที่จะไปทำการศึกษา ในกายานุปัสนาฯ

ต้องเข้าใจก่อนว่า ดำรงสติเฉพาะหน้า มีอาการอย่างไร....

สติคือการระลึกถึงข้อเท็จจริงที่ปรากฏต่ออารมณ์เฉพาะหน้าเป็นสำคัญเท่านั้น

จะนั่งหลับตา ลืมตา เดินก็ได้ วิ่งก็ได้ ไม่สำคัญ แต่อากัปกิริยาที่สะดวกที่สุดสบายที่สุดในการเจริญอานาปานสติภาวนา คือนั่งคู้ขา ตั้งกายตรง

มีลมหายใจเข้า ลมหายใจออกเป็นวัตถุ มีอาการทำการหายใจเข้าหายใจออกเป็นเครื่องหมายสำคัญว่าเป็นการหายใจ นี่คือการทำสัญญาให้ปรากฏ

ตอนนี้ก็มาถึงการเรียนรู้ สติ

ข้อเท็จจริงที่ทำขณะนี้คือ ใส่ใจเฉพาะที่จุดกระทบของลมเข้าลมออก (เช่นปลายจมูก หรือจุดเหนือริมฝีปากบน) สติจะระลึกแต่สิ่งเดียวคือการกระทบของลมที่จุดนี้

(ถ้าลืมตา ก็เห็นรูปเห็นภาพข้างหน้าก็ไม่ใส่ใจถือเป็นสำคัญ เห็นแต่ไม่รับรู้
ถ้ามีเสียงดังข้างๆหู ก็ไม่ใส่ใจถือเป็นสำคัญไม่ใช่หูดับ ได้ยินแต่ไม่รับรู้
มีลมพัดไรบ้างกระทบผิวกายก็ช่างมันไม่ใส่ใจ)

สติจะระวังอยู่แต่สิ่งนี้คือระวังใจไม่ให้ใส่ใจเรื่องอื่นนอกจากรู้ลมทีผ่านจุดกระทบ
ทำอย่างนี้สติก็จะตั้งอยู่ในภายใน

คุณIdea ก็จะเห็นความแตกต่างระหว่างสัญญา และสติ
สติกำหนดลมหายใจว่ามีเพียงลมหายใจเท่านั้น เป็นการกำหนดเพื่อระวังใจไปใส่ใจต่อผัสสะอื่นที่มากระทบทางทวารอื่น
ต่างจากทำสัญญาให้ปรากฏ คือทำการหายใจเข้าหายใจออกเป็นเครื่องหมายสำคัญว่าเป็นการหายใจ


ไม่ต้องสนใจว่าลมจะเข้าท้องพอง หรือท้องยุบ
ไม่ต้องสนใจว่าลมจะไปถึงไหน
ไม่ต้องสนใจระยะทางของลม
ไม่ต้องสนใจว่าเมื่อไรจะออกเมื่อไรจะเข้า

เป็นการศึกษาอย่างแรก ที่ต้องอาศัยความเพียร ในการทำความรู้จักสติ ว่าสติ ทำหน้าที่ระวังใจคุมใจต่อข้อเท็จจริงกำหนดที่ข้อเท็จจริงว่าขณะนั้นทำอะไรอยู่

ขณะนั้นทำอะไรอยู่จึงเป็น เพียงอุปกรณ์ในการฝึกให้รู้จัก "สติ"

การฝึกแบบนี้ จึงไม่ใช่การจับเจ่าเฝ้าอารมณ์ แต่จะเป็นการศึกษาเข้ามาในจิตกันเลยทีเดียวครับ

ศึกษาให้รู้จัก "สติ" ก่อนครับ .....ค่อยไปต่อ...

เราไม่ใช่ตอไม้ จนถึงกับไม่ได้เห็นไม่ได้ยินอะไรรอบข้าง..........
ทำไปก่อนใช้เวลาไม่นานหรอก ทำสบายๆ : ))

http://www.dhammajak.net/forums/viewtopic.php?f=2&t=47939



แล้วนี่เป็นไปเพื่อความเบื่อหน่ายไหม :b14:

เป็นการเริ่มต้นของการเจริญอานาปานสติสมาธิภาวนา เป็นไปตามหลักอานาปานสติ ยังไม่ถึงระดับ อนุปัสสนา

.....................................................
ธรรมะอันยิ่งใหญ่ ไม่อาจเอื้อนเอ่ย
บัญญัติ เป็นเพียงสิ่งต่ำต้อยแบกรับความยิ่งใหญ่


