วันเวลาปัจจุบัน 25 ก.ค. 2025, 12:00  



เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง




กลับไปยังกระทู้  [ 78 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1, 2, 3, 4, 5, 6  ต่อไป  Bookmark and Share
เจ้าของ ข้อความ
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 29 ก.ค. 2018, 12:47 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 11 มี.ค. 2018, 02:56
โพสต์: 2166

โฮมเพจ: maybe
แนวปฏิบัติ: สติปัฎฐาน
งานอดิเรก: กีฬา
สิ่งที่ชื่นชอบ: แบรนด์เเนม
ชื่อเล่น: เม
อายุ: 22
ที่อยู่: Bangkok Thailand

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
Rosarin เขียน:
กรัชกาย เขียน:
Rosarin เขียน:
กรัชกาย เขียน:
Rosarin เขียน:
กรัชกาย เขียน:
อิริยาบถ "ทางแห่งการเคลื่อนไหว" ท่าทางที่ร่างกายจะเป็นไป, ท่าที่เคลื่อนไหวตั้งวางร่างกายอย่างใดอย่างหนึ่ง, อิริยาบถหลักมี ๔ คือ ยืน เดิน นั่ง นอน, อิริยาบถย่อย เรียกว่า จุณณิยอิริยาบถ หรือ จุณณิกอิริยาบถ ได้แก่ ท่าที่แปรเปลี่ยนยักย้ายไประหว่างอิริยาบถทั้ง ๔ นั้น

เอกายนมรรค ทางอันเอก คือ ข้อปฏิบัติไปสู่ความบริสุทธิ์หมดจด หมดความทุกข์ และบรรลุนิพพาน ได้แก่ สติปัฏฐาน ๔; อย่างกว้างขวาง เช่น ในมหานิทเทส หมายถึง โพธิปักขิยธรรม ด้วย

:b13:
รูปตามอภิธรรม28รูปไม่มีอิริยาบททั้ง4เลย
แนะนำผิดๆทำให้ผู้อื่นคิดเห็นผิดโทษมาก
:b32: :b32:


นี่เขาเรียกว่า ยิ่งอ่านยิ่งโง่

ก็ในอภิธรรมเขาแยกซอยไปยังงั้นแล้วมันจะมีได้ยังไง ไปดูคัมภีร์อื่นบ้างสิ

ถามนะ ในแต่ละวันๆ คุณโรส ได้ยืน เดิน นั่ง นอน ไหม ตอบตรงๆนะ มีช้อยให้เลือก

1. ได้มี ยืน เดิน นั่ง นอน

2. ไม่มี (คือไม่เดิน ไม่นั่ง ไม่นอน ไม่ยืน คิกๆๆ)

:b12:
เพราะไม่รู้ไงว่าทุกข์คืออะไรจึงยึดถือตัวตนที่มีอิริยาบถกำกับอยู่ไงคะ
การจะระลึกตามได้ทันสภาพธรรมที่กำลังปรากฏครบ6ทางทั่วตัวต้องทัน
ตัวจริงคือสัจจะทีละ1คำสัจจะเริ่มเข้าใจทีละอย่างช้าๆก่อนฟังบ่อยๆจนจำได้
และระลึกได้เร็วขึ้นตามปัญญาที่เพิ่มขึ้นฟังไม่รู้เรื่องนั่นแหละปัญญาตนไม่พอค่ะ
จะยึดถืออิริยาบทไปตลอดชาติก็ถึงวิปัสสนาญาณไม่ได้หรอกนะคะแค่เห็นจริงๆไม่มี
เห็นแล้วดับแล้วมัวแต่ห่วงอิริยาบทเอาไม่ทันเลยสักทางมัวแต่ไปกำหนดมันไม่ทันรู้ยังคะ
:b32: :b32:



ตอบให้ตรงคำถามสิ คุณโรส เคย ยืน เดิน นั่ง นอน ไหม

cool
ตอนนี้กำลังยืนหรือเดินหรือนั่งหรือนอนอยู่ล่ะคะก็รู้สึกตัวเองตามปกติมีตัวตนแล้วนี่คะ
ไปบังคับหรือฝืนตัวตนนั่นแหละมีตัวตนชัดเจนมีท่าด้วยยิ่งจำตัวตนเข้าไปอีกหลายชั้น
คริคริคริบอกว่าให้เริ่มฟังเพื่อละไม่รู้ที่ไหลถล่มทลายอยู่ในขณะนี้เพื่อดับความเห็นผิด
จำแต่บัญญัติคำมันเป็นสัญญาจำคำตถาคตค่ะแต่ไม่เข้าใจความจริงที่ตนเองกำลังมีไง
:b12:
:b32: :b32:



บ้านธัมมะ น้ำโดยแม่สุจินต์ กับ คุณโรสเป็นต้น คิดว่าเข้าใจธัมม์ นั่นมันคิดเอาเอง ไม่ได้เข้าใจหรอก เขาเรียกฟุ้งซ่านธรรม :b13: คนที่ไปทำกรรมฐานเขาไปฝึกสติสัมปชัญญะ เพื่อให้รู้เข้าใจสภาวะชีวิต เรื่องนี้มันต้องฝึก (ทมะ) ต้องสร้างปัญญา (ภาวนามยปัญญา) ไม่ใช่ปล่อยให้คิดไปตามเรื่องแบบบ้านธัมมะอะไรนั่น

คุณโรสเขาเป็นอะไร

อ้างคำพูด:
จิตคิดด่าสิ่งศักดิ์สิทธิ์

ไม่ได้ตั้งใจจะลบลู่สิ่งศักดิ์สิทธิ์ แต่จิตมันแว๊บขึ้นมา จะทำอย่างไร จะให้คำหยาบคำด่า หรืออะไรที่คิดอกุศลหายไปค่ะ พยายามนึกคิดในสิ่งที่ดี..สวดมนต์ก็แล้วยังไม่หลุดไปรบกวน แนะนำด้วยค่ะ




ที่คุณกรัชกาย กล่าวๆมา นี่ หมายถึง อาจารย์สุจินต์ บริหารวนเขตต์ ใช่หรือเปล่าคะ ?


