วันเวลาปัจจุบัน 22 ก.ค. 2025, 04:57  



เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง




กลับไปยังกระทู้  [ 88 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1, 2, 3, 4, 5, 6  ต่อไป  Bookmark and Share
เจ้าของ ข้อความ
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 11 มี.ค. 2019, 08:48 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


ปฤษฎี เขียน:
ตามอ่านไปๆ นอกจากจะได้เรียนรู้ถ้อยคำที่เป็นธรรมะ และ อธรรมะ มีประโยชน์บ้าง และไม่มีประโยชน์บ้าง
ยังได้เรียนรู้อุปนิสัยของคนที่ศึกษาธรรมะ เรียนรู้กิเลส แล้วก็คิดว่าเราอย่าเป็นอย่างเขาเหล่านั้นเลย

มานะ เป็นสิ่งอันตราย
s007


มานะ เป็นสังโยชน์ขั้นละเอียด พระอรหันต์โน่นจึงละได้ ต้องปฏิบัติตามหลักไตรสิกขาอย่างถูกต้องด้วย จึงละมานะได้ มิใช่ละนั่นละนี่ตามอำเภอใจ :b1: ถ้าแบบนี้เดี๋ยวพระอรหันต์เกลื่อนเมือง :b32: หรือคุณปฤษฎีเป็นอรหันต์

แบบที่ ๑ ทักขิไณยบุคคล ๘ หรืออริยบุคคล ๘

เกณฑ์แบ่งแบบนี้ จัดตามกิเลส คือ สังโยชน์ที่ละได้ในแต่ละขั้น พร้อมไปกับความความก้าวหน้าในการบำเพ็ญไตรสิกขา คือ ศีล สมาธิ และปัญญา ดังนั้นจึงควรรู้จักสังโยชน์ไว้ก่อน

สังโยชน์ แปลตามศัพท์ว่า เครื่องผูก หมายถึงกิเลสที่ผูกใจสัตว์ หรืออกุศลธรรมที่ผูกมัดสัตว์ไว้กับทุกข์ในสังสารวัฏฏ์ เหมือนผูกเทียมสัตว์ไว้กับรถ มี ๑๐ อย่าง * คือ

ก. โอรัมภาคิยสังโยชน์ (สังโยชน์เบื้องต่ำ หรือขั้นหยาบ) ๕ อย่าง คือ

๑ . สักกายทิฏฐิ ความเห็นว่าเป็นตัวของตน ความเห็นที่ยังติดแน่นในสมมติว่าเป็นตัวตน เราเขา เป็นนั่นเป็นนี่ มองไม่เห็นสภาพความจริง ที่สัตว์บุคคลเป็นเพียงองค์ประกอบต่างๆ มาประชุมกันเข้า ทำให้มีความเห็นแก่ตัวในขั้นหยาบ และความรู้สึกกระทบกระทั่งบีบคั้นเป็นทุกข์ได้รุนแรง *

๒. วิจิกิจฉา ความลังเล สงสัย เคลือบแคลงต่างๆ เช่น สงสัยในพระศาสดา ในพระธรรม ในพระสงฆ์ ในสิกขา ในเรื่องที่มาที่ไปของชีวิต ในปฏิจจสมุปบาท เป็นต้น ทำให้ไม่มั่นใจ ไม่เข้มแข็งแกล้วกล้าที่จะดำเนินชีวิตตามหลักธรรม ด้วยความมีเหตุมีผล และในการที่จะเดินหน้าแน่วดิ่งไปในอริยมรรคา

๓. สีลัพพตปรามาส ความถือมั่นศีลพรต คือความยึดถือผิดพลาดไปว่า จะบริสุทธิ์ จะหลุดพ้นได้เพียงด้วยศีลและพรต ได้แก่ การถือศีล ระเบียบ แบบแผน บทบัญญัติ และข้อปฏิบัติต่างๆ โดยสักว่าทำตามๆกันไปอย่างงมงาย เห็นเป็นขลังหรือศักดิ์สิทธิ์ ติดอยู่แต่รูปแบบหรือพิธีรีตอง ก็ดี
ถือด้วยตัณหาและทิฏฐิ คือ ปฏิบัติเพราะอยากได้ผลประโยชน์ตอบแทนอย่างใดอย่างหนึ่ง หรือเพราะเห็นว่าจะทำให้ได้เป็นนั่นเป็นนี่ ก็ดี
ไม่เป็นไปตามความหมาย และความมุ่งหมายที่แท้จริงของศีลและพรต ทำให้เขวออกนอกลู่นอกทาง หรือเลยเถิดไป เป็นอย่างศีลและพรตของนักบำเพ็ญตบะ เป็นต้น ไม่เข้าสู่อริยมรรค