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 23 มิ.ย. 2014, 17:47 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


เช่นนั้น เขียน:
กรัชกาย เขียน:
กรัชกาย เขียน:
แนวคิดของท่านเช่นนั้น

อ้างคำพูด:
ตั้งแต่ เริ่มท่องพุทโธและกำหนดลมเข้าไป ...... ก็เป็นการเริ่มจับเจ่าเฝ้าอารมณ์ทำสัญญาให้ปรากฏ
ไม่ใช่สติกำหนดลมหายใจครับ

การเริ่มท่องพุทโธและกำหนดลมเข้าไป ไม่ใช่สัมมาสมาธิ แต่เป็นการทำสมาธิให้ฟุ้งไปกับสัญญาครับ

ถ้าเจริญสมาธิเช่นนี้ ก็แป๊กครับ

คุณ Idea ทิ้งพุทโธ ไปเลยครับ ขณะนี้ไม่ได้เจริญพุทธานุสติครับ
เอาแต่อานาปานสติภาวนาอย่างเดียวก็พอ
หาที่เร้นคือที่สงบไม่มีใครรบกวน ศึกษาให้รู้จักสติด้วยลมหายใจเข้าลมหายใจออก ครับ

ด้วยความตั้งใจว่า จะทำความศึกษาเพื่อ เห็นสติ ถ้าเข้าใจก็จะไปต่อได้ง่าย
เพราะในอานาปานสติสูตร มีคำหนึ่งคือ ดำรงสติเฉพาะหน้า ก่อนที่จะไปทำการศึกษา ในกายานุปัสนาฯ

ต้องเข้าใจก่อนว่า ดำรงสติเฉพาะหน้า มีอาการอย่างไร....

สติคือการระลึกถึงข้อเท็จจริงที่ปรากฏต่ออารมณ์เฉพาะหน้าเป็นสำคัญเท่านั้น

จะนั่งหลับตา ลืมตา เดินก็ได้ วิ่งก็ได้ ไม่สำคัญ แต่อากัปกิริยาที่สะดวกที่สุดสบายที่สุดในการเจริญอานาปานสติภาวนา คือนั่งคู้ขา ตั้งกายตรง

มีลมหายใจเข้า ลมหายใจออกเป็นวัตถุ มีอาการทำการหายใจเข้าหายใจออกเป็นเครื่องหมายสำคัญว่าเป็นการหายใจ นี่คือการทำสัญญาให้ปรากฏ

ตอนนี้ก็มาถึงการเรียนรู้ สติ

ข้อเท็จจริงที่ทำขณะนี้คือ ใส่ใจเฉพาะที่จุดกระทบของลมเข้าลมออก (เช่นปลายจมูก หรือจุดเหนือริมฝีปากบน) สติจะระลึกแต่สิ่งเดียวคือการกระทบของลมที่จุดนี้

(ถ้าลืมตา ก็เห็นรูปเห็นภาพข้างหน้าก็ไม่ใส่ใจถือเป็นสำคัญ เห็นแต่ไม่รับรู้
ถ้ามีเสียงดังข้างๆหู ก็ไม่ใส่ใจถือเป็นสำคัญไม่ใช่หูดับ ได้ยินแต่ไม่รับรู้
มีลมพัดไรบ้างกระทบผิวกายก็ช่างมันไม่ใส่ใจ)

สติจะระวังอยู่แต่สิ่งนี้คือระวังใจไม่ให้ใส่ใจเรื่องอื่นนอกจากรู้ลมทีผ่านจุดกระทบ
ทำอย่างนี้สติก็จะตั้งอยู่ในภายใน

คุณIdea ก็จะเห็นความแตกต่างระหว่างสัญญา และสติ
สติกำหนดลมหายใจว่ามีเพียงลมหายใจเท่านั้น เป็นการกำหนดเพื่อระวังใจไปใส่ใจต่อผัสสะอื่นที่มากระทบทางทวารอื่น
ต่างจากทำสัญญาให้ปรากฏ คือทำการหายใจเข้าหายใจออกเป็นเครื่องหมายสำคัญว่าเป็นการหายใจ


ไม่ต้องสนใจว่าลมจะเข้าท้องพอง หรือท้องยุบ
ไม่ต้องสนใจว่าลมจะไปถึงไหน
ไม่ต้องสนใจระยะทางของลม
ไม่ต้องสนใจว่าเมื่อไรจะออกเมื่อไรจะเข้า