ยืนยันด้วยค่ะ



โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 29 ก.ค. 2018, 16:45 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 25 เม.ย. 2009, 02:43
โพสต์: 12232


 ข้อมูลส่วนตัว


Rosarin เขียน:
cool
ตอนนี้กำลังยืนหรือเดินหรือนั่งหรือนอนอยู่ล่ะคะก็รู้สึกตัวเองตามปกติมีตัวตนแล้วนี่คะ
ไปบังคับหรือฝืนตัวตนนั่นแหละมีตัวตนชัดเจนมีท่าด้วยยิ่งจำตัวตนเข้าไปอีกหลายชั้น

คริคริคริบอกว่าให้เริ่มฟังเพื่อละไม่รู้ที่ไหลถล่มทลายอยู่ในขณะนี้เพื่อดับความเห็นผิด
จำแต่บัญญัติคำมันเป็นสัญญาจำคำตถาคตค่ะแต่ไม่เข้าใจความจริงที่ตนเองกำลังมีไง
:b12:
:b32: :b32:


มาดูว่าบรมศาสดาสัมมาสัมพุทธเจ้า..สอนใว้อย่างไร

อ้างคำพูด:
http://www.84000.org/tipitaka/pitaka_it ... agebreak=0
พระไตรปิฎก เล่มที่ ๙ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑
ทีฆนิกาย สีลขันธวรรค


สติสัมปชัญญะ


ดูกรโปฏฐปาทะ อย่างไรภิกษุชื่อว่าเป็นผู้ประกอบด้วยสติสัมปชัญญะ?
ดูกรโปฏฐปาทะ ภิกษุในธรรมวินัยนี้ ย่อมทำความรู้สึกตัวในการก้าว ในการถอย
ในการแล ในการเหลียว ในการคู้เข้า ในการเหยียดออก ในการทรงสังฆาฏิบาตรและจีวร
ในการฉัน การดื่ม การเคี้ยว การลิ้ม ในการถ่ายอุจจาระ ปัสสาวะ ย่อมทำความรู้สึกตัว
ในการเดิน การยืน การนั่ง การหลับ การตื่น การพูด การนิ่ง ดูกรโปฏฐปาทะ ด้วยประการ
ดังกล่าวมานี้แล ภิกษุชื่อว่า เป็นผู้ประกอบด้วยสติสัมปชัญญะ.



โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 29 ก.ค. 2018, 17:34 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


โลกสวย เขียน:
กรัชกาย เขียน:
Rosarin เขียน:
กรัชกาย เขียน:
Rosarin เขียน:
กรัชกาย เขียน:
Rosarin เขียน:
กรัชกาย เขียน:
อิริยาบถ "ทางแห่งการเคลื่อนไหว" ท่าทางที่ร่างกายจะเป็นไป, ท่าที่เคลื่อนไหวตั้งวางร่างกายอย่างใดอย่างหนึ่ง, อิริยาบถหลักมี ๔ คือ ยืน เดิน นั่ง นอน, อิริยาบถย่อย เรียกว่า จุณณิยอิริยาบถ หรือ จุณณิกอิริยาบถ ได้แก่ ท่าที่แปรเปลี่ยนยักย้ายไประหว่างอิริยาบถทั้ง ๔ นั้น

เอกายนมรรค ทางอันเอก คือ ข้อปฏิบัติไปสู่ความบริสุทธิ์หมดจด หมดความทุกข์ และบรรลุนิพพาน ได้แก่ สติปัฏฐาน ๔; อย่างกว้างขวาง เช่น ในมหานิทเทส หมายถึง โพธิปักขิยธรรม ด้วย

:b13:
รูปตามอภิธรรม28รูปไม่มีอิริยาบททั้ง4เลย
แนะนำผิดๆทำให้ผู้อื่นคิดเห็นผิดโทษมาก
:b32: :b32:


นี่เขาเรียกว่า ยิ่งอ่านยิ่งโง่

ก็ในอภิธรรมเขาแยกซอยไปยังงั้นแล้วมันจะมีได้ยังไง ไปดูคัมภีร์อื่นบ้างสิ

ถามนะ ในแต่ละวันๆ คุณโรส ได้ยืน เดิน นั่ง นอน ไหม ตอบตรงๆนะ มีช้อยให้เลือก

1. ได้มี ยืน เดิน นั่ง นอน

2. ไม่มี (คือไม่เดิน ไม่นั่ง ไม่นอน ไม่ยืน คิกๆๆ)

:b12:
เพราะไม่รู้ไงว่าทุกข์คืออะไรจึงยึดถือตัวตนที่มีอิริยาบถกำกับอยู่ไงคะ
การจะระลึกตามได้ทันสภาพธรรมที่กำลังปรากฏครบ6ทางทั่วตัวต้องทัน
ตัวจริงคือสัจจะทีละ1คำสัจจะเริ่มเข้าใจทีละอย่างช้าๆก่อนฟังบ่อยๆจนจำได้
และระลึกได้เร็วขึ้นตามปัญญาที่เพิ่มขึ้นฟังไม่รู้เรื่องนั่นแหละปัญญาตนไม่พอค่ะ
จะยึดถืออิริยาบทไปตลอดชาติก็ถึงวิปัสสนาญาณไม่ได้หรอกนะคะแค่เห็นจริงๆไม่มี
เห็นแล้วดับแล้วมัวแต่ห่วงอิริยาบทเอาไม่ทันเลยสักทางมัวแต่ไปกำหนดมันไม่ทันรู้ยังคะ
:b32: :b32:



ตอบให้ตรงคำถามสิ คุณโรส เคย ยืน เดิน นั่ง นอน ไหม

cool
ตอนนี้กำลังยืนหรือเดินหรือนั่งหรือนอนอยู่ล่ะคะก็รู้สึกตัวเองตามปกติมีตัวตนแล้วนี่คะ
ไปบังคับหรือฝืนตัวตนนั่นแหละมีตัวตนชัดเจนมีท่าด้วยยิ่งจำตัวตนเข้าไปอีกหลายชั้น
คริคริคริบอกว่าให้เริ่มฟังเพื่อละไม่รู้ที่ไหลถล่มทลายอยู่ในขณะนี้เพื่อดับความเห็นผิด
จำแต่บัญญัติคำมันเป็นสัญญาจำคำตถาคตค่ะแต่ไม่เข้าใจความจริงที่ตนเองกำลังมีไง
:b12:
:b32: :b32:



บ้านธัมมะ น้ำโดยแม่สุจินต์ กับ คุณโรสเป็นต้น คิดว่าเข้าใจธัมม์ นั่นมันคิดเอาเอง ไม่ได้เข้าใจหรอก เขาเรียกฟุ้งซ่านธรรม :b13: คนที่ไปทำกรรมฐานเขาไปฝึกสติสัมปชัญญะ เพื่อให้รู้เข้าใจสภาวะชีวิต เรื่องนี้มันต้องฝึก (ทมะ) ต้องสร้างปัญญา (ภาวนามยปัญญา) ไม่ใช่ปล่อยให้คิดไปตามเรื่องแบบบ้านธัมมะอะไรนั่น

คุณโรสเขาเป็นอะไร

อ้างคำพูด:
จิตคิดด่าสิ่งศักดิ์สิทธิ์

ไม่ได้ตั้งใจจะลบลู่สิ่งศักดิ์สิทธิ์ แต่จิตมันแว๊บขึ้นมา จะทำอย่างไร จะให้คำหยาบคำด่า หรืออะไรที่คิดอกุศลหายไปค่ะ พยายามนึกคิดในสิ่งที่ดี..สวดมนต์ก็แล้วยังไม่หลุดไปรบกวน แนะนำด้วยค่ะ




ที่คุณกรัชกาย กล่าวๆมา นี่ หมายถึง อาจารย์สุจินต์ บริหารวนเขตต์ ใช่หรือเปล่าคะ ?


