วันเวลาปัจจุบัน 21 ก.ค. 2025, 20:41  



เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง




กลับไปยังกระทู้  [ 100 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1 ... 3, 4, 5, 6, 7  ต่อไป  Bookmark and Share
เจ้าของ ข้อความ
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 10 ม.ค. 2017, 11:03 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


asoka เขียน:


ธรรมะที่แท้จริงทุกเรื่องย่อมมีความสัมพันธ์เชื่อมโยงกันอย่างล้ำลึก ถ้าไม่มีความสุดโต่งยึดติดในความคิดความเห็น
ย่อมจะเป็นคนปกติอยู่ได้บนทางสายกลางไปนานๆ จนผ่านโลกุตระ จึงจะได้สบายไร้โศก ปราศจากธุลีและมีจิตเกษม


พูดง่ายนิดเดียวสองบรรทัดจบกิจถึง "จิตเกษม" แล้ว อิอิ :b32:

ทำให้นึกถึงคนเก็บขวดขาย วันหนึ่งเดินหาขวดตามริมถนนไปเรื่อยๆ ผ่านตึกสูงตระหง่าน ก็คิดอยากได้อยากมีกะเขาบ้าง คืนหนึ่งขณะนอนหลับอยู่ ฝันว่านั่งคิดเงินอยู่บนตึกไหนสักแห่งหนึ่ง กำลังนั่งคิดเฮินอยู่ ได้ยินเสียงเคาะประตู ขออนุญาตค่ะ ตกใจตื่น เอามือขยี้ตา ว๊ายยย นี่มันใต้ทางด่วนนี่หว่า
:b32:

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 10 ม.ค. 2017, 21:04 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 11 ต.ค. 2010, 12:11
โพสต์: 5019


 ข้อมูลส่วนตัว


asoka เขียน:
:b12:
ไปดูเรื่องปฏิจจสมุปบาทสายดับให้ดีๆ

ตัณหานิโรธา อุปาทานนิโรโธ

แล้วก็วนไปดับอวิชชาเอง
onion


:b14:

มีเส้นทาง U-Turn ด้วยแฮะ

...

:b1:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 10 ม.ค. 2017, 21:26 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 11 ต.ค. 2010, 12:11
โพสต์: 5019


 ข้อมูลส่วนตัว


asoka เขียน:
....เพราะอวิชชาและปัจจัยการทั้งหมดจะหักสะบั้นเมื่อถอนตัณหาได้เสียแล้ว
onion


ท่านอโศกะควรจะได้มีการลำดับธรรมดี ๆ

Quote Tipitaka:
[๗๑๒] อวิชชาสวะ เป็นไฉน?
ความไม่รู้ในทุกข์ ความไม่รู้ในทุกขสมุทัย ความไม่รู้ในทุกขนิโรธ ความไม่รู้ในทุกข-
*นิโรธคามินีปฏิปทา ความไม่รู้ในส่วนอดีต ความไม่รู้ในส่วนอนาคต ความไม่รู้ทั้งในส่วนอดีต
และส่วนอนาคต ความไม่รู้ในปฏิจจสมุปปาทธรรมว่า เพราะธรรมนี้เป็นปัจจัยธรรมนี้จึงเกิดขึ้น
ความไม่รู้ ความไม่เห็น ความไม่ตรัสรู้ ความไม่รู้โดยสมควร ความไม่รู้ตามเป็นจริง ความไม่
แทงตลอด ความไม่ถือเอาให้ถูกต้อง ความไม่หยั่งลงโดยรอบคอบ ความไม่พินิจ ความไม่
พิจารณา การไม่กระทำให้ประจักษ์ ความทรามปัญญา ความโง่เขลา ความไม่รู้ชัด ความหลง
ความลุ่มหลง ความหลงใหล อวิชชา โอฆะคืออวิชชา โยคะคืออวิชชา อนุสัยคืออวิชชา
ปริยุฏฐานคืออวิชชา ลิ่มคืออวิชชา อกุศลมูลคือโมหะ มีลักษณะเช่นว่านี้ อันใด นี้เรียกว่า
อวิชชาสวะ.
สภาวธรรมเหล่านี้ชื่อว่า ธรรมเป็นอาสวะ.