เป็นการศึกษาอย่างแรก ที่ต้องอาศัยความเพียร ในการทำความรู้จักสติ ว่าสติ ทำหน้าที่ระวังใจคุมใจต่อข้อเท็จจริงกำหนดที่ข้อเท็จจริงว่าขณะนั้นทำอะไรอยู่

ขณะนั้นทำอะไรอยู่จึงเป็น เพียงอุปกรณ์ในการฝึกให้รู้จัก "สติ"

การฝึกแบบนี้ จึงไม่ใช่การจับเจ่าเฝ้าอารมณ์ แต่จะเป็นการศึกษาเข้ามาในจิตกันเลยทีเดียวครับ

ศึกษาให้รู้จัก "สติ" ก่อนครับ .....ค่อยไปต่อ...

เราไม่ใช่ตอไม้ จนถึงกับไม่ได้เห็นไม่ได้ยินอะไรรอบข้าง..........
ทำไปก่อนใช้เวลาไม่นานหรอก ทำสบายๆ : ))

http://www.dhammajak.net/forums/viewtopic.php?f=2&t=47939



แล้วนี่เป็นไปเพื่อความเบื่อหน่ายไหม :b14:

เป็นการเริ่มต้นของการเจริญอานาปานสติสมาธิภาวนา เป็นไปตามหลักอานาปานสติ ยังไม่ถึงระดับ อนุปัสสนา



ยกศัพท์นั่นนี่มา เอาเถอะคราวนี้จะข้ามไปก่อน

แต่จะถามว่า ที่เช่นนั้นพร่ำมานั่น กับ ที่เขาประสบอยู่นี่ อันไหนเป็นไปเพื่อความเบื่อหน่าย คลายกำหนัด


พอดีเมื่อวานได้นั่งสมาธิแล้วได้กำหนด พุธ-โธ เมื่อจิตสงบก็ พิจารณากายในกาย เช่นหายใจเข้าเป็นลมเข้าไปสู่ร่างกายออกมาพิจาณาสิ่งปฏิกูลในร่างกายไป สักพัก เหมือนเปลี่ยนฐานะตัวเองเป็นผู้ดู มีสติ เห็นเหมือนภาพ มีกล่องใบใหญ่มาก สีขาว

ทันใดนั้นกายก็ถูกแยกออกเป็นส่วนๆ เช่น ปอด ม้าม ตับ ไต ไส้ สมอง เล็บ ขน ฟัน หลุดเอาไปรวมในกล่องนั้น แล้วก็มีภาพพ่อ แม่ คนที่มีใจผูกพันธ์ ถูกแยกกายออกเป็นชิ้นๆเหมือนเราอวัยวะถูกรวมไปในกล่องใหญ่ใบนั้น จิตเรามันอยากเห็นอะไรในกล่องพอมองลงไปก็เห็นแต่อวัยวะต่างๆกองรวมกัน

ทัน ใดก็มีเสียงหนึ่งถามว่า "กายเธออยู่ที่ไหน" เมื่อได้เห็นแบบนี้ก็เลยตอบว่า "ไม่มี" แล้วเสียงนั้นก็ตอบว่า "แล้วจิตเธออยู่ที่ไหน" ดิฉันพยายามมองหาคำตอบว่า จิตอยู่ที่ไหน เพราะตอนนี้กายไม่มีแล้ว ก็จะบริกรรมพุธโธต่อแต่ ไม่มีกายก็ไม่มีลม คำบริกรรมก็หาย มันมีสภาวะที่โล่งๆว่างๆ เลยตอบไปว่า "จิตก็คงไม่มี" แล้วมันก็สว่างวาบแล้วเหมือนมีกระแสไฟกระจายไปทั่วความสว่างนั้น

อยากจะถามผู้รู้ ว่า

1.สิ่งที่เกิดขึ้นนี่คืออะไร เป็นนิมิตอะไร อะไรแสดงธรรมอยู่
2.ดิฉันควรปฏิบัติต่อไปอย่างไร

ครั้งนี้เป็นครั้งที่ 2 ครั้งแรก ดิฉันเห็นตัวเองเป็นซากศพ มีอะไรมากัดกิน

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 23 มิ.ย. 2014, 17:49 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


เช่นนั้น เขียน:
กรัชกาย เขียน:
กรัชกาย เขียน:
แนวคิดของท่านเช่นนั้น

อ้างคำพูด:
ตั้งแต่ เริ่มท่องพุทโธและกำหนดลมเข้าไป ...... ก็เป็นการเริ่มจับเจ่าเฝ้าอารมณ์ทำสัญญาให้ปรากฏ
ไม่ใช่สติกำหนดลมหายใจครับ