ยืนยันด้วยค่ะ




ถามคุณโรสดิ คิกๆๆ

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 29 ก.ค. 2018, 17:39 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 11 มี.ค. 2018, 02:56
โพสต์: 2166

โฮมเพจ: maybe
แนวปฏิบัติ: สติปัฎฐาน
งานอดิเรก: กีฬา
สิ่งที่ชื่นชอบ: แบรนด์เเนม
ชื่อเล่น: เม
อายุ: 22
ที่อยู่: Bangkok Thailand

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
โลกสวย เขียน:
กรัชกาย เขียน:
Rosarin เขียน:
กรัชกาย เขียน:
Rosarin เขียน:
กรัชกาย เขียน:
Rosarin เขียน:
กรัชกาย เขียน:
อิริยาบถ "ทางแห่งการเคลื่อนไหว" ท่าทางที่ร่างกายจะเป็นไป, ท่าที่เคลื่อนไหวตั้งวางร่างกายอย่างใดอย่างหนึ่ง, อิริยาบถหลักมี ๔ คือ ยืน เดิน นั่ง นอน, อิริยาบถย่อย เรียกว่า จุณณิยอิริยาบถ หรือ จุณณิกอิริยาบถ ได้แก่ ท่าที่แปรเปลี่ยนยักย้ายไประหว่างอิริยาบถทั้ง ๔ นั้น

เอกายนมรรค ทางอันเอก คือ ข้อปฏิบัติไปสู่ความบริสุทธิ์หมดจด หมดความทุกข์ และบรรลุนิพพาน ได้แก่ สติปัฏฐาน ๔; อย่างกว้างขวาง เช่น ในมหานิทเทส หมายถึง โพธิปักขิยธรรม ด้วย

:b13:
รูปตามอภิธรรม28รูปไม่มีอิริยาบททั้ง4เลย
แนะนำผิดๆทำให้ผู้อื่นคิดเห็นผิดโทษมาก
:b32: :b32:


นี่เขาเรียกว่า ยิ่งอ่านยิ่งโง่

ก็ในอภิธรรมเขาแยกซอยไปยังงั้นแล้วมันจะมีได้ยังไง ไปดูคัมภีร์อื่นบ้างสิ

ถามนะ ในแต่ละวันๆ คุณโรส ได้ยืน เดิน นั่ง นอน ไหม ตอบตรงๆนะ มีช้อยให้เลือก

1. ได้มี ยืน เดิน นั่ง นอน

2. ไม่มี (คือไม่เดิน ไม่นั่ง ไม่นอน ไม่ยืน คิกๆๆ)

:b12:
เพราะไม่รู้ไงว่าทุกข์คืออะไรจึงยึดถือตัวตนที่มีอิริยาบถกำกับอยู่ไงคะ
การจะระลึกตามได้ทันสภาพธรรมที่กำลังปรากฏครบ6ทางทั่วตัวต้องทัน
ตัวจริงคือสัจจะทีละ1คำสัจจะเริ่มเข้าใจทีละอย่างช้าๆก่อนฟังบ่อยๆจนจำได้
และระลึกได้เร็วขึ้นตามปัญญาที่เพิ่มขึ้นฟังไม่รู้เรื่องนั่นแหละปัญญาตนไม่พอค่ะ
จะยึดถืออิริยาบทไปตลอดชาติก็ถึงวิปัสสนาญาณไม่ได้หรอกนะคะแค่เห็นจริงๆไม่มี
เห็นแล้วดับแล้วมัวแต่ห่วงอิริยาบทเอาไม่ทันเลยสักทางมัวแต่ไปกำหนดมันไม่ทันรู้ยังคะ
:b32: :b32:



ตอบให้ตรงคำถามสิ คุณโรส เคย ยืน เดิน นั่ง นอน ไหม

cool
ตอนนี้กำลังยืนหรือเดินหรือนั่งหรือนอนอยู่ล่ะคะก็รู้สึกตัวเองตามปกติมีตัวตนแล้วนี่คะ
ไปบังคับหรือฝืนตัวตนนั่นแหละมีตัวตนชัดเจนมีท่าด้วยยิ่งจำตัวตนเข้าไปอีกหลายชั้น
คริคริคริบอกว่าให้เริ่มฟังเพื่อละไม่รู้ที่ไหลถล่มทลายอยู่ในขณะนี้เพื่อดับความเห็นผิด
จำแต่บัญญัติคำมันเป็นสัญญาจำคำตถาคตค่ะแต่ไม่เข้าใจความจริงที่ตนเองกำลังมีไง
:b12:
:b32: :b32:



บ้านธัมมะ น้ำโดยแม่สุจินต์ กับ คุณโรสเป็นต้น คิดว่าเข้าใจธัมม์ นั่นมันคิดเอาเอง ไม่ได้เข้าใจหรอก เขาเรียกฟุ้งซ่านธรรม :b13: คนที่ไปทำกรรมฐานเขาไปฝึกสติสัมปชัญญะ เพื่อให้รู้เข้าใจสภาวะชีวิต เรื่องนี้มันต้องฝึก (ทมะ) ต้องสร้างปัญญา (ภาวนามยปัญญา) ไม่ใช่ปล่อยให้คิดไปตามเรื่องแบบบ้านธัมมะอะไรนั่น

คุณโรสเขาเป็นอะไร

อ้างคำพูด:
จิตคิดด่าสิ่งศักดิ์สิทธิ์

ไม่ได้ตั้งใจจะลบลู่สิ่งศักดิ์สิทธิ์ แต่จิตมันแว๊บขึ้นมา จะทำอย่างไร จะให้คำหยาบคำด่า หรืออะไรที่คิดอกุศลหายไปค่ะ พยายามนึกคิดในสิ่งที่ดี..สวดมนต์ก็แล้วยังไม่หลุดไปรบกวน แนะนำด้วยค่ะ




ที่คุณกรัชกาย กล่าวๆมา นี่ หมายถึง อาจารย์สุจินต์ บริหารวนเขตต์ ใช่หรือเปล่าคะ ?