Quote Tipitaka:
ตัณหาสูตร

[๖๒] ดูกรภิกษุทั้งหลาย เงื่อนต้นแห่งภวตัณหา ย่อมไม่ปรากฏ
ในกาลก่อนแต่นี้ ภวตัณหาไม่มี แต่ภายหลังจึงมี เพราะเหตุนั้น เราจึงกล่าวคำ
อย่างนี้ว่า ก็เมื่อเป็นเช่นนั้น ภวตัณหามีข้อนี้เป็นปัจจัยจึงปรากฏ ดูกรภิกษุ
ทั้งหลาย เราย่อมกล่าวภวตัณหาว่ามีอาหาร มิได้กล่าวว่าไม่มีอาหาร ก็อะไรเป็น
อาหารของภวตัณหาควรกล่าวว่า อวิชชา แม้อวิชชาเราก็กล่าวว่ามีอาหาร มิได้
กล่าวว่าไม่มีอาหาร ก็อะไรเป็นอาหารของอวิชชา ควรกล่าวว่านิวรณ์ ๕ แม้
นิวรณ์ ๕ เราก็กล่าวว่ามีอาหาร มิได้กล่าวว่าไม่มีอาหาร ก็อะไรเป็นอาหารของ
นิวรณ์ ๕ ควรกล่าวว่า ทุจริต ๓ แม้ทุจริต ๓ เราก็กล่าวว่ามีอาหาร มิได้กล่าวว่า
ไม่มีอาหาร ก็อะไรเป็นอาหารของทุจริต ๓ ควรกล่าวว่า การไม่สำรวมอินทรีย์
แม้การไม่สำรวมอินทรีย์เราก็กล่าวว่ามีอาหาร มิได้กล่าวว่าไม่มีอาหาร ก็อะไรเป็น
อาหารของการไม่สำรวมอินทรีย์ ควรกล่าวว่าความไม่มีสติสัมปชัญญะ แม้ความ
ไม่มีสติสัมปชัญญะเราก็กล่าวว่ามีอาหาร มิได้กล่าวว่าไม่มีอาหาร ก็อะไรเป็น
อาหารของความไม่มีสติสัมปชัญญะ ควรกล่าวว่า การทำไว้ในใจโดยไม่แยบคาย
แม้การทำไว้ในใจโดยไม่แยบคายเราก็กล่าวว่ามีอาหาร มิได้กล่าวว่าไม่มีอาหาร
ก็อะไรเป็นอาหารของการทำไว้ในใจโดยไม่แยบคาย ควรกล่าวว่า ความไม่มี
ศรัทธา แม้ความไม่มีศรัทธาเราก็กล่าวว่ามีอาหาร มิได้กล่าวว่าไม่มีอาหาร
ก็อะไรเป็นอาหารของความไม่มีศรัทธา ควรกล่าวว่า การไม่ฟังสัทธรรม
แม้การไม่ฟังสัทธรรมเราก็กล่าวว่ามีอาหาร มิได้กล่าวว่าไม่มีอาหาร ก็อะไรเป็น
อาหารของการไม่ฟังสัทธรรม ควรกล่าวว่า การไม่คบสัตบุรุษ ดูกรภิกษุทั้งหลาย
ด้วยประการดังนี้ การไม่คบสัตบุรุษที่บริบูรณ์ ย่อมยังการไม่ฟังสัทธรรมให้
บริบูรณ์ การไม่ฟังสัทธรรมที่บริบูรณ์ ย่อมยังความไม่มีศรัทธาให้บริบูรณ์
ความไม่มีศรัทธาที่บริบูรณ์ ย่อมยังการทำไว้ในใจโดยไม่แยบคายให้บริบูรณ์ การ
ทำไว้ในใจโดยไม่แยบคายที่บริบูรณ์ ย่อมยังความไม่มีสติสัมปชัญญะให้บริบูรณ์
ความไม่มีสติสัมปชัญญะที่บริบูรณ์ ย่อมยังการไม่สำรวมอินทรีย์ให้บริบูรณ์ การ
ไม่สำรวมอินทรีย์ที่บริบูรณ์ ย่อมยังทุจริต ๓ ให้บริบูรณ์ ทุจริต ๓ ที่บริบูรณ์
ย่อมยังนิวรณ์ ๕ ให้บริบูรณ์ นิวรณ์ ๕ ที่บริบูรณ์ ย่อมยังอวิชชาให้บริบูรณ์
อวิชชาที่บริบูรณ์ ย่อมยังภวตัณหาให้บริบูรณ์ ภวตัณหานี้มีอาหารอย่างนี้และ
บริบูรณ์อย่างนี้ ฯ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 11 ม.ค. 2017, 07:45 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 18 ก.ย. 2011, 21:51
โพสต์: 4941