การเริ่มท่องพุทโธและกำหนดลมเข้าไป ไม่ใช่สัมมาสมาธิ แต่เป็นการทำสมาธิให้ฟุ้งไปกับสัญญาครับ

ถ้าเจริญสมาธิเช่นนี้ ก็แป๊กครับ

คุณ Idea ทิ้งพุทโธ ไปเลยครับ ขณะนี้ไม่ได้เจริญพุทธานุสติครับ
เอาแต่อานาปานสติภาวนาอย่างเดียวก็พอ
หาที่เร้นคือที่สงบไม่มีใครรบกวน ศึกษาให้รู้จักสติด้วยลมหายใจเข้าลมหายใจออก ครับ

ด้วยความตั้งใจว่า จะทำความศึกษาเพื่อ เห็นสติ ถ้าเข้าใจก็จะไปต่อได้ง่าย
เพราะในอานาปานสติสูตร มีคำหนึ่งคือ ดำรงสติเฉพาะหน้า ก่อนที่จะไปทำการศึกษา ในกายานุปัสนาฯ

ต้องเข้าใจก่อนว่า ดำรงสติเฉพาะหน้า มีอาการอย่างไร....

สติคือการระลึกถึงข้อเท็จจริงที่ปรากฏต่ออารมณ์เฉพาะหน้าเป็นสำคัญเท่านั้น

จะนั่งหลับตา ลืมตา เดินก็ได้ วิ่งก็ได้ ไม่สำคัญ แต่อากัปกิริยาที่สะดวกที่สุดสบายที่สุดในการเจริญอานาปานสติภาวนา คือนั่งคู้ขา ตั้งกายตรง

มีลมหายใจเข้า ลมหายใจออกเป็นวัตถุ มีอาการทำการหายใจเข้าหายใจออกเป็นเครื่องหมายสำคัญว่าเป็นการหายใจ นี่คือการทำสัญญาให้ปรากฏ

ตอนนี้ก็มาถึงการเรียนรู้ สติ

ข้อเท็จจริงที่ทำขณะนี้คือ ใส่ใจเฉพาะที่จุดกระทบของลมเข้าลมออก (เช่นปลายจมูก หรือจุดเหนือริมฝีปากบน) สติจะระลึกแต่สิ่งเดียวคือการกระทบของลมที่จุดนี้

(ถ้าลืมตา ก็เห็นรูปเห็นภาพข้างหน้าก็ไม่ใส่ใจถือเป็นสำคัญ เห็นแต่ไม่รับรู้
ถ้ามีเสียงดังข้างๆหู ก็ไม่ใส่ใจถือเป็นสำคัญไม่ใช่หูดับ ได้ยินแต่ไม่รับรู้
มีลมพัดไรบ้างกระทบผิวกายก็ช่างมันไม่ใส่ใจ)

สติจะระวังอยู่แต่สิ่งนี้คือระวังใจไม่ให้ใส่ใจเรื่องอื่นนอกจากรู้ลมทีผ่านจุดกระทบ
ทำอย่างนี้สติก็จะตั้งอยู่ในภายใน

คุณIdea ก็จะเห็นความแตกต่างระหว่างสัญญา และสติ
สติกำหนดลมหายใจว่ามีเพียงลมหายใจเท่านั้น เป็นการกำหนดเพื่อระวังใจไปใส่ใจต่อผัสสะอื่นที่มากระทบทางทวารอื่น
ต่างจากทำสัญญาให้ปรากฏ คือทำการหายใจเข้าหายใจออกเป็นเครื่องหมายสำคัญว่าเป็นการหายใจ


ไม่ต้องสนใจว่าลมจะเข้าท้องพอง หรือท้องยุบ
ไม่ต้องสนใจว่าลมจะไปถึงไหน
ไม่ต้องสนใจระยะทางของลม
ไม่ต้องสนใจว่าเมื่อไรจะออกเมื่อไรจะเข้า

เป็นการศึกษาอย่างแรก ที่ต้องอาศัยความเพียร ในการทำความรู้จักสติ ว่าสติ ทำหน้าที่ระวังใจคุมใจต่อข้อเท็จจริงกำหนดที่ข้อเท็จจริงว่าขณะนั้นทำอะไรอยู่

ขณะนั้นทำอะไรอยู่จึงเป็น เพียงอุปกรณ์ในการฝึกให้รู้จัก "สติ"

การฝึกแบบนี้ จึงไม่ใช่การจับเจ่าเฝ้าอารมณ์ แต่จะเป็นการศึกษาเข้ามาในจิตกันเลยทีเดียวครับ

ศึกษาให้รู้จัก "สติ" ก่อนครับ .....ค่อยไปต่อ...