ยืนยันด้วยค่ะ




ถามคุณโรสดิ คิกๆๆ

ถามคุณกรัชกายนั่นแหละค่ะ ว่า ที่คุณกรัชกาย กล่าวๆมานั้น หมายถึงใครหละคะ ?
เห็นกล่าวมาหลายกระทู้ หลายข้อความแล้ว

หมายถึง อาจารย์สุจินต์ บริหารวนเขตต์ หรือเปล่าคะ ?


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 30 ก.ค. 2018, 00:11 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 29 ต.ค. 2009, 15:06
โพสต์: 7520

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กบนอกกะลา เขียน:
Rosarin เขียน:
cool
ตอนนี้กำลังยืนหรือเดินหรือนั่งหรือนอนอยู่ล่ะคะก็รู้สึกตัวเองตามปกติมีตัวตนแล้วนี่คะ
ไปบังคับหรือฝืนตัวตนนั่นแหละมีตัวตนชัดเจนมีท่าด้วยยิ่งจำตัวตนเข้าไปอีกหลายชั้น

คริคริคริบอกว่าให้เริ่มฟังเพื่อละไม่รู้ที่ไหลถล่มทลายอยู่ในขณะนี้เพื่อดับความเห็นผิด
จำแต่บัญญัติคำมันเป็นสัญญาจำคำตถาคตค่ะแต่ไม่เข้าใจความจริงที่ตนเองกำลังมีไง
:b12:
:b32: :b32:


มาดูว่าบรมศาสดาสัมมาสัมพุทธเจ้า..สอนใว้อย่างไร

อ้างคำพูด:
http://www.84000.org/tipitaka/pitaka_it ... agebreak=0
พระไตรปิฎก เล่มที่ ๙ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑
ทีฆนิกาย สีลขันธวรรค


สติสัมปชัญญะ


ดูกรโปฏฐปาทะ อย่างไรภิกษุชื่อว่าเป็นผู้ประกอบด้วยสติสัมปชัญญะ?
ดูกรโปฏฐปาทะ ภิกษุในธรรมวินัยนี้ ย่อมทำความรู้สึกตัวในการก้าว ในการถอย
ในการแล ในการเหลียว ในการคู้เข้า ในการเหยียดออก ในการทรงสังฆาฏิบาตรและจีวร
ในการฉัน การดื่ม การเคี้ยว การลิ้ม ในการถ่ายอุจจาระ ปัสสาวะ ย่อมทำความรู้สึกตัว
ในการเดิน การยืน การนั่ง การหลับ การตื่น การพูด การนิ่ง ดูกรโปฏฐปาทะ ด้วยประการ
ดังกล่าวมานี้แล ภิกษุชื่อว่า เป็นผู้ประกอบด้วยสติสัมปชัญญะ.


:b32: :b32: :b32:
เอาง่ายๆเลยแค่ให้สติเกิดให้ได้ก่อนละกัน
ค่อยไปถึงปัญญาระดับนั้นสติสัมปชัญญะ
เป็นชื่อของปัญญานะคะคุณกบแค่สุตะให้
ตรงก่อนนะคะเพราะสติแปลว่าระลึกตาม
คำสอนได้ตรงปรมัตถสัจจะที่กายใจตน
ขณะกำลังตั้งอยู่ก่อนดับจำไม่ได้หรือคะ
ว่าสติสัมปชัญญะรู้ตัวทั่วพร้อมคือปัญญา
รู้ชัดว่าไม่ใช่ตัวตนเป็นปรมัตถ์ครบวิสยรูป
ครบอายตนะ6ธาตุ4ขันธ์5ต้องทันก่อนดับ
ก็บอกแล้วไงว่าแค่กะพริบตาดับนับไม่ถ้วน
ไม่ทันทั่วตัวครบ6โลก6ทางแปลว่าไม่รู้ไงคะ
แต่ไม่ใช่ไปพิรี้พิไรทำเองคิดเองไปเรื่อยๆค่ะ
ต้องเป็นฟังพระพุทธพจน์เพื่อเข้าใจเพื่อเปิด
ทางเกิดปัญญาแรกตามคำสอนไงคะคือฟัง
ใช้จิตได้ยินฟังเสียงไม่ใช่ใช้จิตคิดนึกอ่านน๊า
:b32: :b32:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 30 ก.ค. 2018, 05:31 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 25 เม.ย. 2009, 02:43
โพสต์: 12232


 ข้อมูลส่วนตัว


กบนอกกะลา เขียน:
Rosarin เขียน:
cool
ตอนนี้กำลังยืนหรือเดินหรือนั่งหรือนอนอยู่ล่ะคะก็รู้สึกตัวเองตามปกติมีตัวตนแล้วนี่คะ
ไปบังคับหรือฝืนตัวตนนั่นแหละมีตัวตนชัดเจนมีท่าด้วยยิ่งจำตัวตนเข้าไปอีกหลายชั้น

คริคริคริบอกว่าให้เริ่มฟังเพื่อละไม่รู้ที่ไหลถล่มทลายอยู่ในขณะนี้เพื่อดับความเห็นผิด
จำแต่บัญญัติคำมันเป็นสัญญาจำคำตถาคตค่ะแต่ไม่เข้าใจความจริงที่ตนเองกำลังมีไง
:b12:
:b32: :b32:


มาดูว่าบรมศาสดาสัมมาสัมพุทธเจ้า..สอนใว้อย่างไร

อ้างคำพูด:
http://www.84000.org/tipitaka/pitaka_it ... agebreak=0
พระไตรปิฎก เล่มที่ ๙ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑
ทีฆนิกาย สีลขันธวรรค


สติสัมปชัญญะ


ดูกรโปฏฐปาทะ อย่างไรภิกษุชื่อว่าเป็นผู้ประกอบด้วยสติสัมปชัญญะ?
ดูกรโปฏฐปาทะ ภิกษุในธรรมวินัยนี้ ย่อมทำความรู้สึกตัวในการก้าว ในการถอย
ในการแล ในการเหลียว ในการคู้เข้า ในการเหยียดออก ในการทรงสังฆาฏิบาตรและจีวร
ในการฉัน การดื่ม การเคี้ยว การลิ้ม ในการถ่ายอุจจาระ ปัสสาวะ ย่อมทำความรู้สึกตัว
ในการเดิน การยืน การนั่ง การหลับ การตื่น การพูด การนิ่ง ดูกรโปฏฐปาทะ ด้วยประการ
ดังกล่าวมานี้แล ภิกษุชื่อว่า เป็นผู้ประกอบด้วยสติสัมปชัญญะ.