 ข้อมูลส่วนตัว


smiley
คุณเอก้อน ยกธรรมในคัมภีร์มาอ้างได้ละเอียดอ่อนดี อนุโมทนา

ตามลำดับทั้งหมดนั้นในธรรมชาติ บางท่านก็มิได้เริ่มต้นตั้งแต่นับหนึ่ง เพราะชีวิตนี้เป็นการมาต่อยอดกรรมจากที่เคยทำไว้ในอดีต หลายท่านเพียงแค่ความสังเกตมีกำลังดีพอก็เห็นหรือรู้ที่มาของตัณหา มันจึงเป็นเรื่องปัจจัตตังของแต่ละท่านแต่ละคนที่จะหักวงปฏิจจสมุปบาทให้ขาดสะบั้น ที่ช่วงต่อไหนของปัจจัยการ แต่เท่าที่พระบรมศาสดาและครูบาอาจารย์ส่วนมากแนะนำท่านให้เข้มข้นศึกษาสังเกตุการณ์ให้ดีที่ช่วงต่อของเวทนากับตัณหาซึ่งสมุทัยตัวสำคัญจะแสดงตัวได้ชัดและเร็วกว่าที่อื่น จนทำให้ผู้เจริญมรรค ถอนหรือสลัดคืนสมุทัยได้ง่าย

พูดอย่างนี้คงนึกเทียบสภาวะจริงๆออกกันนะครับ ถ้าอ่านไม่ออกบอกไม่ถูกก็พากันถามมานะครับ

onion
:b8:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 11 ม.ค. 2017, 08:12 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 25 เม.ย. 2009, 02:43
โพสต์: 12232


 ข้อมูลส่วนตัว


eragon_joe เขียน:
asoka เขียน:
:b12:
ไปดูเรื่องปฏิจจสมุปบาทสายดับให้ดีๆ

ตัณหานิโรธา อุปาทานนิโรโธ

แล้วก็วนไปดับอวิชชาเอง
onion


:b14:

มีเส้นทาง U-Turn ด้วยแฮะ

...

:b1:


.อโสกะ...ไม่บอกเขาไปละ..ว่า..มี..รึไม่ได้...U-Turn :b13: :b13: :b13:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 11 ม.ค. 2017, 19:15 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 18 ก.ย. 2011, 21:51
โพสต์: 4941


 ข้อมูลส่วนตัว


:b48:
ปฏิจจสมุปบาทสายดับ กับสายเกิดนี่เป็นเรื่องธรรมดาที่รู้กันทั่วไปไม่เห็นมีอะไรต้องบอกเป็นพิเศษ

กบเอาไปทำเป็นภาษาปะกิตให้คนงงเล่นเอาเอง
huh


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 11 ม.ค. 2017, 19:17 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


asoka เขียน:
:b48:
ปฏิจจสมุปบาทสายดับ กับสายเกิดนี่เป็นเรื่องธรรมดาที่รู้กันทั่วไปไม่เห็นมีอะไรต้องบอกเป็นพิเศษ

กบเอาไปทำเป็นภาษาปะกิตให้คนงงเล่นเอาเอง


ถ้ารู้เข้าใจปฏิจจสมุปบาท ทั้งเกิดทั้งดับแล้วก็เข้าใจความเกิดดับของทุกข์แล้วเออ คริๆๆ :b32:

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 11 ม.ค. 2017, 19:21 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 25 เม.ย. 2009, 02:43
โพสต์: 12232