เราไม่ใช่ตอไม้ จนถึงกับไม่ได้เห็นไม่ได้ยินอะไรรอบข้าง..........
ทำไปก่อนใช้เวลาไม่นานหรอก ทำสบายๆ : ))

http://www.dhammajak.net/forums/viewtopic.php?f=2&t=47939



แล้วนี่เป็นไปเพื่อความเบื่อหน่ายไหม :b14:

เป็นการเริ่มต้นของการเจริญอานาปานสติสมาธิภาวนา เป็นไปตามหลักอานาปานสติ ยังไม่ถึงระดับ อนุปัสสนา


เห็นแล้วอดขำไม่ได้ คิกๆๆ

อ้างคำพูด:
เจริญอานาปานสติสมาธิภาวนา

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 23 มิ.ย. 2014, 17:50 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 14 ก.ค. 2008, 21:56
โพสต์: 3925

ชื่อเล่น: เช่นนั้น
อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


ไม่อานครับ เสียเวลา

.....................................................
ธรรมะอันยิ่งใหญ่ ไม่อาจเอื้อนเอ่ย
บัญญัติ เป็นเพียงสิ่งต่ำต้อยแบกรับความยิ่งใหญ่


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 23 มิ.ย. 2014, 17:51 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


เช่นนั้น เขียน:
ไม่อานครับ เสียเวลา



เมื่อเทียบกับของตัวเองอันไหนเป็นไปเพื่อความเบื่อหน่าย คลายกำหนัด คิกๆๆ อันไหนเป็นจินตนาการ อันไหนเกิดจริง

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


แก้ไขล่าสุดโดย กรัชกาย เมื่อ 23 มิ.ย. 2014, 17:53, แก้ไขแล้ว 1 ครั้ง

โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 23 มิ.ย. 2014, 17:52 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 14 ก.ค. 2008, 21:56
โพสต์: 3925

ชื่อเล่น: เช่นนั้น
อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
เช่นนั้น เขียน:
ไม่อานครับ เสียเวลา



เมื่อเทียบกับของตัวเองอันไหนเป็นไปเพื่อความเบื่อหน่าย คลายกำหนัด คิกๆๆ

ไม่จำเป็นต้องเปรียบเทียบ ครับ

.....................................................
ธรรมะอันยิ่งใหญ่ ไม่อาจเอื้อนเอ่ย
บัญญัติ เป็นเพียงสิ่งต่ำต้อยแบกรับความยิ่งใหญ่


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 23 มิ.ย. 2014, 17:57 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


เช่นนั้น เขียน:
กรัชกาย เขียน:
เช่นนั้น เขียน:
ไม่อานครับ เสียเวลา



เมื่อเทียบกับของตัวเองอันไหนเป็นไปเพื่อความเบื่อหน่าย คลายกำหนัด คิกๆๆ

ไม่จำเป็นต้องเปรียบเทียบ ครับ



ถ้างั้นกรัชกายจะเทียบให้ ระหว่างภาพวาดจากจินตนาการของเช่นนั้น กับ ที่เขาประสบจากภาวนาจริงนะขอรับ :b12:

ของเช่นนั้น เกิดจากความเพ้อฝันเลื่อนลอย แต่ของเขาเกิดจากจิตที่ภาวนา (หรือจะเรียกว่าอะไรแล้วแต่) คุณค่าทางความรู้สึกจากจิตของเขา กับ ภาพวาดของเช่นนั้น เทียบกันไม่ได้ พอเทียบให้เห็นได้ก็ว่า มันห่างกันดังฟ้า กับ อเวจีมหานรก :b32:

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


แสดงโพสต์จาก:  เรียงตาม  
กลับไปยังกระทู้  [ 194 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1 ... 4, 5, 6, 7, 8, 9, 10 ... 13  ต่อไป

เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


 ผู้ใช้งานขณะนี้

่กำลังดูบอร์ดนี้: ไม่มีสมาชิก และ บุคคลทั่วไป 1 ท่าน


ท่าน ไม่สามารถ โพสต์กระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ตอบกระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แก้ไขโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ลบโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แนบไฟล์ในบอร์ดนี้ได้

ค้นหาสำหรับ:
ไปที่:  
Google
ทั่วไป เว็บธรรมจักร