ที่คุณโรสพูด.."มีท่าด้วยยิ่งจำตัวตนเข้าไปอีกหลายชั้น" จึงเป็นมิจฉาทิฎฐิ..คือเห็นผิดจากพระธรรม

การระลึกรู้ท่าทางอาการของร่างกาย...พระองค์บอกว่า..เป็นผู้ประกอบด้วยสติสัมปชัญญะ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 30 ก.ค. 2018, 06:18 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 25 เม.ย. 2009, 02:43
โพสต์: 12232


 ข้อมูลส่วนตัว


การระลึกรู้ท่าทางอาการของร่างกาย...ไม่เพียงแต่ว่ามีสติสัมปชัญญะ..เท่านั้น..พระองค์ยังสอนต่อให้ถึงที่สุดในกองทุกข์..นั้นเลย

http://www.84000.org/tipitaka/read/v.ph ... 257&Z=6764
อ้างคำพูด:
พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๐ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๒
ทีฆนิกาย มหาวรรค

๙. มหาสติปัฏฐานสูตร (๒๒)


[๒๗๖] ดูกรภิกษุทั้งหลาย อีกข้อหนึ่ง ภิกษุย่อมทำความรู้สึกตัวในการ
ก้าว ในการถอย ในการแล ในการเหลียว ในการคู้เข้า ในการเหยียดออก
ในการทรงผ้าสังฆาฏิบาตรและจีวร ในการฉัน การดื่ม การเคี้ยว การลิ้ม ใน
การถ่ายอุจจาระและปัสสาวะ ย่อมทำความรู้สึกตัว ในการเดิน การยืน การนั่ง
การหลับ การตื่น การพูด การนิ่ง ดังพรรณนามาฉะนี้ ภิกษุย่อมพิจารณาเห็น
กายในกายภายในบ้าง พิจารณาเห็นกายในกายภายนอกบ้าง พิจารณาเห็นกาย
ในกายทั้งภายในทั้งภายนอกบ้าง พิจารณาเห็นธรรมคือความเกิดขึ้นในกายบ้าง
พิจารณาเห็นธรรมคือความเสื่อมในกายบ้าง พิจารณาเห็นธรรมคือทั้งความเกิดขึ้นทั้ง
ความเสื่อมในกายบ้าง
ย่อมอยู่ อีกอย่างหนึ่ง สติของเธอที่ตั้งมั่นอยู่ว่า กายมี
อยู่ ก็เพียงสักว่าความรู้ เพียงสักว่าอาศัยระลึกเท่านั้น เธอเป็นผู้อันตัณหาและทิฐิ
ไม่อาศัยอยู่แล้ว และไม่ถือมั่นอะไรๆ ในโลก
ดูกรภิกษุทั้งหลาย อย่างนี้แล
ภิกษุชื่อว่าพิจารณาเห็นกายในกายอยู่ ฯ


จบสัมปชัญญบรรพ



1 มีสติระลึกรู้กาย
2 พิจารณาเห็นธรรม..อย่างเช่น..เห็นธรรมเกิดขึ้นในกายบ้าง..เห็นธรรมเสื่อมในกายบ้าง..

เมื่อจิตเห็นตามความเป็นจริง..เห็นว่ากายนี้ไม่ใช่เรา...ยอมรับความเป็นจริง...ผลคือ

3. "กายมีอยู่ ก็เพียงสักว่าความรู้ เพียงสักว่าอาศัยระลึกเท่านั้น"...เป็นการวางเฉยในสังขาร...วางเพราะจิตยอมรับความเป็นจริง...ไม่ใช่ไปทำท่าวาง..เห็นแล้วรีบวางเลยนั้นมันบังคับวาง
(ปล. ต้องยอมรับนะว่าเราเราสมัยนี้..ไม่ใช่ประเภทอย่างพระพาหิยะ..ที่รับคำสอนสั้นๆก็เห็นจริงตามนั้นได้เลย..สุดท้าย..วางเฉยได้ก็เพราะเห็นจริงตามคำสอน..ไม่ได้เกิดจากการท่องว่า.."เห็นก็สักแต่ว่าเห็น"...)

วางเฉยยังไม่พอ..ยังมีต่ออีก..
4. "เธอเป็นผู้อันตัณหาและทิฐิไม่อาศัยอยู่แล้ว และไม่ถือมั่นอะไรๆ ในโลก"...วิราคะก็ตามมา


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 30 ก.ค. 2018, 13:38 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 11 มี.ค. 2018, 02:56
โพสต์: 2166

โฮมเพจ: maybe
แนวปฏิบัติ: สติปัฎฐาน
งานอดิเรก: กีฬา
สิ่งที่ชื่นชอบ: แบรนด์เเนม
ชื่อเล่น: เม
อายุ: 22
ที่อยู่: Bangkok Thailand

 ข้อมูลส่วนตัว


ไม่ใช่สมัยใหม่ ไม่ใช่สมัยเก่า

แต่เป็นปัจจุบันธรรม ของเขาเหล่านั้นค่ะ



โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 30 ก.ค. 2018, 19:41 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 29 ต.ค. 2009, 15:06
โพสต์: 7520

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กบนอกกะลา เขียน:
กบนอกกะลา เขียน:
Rosarin เขียน:
cool
ตอนนี้กำลังยืนหรือเดินหรือนั่งหรือนอนอยู่ล่ะคะก็รู้สึกตัวเองตามปกติมีตัวตนแล้วนี่คะ
ไปบังคับหรือฝืนตัวตนนั่นแหละมีตัวตนชัดเจนมีท่าด้วยยิ่งจำตัวตนเข้าไปอีกหลายชั้น

คริคริคริบอกว่าให้เริ่มฟังเพื่อละไม่รู้ที่ไหลถล่มทลายอยู่ในขณะนี้เพื่อดับความเห็นผิด
จำแต่บัญญัติคำมันเป็นสัญญาจำคำตถาคตค่ะแต่ไม่เข้าใจความจริงที่ตนเองกำลังมีไง
:b12:
:b32: :b32:


มาดูว่าบรมศาสดาสัมมาสัมพุทธเจ้า..สอนใว้อย่างไร

อ้างคำพูด:
http://www.84000.org/tipitaka/pitaka_it ... agebreak=0
พระไตรปิฎก เล่มที่ ๙ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑
ทีฆนิกาย สีลขันธวรรค


สติสัมปชัญญะ


ดูกรโปฏฐปาทะ อย่างไรภิกษุชื่อว่าเป็นผู้ประกอบด้วยสติสัมปชัญญะ?
ดูกรโปฏฐปาทะ ภิกษุในธรรมวินัยนี้ ย่อมทำความรู้สึกตัวในการก้าว ในการถอย
ในการแล ในการเหลียว ในการคู้เข้า ในการเหยียดออก ในการทรงสังฆาฏิบาตรและจีวร
ในการฉัน การดื่ม การเคี้ยว การลิ้ม ในการถ่ายอุจจาระ ปัสสาวะ ย่อมทำความรู้สึกตัว
ในการเดิน การยืน การนั่ง การหลับ การตื่น การพูด การนิ่ง ดูกรโปฏฐปาทะ ด้วยประการ
ดังกล่าวมานี้แล ภิกษุชื่อว่า เป็นผู้ประกอบด้วยสติสัมปชัญญะ.