 ข้อมูลส่วนตัว


eragon_joe เขียน:

Quote Tipitaka:
ตัณหาสูตร

[๖๒] ดูกรภิกษุทั้งหลาย เงื่อนต้นแห่งภวตัณหา ย่อมไม่ปรากฏ
ในกาลก่อนแต่นี้ ภวตัณหาไม่มี แต่ภายหลังจึงมี เพราะเหตุนั้น เราจึงกล่าวคำ
อย่างนี้ว่า ก็เมื่อเป็นเช่นนั้น ภวตัณหามีข้อนี้เป็นปัจจัยจึงปรากฏ ดูกรภิกษุ
ทั้งหลาย เราย่อมกล่าวภวตัณหาว่ามีอาหาร มิได้กล่าวว่าไม่มีอาหาร ก็อะไรเป็น
อาหารของภวตัณหาควรกล่าวว่า อวิชชา แม้อวิชชาเราก็กล่าวว่ามีอาหาร มิได้
กล่าวว่าไม่มีอาหาร ก็อะไรเป็นอาหารของอวิชชา ควรกล่าวว่านิวรณ์ ๕ แม้
นิวรณ์ ๕ เราก็กล่าวว่ามีอาหาร มิได้กล่าวว่าไม่มีอาหาร ก็อะไรเป็นอาหารของ
นิวรณ์ ๕ ควรกล่าวว่า ทุจริต ๓ แม้ทุจริต ๓ เราก็กล่าวว่ามีอาหาร มิได้กล่าวว่า
ไม่มีอาหาร ก็อะไรเป็นอาหารของทุจริต ๓ ควรกล่าวว่า การไม่สำรวมอินทรีย์
แม้การไม่สำรวมอินทรีย์เราก็กล่าวว่ามีอาหาร มิได้กล่าวว่าไม่มีอาหาร ก็อะไรเป็น
อาหารของการไม่สำรวมอินทรีย์ ควรกล่าวว่าความไม่มีสติสัมปชัญญะ แม้ความ
ไม่มีสติสัมปชัญญะเราก็กล่าวว่ามีอาหาร มิได้กล่าวว่าไม่มีอาหาร ก็อะไรเป็น
อาหารของความไม่มีสติสัมปชัญญะ ควรกล่าวว่า การทำไว้ในใจโดยไม่แยบคาย
แม้การทำไว้ในใจโดยไม่แยบคายเราก็กล่าวว่ามีอาหาร มิได้กล่าวว่าไม่มีอาหาร
ก็อะไรเป็นอาหารของการทำไว้ในใจโดยไม่แยบคาย ควรกล่าวว่า ความไม่มี
ศรัทธา แม้ความไม่มีศรัทธาเราก็กล่าวว่ามีอาหาร มิได้กล่าวว่าไม่มีอาหาร
ก็อะไรเป็นอาหารของความไม่มีศรัทธา ควรกล่าวว่า การไม่ฟังสัทธรรม
แม้การไม่ฟังสัทธรรมเราก็กล่าวว่ามีอาหาร มิได้กล่าวว่าไม่มีอาหาร ก็อะไรเป็น
อาหารของการไม่ฟังสัทธรรม ควรกล่าวว่า การไม่คบสัตบุรุษ ดูกรภิกษุทั้งหลาย
ด้วยประการดังนี้ การไม่คบสัตบุรุษที่บริบูรณ์ ย่อมยังการไม่ฟังสัทธรรมให้
บริบูรณ์ การไม่ฟังสัทธรรมที่บริบูรณ์ ย่อมยังความไม่มีศรัทธาให้บริบูรณ์
ความไม่มีศรัทธาที่บริบูรณ์ ย่อมยังการทำไว้ในใจโดยไม่แยบคายให้บริบูรณ์ การ
ทำไว้ในใจโดยไม่แยบคายที่บริบูรณ์ ย่อมยังความไม่มีสติสัมปชัญญะให้บริบูรณ์
ความไม่มีสติสัมปชัญญะที่บริบูรณ์ ย่อมยังการไม่สำรวมอินทรีย์ให้บริบูรณ์ การ
ไม่สำรวมอินทรีย์ที่บริบูรณ์ ย่อมยังทุจริต ๓ ให้บริบูรณ์ ทุจริต ๓ ที่บริบูรณ์
ย่อมยังนิวรณ์ ๕ ให้บริบูรณ์ นิวรณ์ ๕ ที่บริบูรณ์ ย่อมยังอวิชชาให้บริบูรณ์
อวิชชาที่บริบูรณ์ ย่อมยังภวตัณหาให้บริบูรณ์ ภวตัณหานี้มีอาหารอย่างนี้และ
บริบูรณ์อย่างนี้ ฯ