๔. กามราคะ ความติดใคร่ในกาม ความอยากได้ใฝ่หาในเรื่องรูป เสียง กลิ่น รส และโผฏฐัพพะ ที่ชอบใจ

๕. ปฏิฆะ ความกระทบกระทั่งในใจ ความหงุดหงิดขัดเคือง หรืองุ่นง่านใจ

ข. อุทธัมภาคิยสังโยชน์ (สังโยชน์เบื้องสูง หรือขั้นละเอียด) ๕ อย่าง คือ

๖. รูปราคะ ความติดใจในรูปธรรมอันประณีต เช่น ติดใจในอารมณ์แห่งรูปฌาน พอใจในรสความสุข ความสงบของสมาธิขั้นรูปฌาน ติดใจปรารถนาในรูปภพ เป็นต้น

๗. อรูปราคะ ความติดใจในอรูปธรรม เช่น ติดใจในอารมณ์แห่งอรูปฌาน ติดใจปรารถนาในอรูปภพ เป็นต้น

๘. มานะ ความถือตัว ความสำคัญตนเป็นนั่นเป็นนี่ เช่นว่า สูงกว่าเขา เท่าเทียบเขา ต่ำกว่าเขา เป็นต้น

๙. อุทธัจจะ ความฟุ้งซ่าน จิตใจไม่สงบ ว้าวุ่น ซัดส่าย คิดพล่านไป

๑๐. อวิชชา ความไม่รู้จริง ไม่รู้เท่าทันสภาวะ ไม่เข้าใจกฎธรรมดาแห่งเหตุและผล หรือไม่รู้อริยสัจ

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 11 มี.ค. 2019, 09:03 
 
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 6
สมาชิก ระดับ 6
ลงทะเบียนเมื่อ: 17 ส.ค. 2018, 07:07
โพสต์: 482

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


ผมเห็นคุณกรัชกายหยิบยกประสบการณ์ผู้ปฏิบัติขึ้นมาแสดงและตั้งคำถาม ผมไม่รู้ว่าถ้าตอบแล้วจะถึงผู้ปฏิบัติท่านนั้น ๆ มั้ยหรือเป็นเพียงการยืนยันว่าตนปฏิบัติจริง พิจารณาดังนั้นจึงไม่ตอบ ตอบแล้วกลัวว่าจะเป็นการยกยอว่าตนปฏิบัติถูก คนอื่นปฏิบัติผิด


[*] ผมกล่าวว่าอ่านถึงตอนที่พระพุทธเจ้าให้พระเถระพิจารณาผ้าขาว อ่านอ่านจบเพียงเท่านั้นก็ตระหนักขึ้น
มาเองว่า ผ้าขาวนั้นไม่มีทางขาวสะอาดอย่างเดิมตลอดไป มีความแปรเปลี่ยนเป็นธรรมดาตระหนักอย่างนั้นก็ระลึกถึงพระพุทธเจ้าขึ้นมาว่าแค่นี้เองที่พระองค์สอน(สอนให้เบื่อหน่ายคลายกำหนัด ) เกิดปิติจนก้มหน้า
น้ำตาไหลขนลุกท้ายทอยผ่าว ๆ จิตใจก็มาตั้งมั่นอยู่กับกายใจของตัวเองมีสติเด่นชัดขึ้นมา
>>> พุทธานุสติ ธัมมานุสติ เมื่อระลึกถึงพระพุทธเจ้าและพระธรรมคำสอนก็เกิดปิติ .. เมื่อปิติใจก็เป็นสุข เมื่อใจเป็นสุขจิตก็ตั้งมั่น ก็อาศัยจิตที่ตั้งมั่นนั้นมีสติพิจารณากายใจ ผมเล่าประสบการณ์อย่างนี้คุณกรัชกาย
กับมองข้ามสาระไป ว่าผมแค่อ่านธรรมะแล้วน้ำหูน้ำตาไหลต่ยังไม่ถึงระดับเข้าสู่สงครามวัดใจวัดสติ <<<