ที่คุณโรสพูด.."มีท่าด้วยยิ่งจำตัวตนเข้าไปอีกหลายชั้น" จึงเป็นมิจฉาทิฎฐิ..คือเห็นผิดจากพระธรรม

การระลึกรู้ท่าทางอาการของร่างกาย...พระองค์บอกว่า..เป็นผู้ประกอบด้วยสติสัมปชัญญะ

Kiss
:b12:
นี่โรสพูดเรื่องปกติไม่ต้องแยกออกไปไหนเพื่อทำเข้าใจไหมคะ
ที่ไปไหนต่อไหนที่กำลังไปโน่นมานี่นั่นแหละคืออยากไปไงคะ
ไม่เข้าใจหรือคะบอกว่ารู้จักตัวเองตามปกติว่าแต่ละขณะจิต
คือเดี๋ยวนี้เลยค่ะเป็นตัวเราคิดเองตามกิจธุระที่ไปไหนเองไง
เช่นไปตลาดเพราะอยากไปแสวงหาอาหารใช่ไหมไปธนาคาร
เพื่อไปทำธุรกรรมการเงินไปห้างสรรพสินค้าเพื่อซื้อหาสิ่งของ
นี่มันกิจธุระของคฤหัสถ์ตามปกติเป็นปกติเข้าใจไหมคะะะะะะ
ตถาคตให้มีชีวิตตามปกติระลึกตามคำสอนได้ถูกกายใจทุกขณะ
ตรงความจริงที่ตนกำลังมีว่ารู้สึกอะไรตรงๆร้อนเย็นเหม็นหอมเห็น
เมื่อยหิวเจ็บปวดสุขทุกเฉยๆมันเปลี่ยนแปลงตลอดเวลาตามปกติที่
ลืมตาเห็นตะเวณลัดเลาะไปไหนก็ตามไม่ขาดตาหูจมูกลิ้นกายใจมีแล้ว
แต่ไม่รู้ความจริงที่กำลังปรากฏไงคะเดี๋ยวนี้อยู่กับที่ก็มีครบหมดแล้วใช่ไหม
ยังจะต้องไปไหนทำไมก็รู้จักตั้งใจฟังให้เข้าใจสิคะจะได้ไม่ต้องไปแสวงหานายช่างผู้สร้างเรือนคร่าาาาา
:b32: :b32:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 30 ก.ค. 2018, 19:55 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 11 มี.ค. 2018, 02:56
โพสต์: 2166

โฮมเพจ: maybe
แนวปฏิบัติ: สติปัฎฐาน
งานอดิเรก: กีฬา
สิ่งที่ชื่นชอบ: แบรนด์เเนม
ชื่อเล่น: เม
อายุ: 22
ที่อยู่: Bangkok Thailand

 ข้อมูลส่วนตัว


Rosarin เขียน:
กบนอกกะลา เขียน:
กบนอกกะลา เขียน:
Rosarin เขียน:
cool
ตอนนี้กำลังยืนหรือเดินหรือนั่งหรือนอนอยู่ล่ะคะก็รู้สึกตัวเองตามปกติมีตัวตนแล้วนี่คะ
ไปบังคับหรือฝืนตัวตนนั่นแหละมีตัวตนชัดเจนมีท่าด้วยยิ่งจำตัวตนเข้าไปอีกหลายชั้น

คริคริคริบอกว่าให้เริ่มฟังเพื่อละไม่รู้ที่ไหลถล่มทลายอยู่ในขณะนี้เพื่อดับความเห็นผิด
จำแต่บัญญัติคำมันเป็นสัญญาจำคำตถาคตค่ะแต่ไม่เข้าใจความจริงที่ตนเองกำลังมีไง
:b12:
:b32: :b32:


มาดูว่าบรมศาสดาสัมมาสัมพุทธเจ้า..สอนใว้อย่างไร

อ้างคำพูด:
http://www.84000.org/tipitaka/pitaka_it ... agebreak=0
พระไตรปิฎก เล่มที่ ๙ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑
ทีฆนิกาย สีลขันธวรรค


สติสัมปชัญญะ


ดูกรโปฏฐปาทะ อย่างไรภิกษุชื่อว่าเป็นผู้ประกอบด้วยสติสัมปชัญญะ?
ดูกรโปฏฐปาทะ ภิกษุในธรรมวินัยนี้ ย่อมทำความรู้สึกตัวในการก้าว ในการถอย
ในการแล ในการเหลียว ในการคู้เข้า ในการเหยียดออก ในการทรงสังฆาฏิบาตรและจีวร
ในการฉัน การดื่ม การเคี้ยว การลิ้ม ในการถ่ายอุจจาระ ปัสสาวะ ย่อมทำความรู้สึกตัว
ในการเดิน การยืน การนั่ง การหลับ การตื่น การพูด การนิ่ง ดูกรโปฏฐปาทะ ด้วยประการ
ดังกล่าวมานี้แล ภิกษุชื่อว่า เป็นผู้ประกอบด้วยสติสัมปชัญญะ.