:b8: :b8: :b8:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 11 ม.ค. 2017, 19:38 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 25 เม.ย. 2009, 02:43
โพสต์: 12232


 ข้อมูลส่วนตัว


asoka เขียน:
smiley
คุณเอก้อน ยกธรรมในคัมภีร์มาอ้างได้ละเอียดอ่อนดี อนุโมทนา

ตามลำดับทั้งหมดนั้นในธรรมชาติ บางท่านก็มิได้เริ่มต้นตั้งแต่นับหนึ่ง เพราะชีวิตนี้เป็นการมาต่อยอดกรรมจากที่เคยทำไว้ในอดีต หลายท่านเพียงแค่ความสังเกตมีกำลังดีพอก็เห็นหรือรู้ที่มาของตัณหา มันจึงเป็นเรื่องปัจจัตตังของแต่ละท่านแต่ละคนที่จะหักวงปฏิจจสมุปบาทให้ขาดสะบั้น ที่ช่วงต่อไหนของปัจจัยการ แต่เท่าที่พระบรมศาสดาและครูบาอาจารย์ส่วนมากแนะนำท่านให้เข้มข้นศึกษาสังเกตุการณ์ให้ดีที่ช่วงต่อของเวทนากับตัณหาซึ่งสมุทัยตัวสำคัญจะแสดงตัวได้ชัดและเร็วกว่าที่อื่น จนทำให้ผู้เจริญมรรค ถอนหรือสลัดคืนสมุทัยได้ง่าย

พูดอย่างนี้คงนึกเทียบสภาวะจริงๆออกกันนะครับ ถ้าอ่านไม่ออกบอกไม่ถูกก็พากันถามมานะครับ

onion
:b8:


อโสกะ....หาสำนึก..ไม่

คงต้องขีดเส้นสีแดงแดง..ให้กระมั้ง.. :b9: :b9:
......................................................
ตัณหาสูตร

[๖๒] ดูกรภิกษุทั้งหลาย เงื่อนต้นแห่งภวตัณหา ย่อมไม่ปรากฏ
ในกาลก่อนแต่นี้ ภวตัณหาไม่มี แต่ภายหลังจึงมี เพราะเหตุนั้น เราจึงกล่าวคำ
อย่างนี้ว่า ก็เมื่อเป็นเช่นนั้น ภวตัณหามีข้อนี้เป็นปัจจัยจึงปรากฏ ดูกรภิกษุ
ทั้งหลาย

เราย่อมกล่าวภวตัณหาว่ามีอาหาร มิได้กล่าวว่าไม่มีอาหาร ก็อะไรเป็น
อาหารของภวตัณหาควรกล่าวว่า อวิชชา

แม้อวิชชาเราก็กล่าวว่ามีอาหาร มิได้กล่าวว่าไม่มีอาหาร ก็อะไร
เป็นอาหารของอวิชชา ควรกล่าวว่านิวรณ์ ๕

แม้นิวรณ์ ๕ เราก็กล่าวว่ามีอาหาร มิได้กล่าวว่าไม่มีอาหาร ก็อะไรเป็นอาหารของ
นิวรณ์ ๕ ควรกล่าวว่า ทุจริต ๓

แม้ทุจริต ๓ เราก็กล่าวว่ามีอาหาร มิได้กล่าวว่าไม่มีอาหาร ก็อะไรเป็นอาหารของ
ทุจริต ๓ ควรกล่าวว่า การไม่สำรวมอินทรีย์


แม้การไม่สำรวมอินทรีย์เราก็กล่าวว่ามีอาหาร มิได้กล่าวว่าไม่มีอาหาร ก็อะไรเป็น
อาหารของการไม่สำรวมอินทรีย์ ควรกล่าวว่าความไม่มีสติสัมปชัญญะ

แม้ความไม่มีสติสัมปชัญญะเราก็กล่าวว่ามีอาหาร มิได้กล่าวว่าไม่มีอาหาร ก็อะไรเป็น
อาหารของความไม่มีสติสัมปชัญญะ ควรกล่าวว่า การทำไว้ในใจโดยไม่แยบคาย



แม้การทำไว้ในใจโดยไม่แยบคายเราก็กล่าวว่ามีอาหาร มิได้กล่าวว่าไม่มีอาหาร
ก็อะไรเป็นอาหารของการทำไว้ในใจโดยไม่แยบคาย ควรกล่าวว่า ความไม่มี
ศรัทธา


แม้ความไม่มีศรัทธาเราก็กล่าวว่ามีอาหาร มิได้กล่าวว่าไม่มีอาหาร
ก็อะไรเป็นอาหารของความไม่มีศรัทธา ควรกล่าวว่า การไม่ฟังสัทธรรม


แม้การไม่ฟังสัทธรรมเราก็กล่าวว่ามีอาหาร มิได้กล่าวว่าไม่มีอาหาร ก็อะไรเป็น
อาหารของการไม่ฟังสัทธรรม ควรกล่าวว่า การไม่คบสัตบุรุษ

ดูกรภิกษุทั้งหลายด้วยประการดังนี้ การไม่คบสัตบุรุษที่บริบูรณ์ ย่อมยังการไม่ฟังสัทธรรมให้
บริบูรณ์ การไม่ฟังสัทธรรมที่บริบูรณ์ ย่อมยังความไม่มีศรัทธาให้บริบูรณ์
ความไม่มีศรัทธาที่บริบูรณ์ ย่อมยังการทำไว้ในใจโดยไม่แยบคายให้บริบูรณ์ การ
ทำไว้ในใจโดยไม่แยบคายที่บริบูรณ์ ย่อมยังความไม่มีสติสัมปชัญญะให้บริบูรณ์
ความไม่มีสติสัมปชัญญะที่บริบูรณ์ ย่อมยังการไม่สำรวมอินทรีย์ให้บริบูรณ์ การ
ไม่สำรวมอินทรีย์ที่บริบูรณ์ ย่อมยังทุจริต ๓ ให้บริบูรณ์ ทุจริต ๓ ที่บริบูรณ์
ย่อมยังนิวรณ์ ๕ ให้บริบูรณ์ นิวรณ์ ๕ ที่บริบูรณ์ ย่อมยังอวิชชาให้บริบูรณ์
อวิชชาที่บริบูรณ์ ย่อมยังภวตัณหาให้บริบูรณ์ ภวตัณหานี้มีอาหารอย่างนี้และ

บริบูรณ์อย่างนี้ ฯ

............................................

เพียงคุณ..คบใคร...(กราบใครบูชาใคร)

ใครใคร..ก็ดูคุณ..ออก...ว่า..คุณอยู่ช่วงไหนของการหลุดพ้น...

ช่วงหลงใหลในวัฎฎะ..

ช่วงต้น
่ช่วงสะสมบุญบารมี..
รึว่า...ช่วงที่สามารถหลุดพ้นได้..

ดังนั้น...คุณคบใคร(กราบใครบูชาใคร)...ก็ดูง่ายๆได้เลย...

แต่เราไม่ว่ากัน...