ที่คุณโรสพูด.."มีท่าด้วยยิ่งจำตัวตนเข้าไปอีกหลายชั้น" จึงเป็นมิจฉาทิฎฐิ..คือเห็นผิดจากพระธรรม

การระลึกรู้ท่าทางอาการของร่างกาย...พระองค์บอกว่า..เป็นผู้ประกอบด้วยสติสัมปชัญญะ

Kiss
:b12:
นี่โรสพูดเรื่องปกติไม่ต้องแยกออกไปไหนเพื่อทำเข้าใจไหมคะ
ที่ไปไหนต่อไหนที่กำลังไปโน่นมานี่นั่นแหละคืออยากไปไงคะ
ไม่เข้าใจหรือคะบอกว่ารู้จักตัวเองตามปกติว่าแต่ละขณะจิต
คือเดี๋ยวนี้เลยค่ะเป็นตัวเราคิดเองตามกิจธุระที่ไปไหนเองไง
เช่นไปตลาดเพราะอยากไปแสวงหาอาหารใช่ไหมไปธนาคาร
เพื่อไปทำธุรกรรมการเงินไปห้างสรรพสินค้าเพื่อซื้อหาสิ่งของ
นี่มันกิจธุระของคฤหัสถ์ตามปกติเป็นปกติเข้าใจไหมคะะะะะะ
ตถาคตให้มีชีวิตตามปกติระลึกตามคำสอนได้ถูกกายใจทุกขณะ
ตรงความจริงที่ตนกำลังมีว่ารู้สึกอะไรตรงๆร้อนเย็นเหม็นหอมเห็น
เมื่อยหิวเจ็บปวดสุขทุกเฉยๆมันเปลี่ยนแปลงตลอดเวลาตามปกติที่
ลืมตาเห็นตะเวณลัดเลาะไปไหนก็ตามไม่ขาดตาหูจมูกลิ้นกายใจมีแล้ว
แต่ไม่รู้ความจริงที่กำลังปรากฏไงคะเดี๋ยวนี้อยู่กับที่ก็มีครบหมดแล้วใช่ไหม
ยังจะต้องไปไหนทำไมก็รู้จักตั้งใจฟังให้เข้าใจสิคะจะได้ไม่ต้องไปแสวงหานายช่างผู้สร้างเรือนคร่าาาาา
:b32: :b32:


ฟังดูน่าสนุก ทั้งสองแบบ

ฝ่ายระลึกในกาย จะหลุดออกจากเจตสิกจิตสังขาร ได้สะดวก เพราะอาศัยกายเป็นฐาน
ไม่ไหลไปตามจิตที่เกิดดับทุกขณะ

ฝ่ายที่กล่าวถึงปกติจิต จะตามเจตสิกจิตสังขารไปแต่ละขณะจิต จนความเป็นปกติอ่อนกำลังไป
จากความปกติ

แต่ความปกติจิต ที่แท้จริง ไม่ได้ไหลไปตาม ไม่ได้ต้องอิงอาศัยของเล่นอะไรแบบนี้เรย ค่ะ

บ๊ายบาย




โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 30 ก.ค. 2018, 20:02 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 29 ต.ค. 2009, 15:06
โพสต์: 7520

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


โลกสวย เขียน:
Rosarin เขียน:
กบนอกกะลา เขียน:
กบนอกกะลา เขียน:
Rosarin เขียน:
cool
ตอนนี้กำลังยืนหรือเดินหรือนั่งหรือนอนอยู่ล่ะคะก็รู้สึกตัวเองตามปกติมีตัวตนแล้วนี่คะ
ไปบังคับหรือฝืนตัวตนนั่นแหละมีตัวตนชัดเจนมีท่าด้วยยิ่งจำตัวตนเข้าไปอีกหลายชั้น

คริคริคริบอกว่าให้เริ่มฟังเพื่อละไม่รู้ที่ไหลถล่มทลายอยู่ในขณะนี้เพื่อดับความเห็นผิด
จำแต่บัญญัติคำมันเป็นสัญญาจำคำตถาคตค่ะแต่ไม่เข้าใจความจริงที่ตนเองกำลังมีไง
:b12:
:b32: :b32:


มาดูว่าบรมศาสดาสัมมาสัมพุทธเจ้า..สอนใว้อย่างไร

อ้างคำพูด:
http://www.84000.org/tipitaka/pitaka_it ... agebreak=0
พระไตรปิฎก เล่มที่ ๙ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑
ทีฆนิกาย สีลขันธวรรค


สติสัมปชัญญะ


ดูกรโปฏฐปาทะ อย่างไรภิกษุชื่อว่าเป็นผู้ประกอบด้วยสติสัมปชัญญะ?
ดูกรโปฏฐปาทะ ภิกษุในธรรมวินัยนี้ ย่อมทำความรู้สึกตัวในการก้าว ในการถอย
ในการแล ในการเหลียว ในการคู้เข้า ในการเหยียดออก ในการทรงสังฆาฏิบาตรและจีวร
ในการฉัน การดื่ม การเคี้ยว การลิ้ม ในการถ่ายอุจจาระ ปัสสาวะ ย่อมทำความรู้สึกตัว
ในการเดิน การยืน การนั่ง การหลับ การตื่น การพูด การนิ่ง ดูกรโปฏฐปาทะ ด้วยประการ
ดังกล่าวมานี้แล ภิกษุชื่อว่า เป็นผู้ประกอบด้วยสติสัมปชัญญะ.



ที่คุณโรสพูด.."มีท่าด้วยยิ่งจำตัวตนเข้าไปอีกหลายชั้น" จึงเป็นมิจฉาทิฎฐิ..คือเห็นผิดจากพระธรรม

การระลึกรู้ท่าทางอาการของร่างกาย...พระองค์บอกว่า..เป็นผู้ประกอบด้วยสติสัมปชัญญะ

Kiss
:b12:
นี่โรสพูดเรื่องปกติไม่ต้องแยกออกไปไหนเพื่อทำเข้าใจไหมคะ
ที่ไปไหนต่อไหนที่กำลังไปโน่นมานี่นั่นแหละคืออยากไปไงคะ
ไม่เข้าใจหรือคะบอกว่ารู้จักตัวเองตามปกติว่าแต่ละขณะจิต
คือเดี๋ยวนี้เลยค่ะเป็นตัวเราคิดเองตามกิจธุระที่ไปไหนเองไง
เช่นไปตลาดเพราะอยากไปแสวงหาอาหารใช่ไหมไปธนาคาร
เพื่อไปทำธุรกรรมการเงินไปห้างสรรพสินค้าเพื่อซื้อหาสิ่งของ
นี่มันกิจธุระของคฤหัสถ์ตามปกติเป็นปกติเข้าใจไหมคะะะะะะ
ตถาคตให้มีชีวิตตามปกติระลึกตามคำสอนได้ถูกกายใจทุกขณะ
ตรงความจริงที่ตนกำลังมีว่ารู้สึกอะไรตรงๆร้อนเย็นเหม็นหอมเห็น
เมื่อยหิวเจ็บปวดสุขทุกเฉยๆมันเปลี่ยนแปลงตลอดเวลาตามปกติที่
ลืมตาเห็นตะเวณลัดเลาะไปไหนก็ตามไม่ขาดตาหูจมูกลิ้นกายใจมีแล้ว
แต่ไม่รู้ความจริงที่กำลังปรากฏไงคะเดี๋ยวนี้อยู่กับที่ก็มีครบหมดแล้วใช่ไหม
ยังจะต้องไปไหนทำไมก็รู้จักตั้งใจฟังให้เข้าใจสิคะจะได้ไม่ต้องไปแสวงหานายช่างผู้สร้างเรือนคร่าาาาา
:b32: :b32:


ฟังดูน่าสนุก ทั้งสองแบบ

ฝ่ายระลึกในกาย จะหลุดออกจากเจตสิกจิตสังขาร ได้สะดวก เพราะอาศัยกายเป็นฐาน
ไม่ไหลไปตามจิตที่เกิดดับทุกขณะ

ฝ่ายที่กล่าวถึงปกติจิต จะตามเจตสิกจิตสังขารไปแต่ละขณะจิต จนความเป็นปกติอ่อนกำลังไป
จากความปกติ

แต่ความปกติจิต ที่แท้จริง ไม่ได้ไหลไปตาม ไม่ได้ต้องอิงอาศัยของเล่นอะไรแบบนี้เรย ค่ะ

บ๊ายบาย



tongue
:b12:
การู้ความจริงตรงขณะตรงวิสยรูป7คือการพึ่งคำจริงของตถาคต
เพื่อทวนกระแสกิเลสตนเองไงคะปักหลักดูความจริงทุกขณะคือ
เปรียบเสมือนการลอยทวนกระแสกิเลสตนเองที่มันไหลไปหมด
ไม่รู้ความจริงตรง1สัจจะแสดงว่าทุกอย่างเป็นโมฆะเพราะไม่ตรง
ปักหลักดูกิเลสไหลไปเรื่อยเห็นกิเลสตนเองก็รู้จักกิเลสผู้อื่นไงคะ
ไม่ใช่ตามกิเลสไปทำแต่เป็นการปักหลักตั้งใจฟังเพื่อลอยทวนนำ้
:b32: :b32:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 30 ก.ค. 2018, 21:37 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 25 เม.ย. 2009, 02:43
โพสต์: 12232


 ข้อมูลส่วนตัว


ดูดูไป..ก็น่าสนุกทั้งสองแบบ...ทั้งโมทั้งเม..

:b9: :b9: :b9:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 30 ก.ค. 2018, 21:56 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


รูปภาพ


ภาคปฏิบัติทางจิตเนี่ยนะ เขาให้ดูที่ความรู้สึกนึกคิดแต่ละขณะๆ ขณะนั้นมันนึกมันคิดอะไร ไม่ใช่ไปไล่เคาะๆๆทีละตัวๆเหมือนตีฆ้องตีระนาดน๋องแน่งๆอย่างนั้นหรอก :b12:

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


แก้ไขล่าสุดโดย กรัชกาย เมื่อ 30 ก.ค. 2018, 21:58, แก้ไขแล้ว 1 ครั้ง

โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 30 ก.ค. 2018, 21:56 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 29 ต.ค. 2009, 15:06
โพสต์: 7520

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กบนอกกะลา เขียน:
ดูดูไป..ก็น่าสนุกทั้งสองแบบ...ทั้งโมทั้งเม..

:b9: :b9: :b9:

:b32:
เข้าใจความจริงตรงจริงตามปกติเดี๋ยวนี้ตรงปัจจุบันไหมคะ
ทำจริงคือระลึกตามคือพึ่งคำตรง1วิสยรูปเป็นการฝึกสติที่กายใจ
ส่วนปัญญาที่เกิดจากการฟังจะเริ่มมาประสานงากับผัสสะที่กระทบจริงๆ
เอกายโนมัคโคการระลึกตามต้องมีเสียงที่ไม่รู้ล่วงหน้าว่าจะได้ยินคำไหนต่อไป
ไม่ใช่ไปทำนิ่งทื่อๆแบบสงบความคิดนั่นน่ะคือคิดในสมาธิไม่ใช่คิดตรงตามปัญญารู้ชัดแจ้งคร่า
ถนนมีสายเดียวตั้งแต่เริ่มต้นคือสะสมปัญญา1ทุกครั้งที่ฟังที่มีปัญญาเกิดเพิ่มไม่มีว่าทำอันที่อยากทำก่อนค่ะ
:b17: :b17:
onion onion onion


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 30 ก.ค. 2018, 22:02 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


Rosarin เขียน:
กบนอกกะลา เขียน:
ดูดูไป..ก็น่าสนุกทั้งสองแบบ...ทั้งโมทั้งเม..



เข้าใจความจริงตรงจริงตามปกติเดี๋ยวนี้ตรงปัจจุบันไหมคะ
ทำจริงคือระลึกตามคือพึ่งคำตรง1วิสยรูปเป็นการฝึกสติที่กายใจ
ส่วนปัญญาที่เกิดจากการฟังจะเริ่มมาประสานงากับผัสสะที่กระทบจริงๆ
เอกายโนมัคโคการระลึกตามต้องมีเสียงที่ไม่รู้ล่วงหน้าว่าจะได้ยินคำไหนต่อไป
ไม่ใช่ไปทำนิ่งทื่อๆแบบสงบความคิดนั่นน่ะคือคิดในสมาธิไม่ใช่คิดตรงตามปัญญารู้ชัดแจ้งคร่า
ถนนมีสายเดียวตั้งแต่เริ่มต้นคือสะสมปัญญา1ทุกครั้งที่ฟังที่มีปัญญาเกิดเพิ่มไม่มีว่าทำอันที่อยากทำก่อนค่ะ


มาอีกแล้ววิสยรูป (ตก 7 ไป) อย่างนี้แหละเขาเรียกว่าพูดตามตำรา

ฝึกสติที่กาย ใจ ก็ซ้ายย่างหนอ ขวางย่างหนอ พองหนอ ยุบหนอ

หายใจเข้าว่า พุท หายใจออกว่า โธ หรือจะธัม-โม สัง-โฆ ก็ว่าไป นี่ถึงจะฝึกสติที่กาย ใจ ที่รูปนาม

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


แสดงโพสต์จาก:  เรียงตาม  
กลับไปยังกระทู้  [ 78 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1, 2, 3, 4, 5, 6  ต่อไป

เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


 ผู้ใช้งานขณะนี้

่กำลังดูบอร์ดนี้: ไม่มีสมาชิก และ บุคคลทั่วไป 1 ท่าน


ท่าน ไม่สามารถ โพสต์กระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ตอบกระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แก้ไขโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ลบโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แนบไฟล์ในบอร์ดนี้ได้

ค้นหาสำหรับ:
ไปที่:  
Google
ทั่วไป เว็บธรรมจักร