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 11 ม.ค. 2017, 19:55 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 18 ก.ย. 2011, 21:51
โพสต์: 4941


 ข้อมูลส่วนตัว


cool
ไกลไปและไม่ตรงประเด็นดีพอ
ที่โหนคัมภีร์มาอธิบาย นั่นเป็นเรื่องอาหารของตัณหา

เหตุของตัณหาคือผู้ที่กินอาหารเหล่านั้น คือ อัตตา มีอธิบายไว้ชัดในสูตรอื่น

onion


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 11 ม.ค. 2017, 19:57 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 25 เม.ย. 2009, 02:43
โพสต์: 12232


 ข้อมูลส่วนตัว


:b32: :b32: :b32:

เรื่อง...สติสัมปชัญญะ....โยนิโสมนสิการ...คบสัตบุรุษ

ผมถือว่า...ได้สะกิดเตือนอโสกะ....แล้วนะ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 11 ม.ค. 2017, 20:00 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 25 เม.ย. 2009, 02:43
โพสต์: 12232


 ข้อมูลส่วนตัว


อ้างคำพูด:
เพียงคุณ..คบใคร...(กราบใครบูชาใคร)

ใครใคร..ก็ดูคุณ..ออก...ว่า..คุณอยู่ช่วงไหนของการหลุดพ้น...

ช่วงหลงใหลในวัฎฎะ..

ช่วงต้น
่ช่วงสะสมบุญบารมี..
รึว่า...ช่วงที่สามารถหลุดพ้นได้..

ดังนั้น...คุณคบใคร(กราบใครบูชาใคร)...ก็ดูง่ายๆได้เลย...

แต่เราไม่ว่ากัน...


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 11 ม.ค. 2017, 20:01 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 25 เม.ย. 2009, 02:43
โพสต์: 12232


 ข้อมูลส่วนตัว


เอกอน..มาอ่าน..แล้วคง...เบื่อ

ออกไปแระ..
:b9: :b9:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 11 ม.ค. 2017, 20:05 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 11 ต.ค. 2010, 12:11
โพสต์: 5019


 ข้อมูลส่วนตัว


asoka เขียน:
smiley
คุณเอก้อน ยกธรรมในคัมภีร์มาอ้างได้ละเอียดอ่อนดี อนุโมทนา

ตามลำดับทั้งหมดนั้นในธรรมชาติ บางท่านก็มิได้เริ่มต้นตั้งแต่นับหนึ่ง เพราะชีวิตนี้เป็นการมาต่อยอดกรรมจากที่เคยทำไว้ในอดีต หลายท่านเพียงแค่ความสังเกตมีกำลังดีพอก็เห็นหรือรู้ที่มาของตัณหา มันจึงเป็นเรื่องปัจจัตตังของแต่ละท่านแต่ละคนที่จะหักวงปฏิจจสมุปบาทให้ขาดสะบั้น ที่ช่วงต่อไหนของปัจจัยการ แต่เท่าที่พระบรมศาสดาและครูบาอาจารย์ส่วนมากแนะนำท่านให้เข้มข้นศึกษาสังเกตุการณ์ให้ดีที่ช่วงต่อของเวทนากับตัณหาซึ่งสมุทัยตัวสำคัญจะแสดงตัวได้ชัดและเร็วกว่าที่อื่น จนทำให้ผู้เจริญมรรค ถอนหรือสลัดคืนสมุทัยได้ง่าย

พูดอย่างนี้คงนึกเทียบสภาวะจริงๆออกกันนะครับ ถ้าอ่านไม่ออกบอกไม่ถูกก็พากันถามมานะครับ

onion
:b8:


กรัชกาย เขียน:
asoka เขียน:
:b48:
ปฏิจจสมุปบาทสายดับ กับสายเกิดนี่เป็นเรื่องธรรมดาที่รู้กันทั่วไปไม่เห็นมีอะไรต้องบอกเป็นพิเศษ

กบเอาไปทำเป็นภาษาปะกิตให้คนงงเล่นเอาเอง


ถ้ารู้เข้าใจปฏิจจสมุปบาท ทั้งเกิดทั้งดับแล้วก็เข้าใจความเกิดดับของทุกข์แล้วเออ คริๆๆ :b32:


:b1:

คือ...เป็นไปได้จริง ๆ ว่าท่านอโศกะ จะยังช่ำชองแต่สายดับ

แต่เรื่อง สายเกิด ดูท่าจะยังทำได้ไม่มากพอ ความเห็นในบางด้านจึงเหมือนเว้นวรรคไป

ท่านอาจจะถนัดในเรื่องการ ดับตัณหา ดับโน่น นี่ นั่น

แต่ ท่านยังไม่เท่าทันการเกิด ท่านจึงคิดไปว่า
"...เพราะอวิชชาและปัจจัยการทั้งหมดจะหักสะบั้นเมื่อถอนตัณหาได้เสียแล้ว"

เมื่อท่านปฏิบัติมากพอจนเห็นความเป็นไปทั้งสายเกิดและสายดับอย่างชัดเจนมากพอ
เมื่อนั้น ท่านก็จะกลับคำพูดตัวเองในที่สุด นั่นล่ะ
เมื่อนั่น ท่านอาจจะออกมาตะโกน อีกแบบที่แตกต่างไปจากวันนี้ :b32:

นี่ท่านคงไม่ได้คิดว่า ตอนนี้ท่านได้เดินทางศึกษาธรรมมาสุดทางแล้ว ใช่มั๊ย

:b1:


แก้ไขล่าสุดโดย eragon_joe เมื่อ 11 ม.ค. 2017, 20:10, แก้ไขแล้ว 1 ครั้ง

โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 11 ม.ค. 2017, 20:07 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 11 ต.ค. 2010, 12:11
โพสต์: 5019


 ข้อมูลส่วนตัว


asoka เขียน:
cool
ไกลไปและไม่ตรงประเด็นดีพอ
ที่โหนคัมภีร์มาอธิบาย นั่นเป็นเรื่องอาหารของตัณหา

เหตุของตัณหาคือผู้ที่กินอาหารเหล่านั้น คือ อัตตา มีอธิบายไว้ชัดในสูตรอื่น
onion


:b32: :b32: :b32: ...

"อัตตา" ก็น่ะสิ่

eragon_joe เขียน:

Quote Tipitaka:
[๗๑๒] อวิชชาสวะ เป็นไฉน?

ความไม่รู้ในทุกข์ ความไม่รู้ในทุกขสมุทัย ความไม่รู้ในทุกขนิโรธ ความไม่รู้ในทุกข-
*นิโรธคามินีปฏิปทา ความไม่รู้ในส่วนอดีต ความไม่รู้ในส่วนอนาคต ความไม่รู้ทั้งในส่วนอดีต
และส่วนอนาคต ความไม่รู้ในปฏิจจสมุปปาทธรรมว่า เพราะธรรมนี้เป็นปัจจัยธรรมนี้จึงเกิดขึ้น
ความไม่รู้ ความไม่เห็น ความไม่ตรัสรู้ ความไม่รู้โดยสมควร ความไม่รู้ตามเป็นจริง ความไม่
แทงตลอด ความไม่ถือเอาให้ถูกต้อง ความไม่หยั่งลงโดยรอบคอบ ความไม่พินิจ ความไม่
พิจารณา การไม่กระทำให้ประจักษ์ ความทรามปัญญา ความโง่เขลา ความไม่รู้ชัด ความหลง
ความลุ่มหลง ความหลงใหล อวิชชา โอฆะคืออวิชชา โยคะคืออวิชชา อนุสัยคืออวิชชา
ปริยุฏฐานคืออวิชชา ลิ่มคืออวิชชา อกุศลมูลคือโมหะ มีลักษณะเช่นว่านี้ อันใด นี้เรียกว่า
อวิชชาสวะ.
สภาวธรรมเหล่านี้ชื่อว่า ธรรมเป็นอาสวะ.


แก้ไขล่าสุดโดย eragon_joe เมื่อ 11 ม.ค. 2017, 20:12, แก้ไขแล้ว 3 ครั้ง.

แสดงโพสต์จาก:  เรียงตาม  
กลับไปยังกระทู้  [ 100 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1 ... 3, 4, 5, 6, 7  ต่อไป

เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


 ผู้ใช้งานขณะนี้

่กำลังดูบอร์ดนี้: ไม่มีสมาชิก และ บุคคลทั่วไป 1 ท่าน


ท่าน ไม่สามารถ โพสต์กระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ตอบกระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แก้ไขโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ลบโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แนบไฟล์ในบอร์ดนี้ได้

ค้นหาสำหรับ:
ไปที่:  
Google
ทั่วไป เว็บธรรมจักร