[*] จิตบอกให้หยุดหายใจ
ช่วงหลังๆจิตเริ่มสงบ ไม่ไหลออกไปตามอารมณ์ข้างนอก แต่เริ่มเห็นจิต เฉยๆบ้าง สุขบ้าง บางครั้งรู้สึกหดหู่เป็นทุกข์เบื่อโลกมากๆเลยค่ะ มันเป็นของมันเองควบคุมอารมณ์นี้ไม่ได้ ได้แต่ตามดูเฉยๆรู้สึกว่ามันไม่ใช่ของเราเหมือนเราไม่มีตัวตนเลยค่ะ บางครั้งก็นอนดูจิตไปเรื่อยๆแล้วเหมือนว่าตัวเองจะเคลิ้มๆไป แต่ยังมีสติรู้สึกตัวค่ะ อยู่ดีๆจิตก็พูดว่าลองหยุดหายใจตายดูหน่อยสิแล้วหนูก็หยุดหายใจตามไปด้วยคะ
>>> พูดตามตรงอันนี้คือวิปัสสนูกิเลส เพราะมนสิการด้วยอุบายไม่แยบคาย หากลองพิจารณาดูจะเห็น มิจฉาทิฏฐิ มิจฉาสังกัปปะ มิจฉาวาจา มิจฉากัมมันตะ แนะนำว่าอย่างนี้ควรอ่านควรฟังคำสอนของพระพุทธเจ้า ครุ็บาร์อาจารย์ แล้วทำในใจโดยแยบคายก่อน <<<


[*] ตอนดิฉันเดินจงกรม ช่วงนาทีที่เห็นเป็นกายมันเดินเอง ร้องให้เลย ตอนนั้นรู้สึกว่า แม้ร่างกายมันยังไม่ใช่ของเราจะมีอะไรเป็นของเราบ้างหนอ อย่างนี้คุณกรัชกายบอกว่าลึกซึ้ง (ข้้นนี้เปรียบเหมือนคนเดินทางบุกป่าฝ่าดงฟันฝ่าอุปสรรคขวากหนาม ไปๆๆจนถึงจุดนั้นได้)
>>> อันนี้กายคตาสติ เห็นความเป็นจริงของกายเกิดปิติร้องให้ซึ่งเป็นอารมณ์เดียวกันกับผม ที่เห็นสังขารทั้งหลายแปลเปลี่ยนไปเป็นธรรม ผู้เล่า ๆ เพียงเท่านี้ ... จากประสบการณ์ของผมเมื่อเกิดปิติ สุข จิตตั้งมั่นแล้วเจริญสติปัฏฐาน ๔ ต่อจากนี้จะเริ่มกำหนดรู้ทุกข์แล้ว เริ่มพิจารณาเห็นโทษแล้ว เริ่มพิจารณาหาทางพ้นไป แต่ไม่รู้ผู้ปฏิบัติท่านนี้ดำเนินจิตต่อไปอย่างไร <<<


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 11 มี.ค. 2019, 13:25 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


Love J. เขียน:
ผมเห็นคุณกรัชกายหยิบยกประสบการณ์ผู้ปฏิบัติขึ้นมาแสดงและตั้งคำถาม ผมไม่รู้ว่าถ้าตอบแล้วจะถึงผู้ปฏิบัติท่านนั้น ๆ มั้ยหรือเป็นเพียงการยืนยันว่าตนปฏิบัติจริง พิจารณาดังนั้นจึงไม่ตอบ ตอบแล้วกลัวว่าจะเป็นการยกยอว่าตนปฏิบัติถูก คนอื่นปฏิบัติผิด


[*] ผมกล่าวว่าอ่านถึงตอนที่พระพุทธเจ้าให้พระเถระพิจารณาผ้าขาว อ่านอ่านจบเพียงเท่านั้นก็ตระหนักขึ้น
มาเองว่า ผ้าขาวนั้นไม่มีทางขาวสะอาดอย่างเดิมตลอดไป มีความแปรเปลี่ยนเป็นธรรมดาตระหนักอย่างนั้นก็ระลึกถึงพระพุทธเจ้าขึ้นมาว่าแค่นี้เองที่พระองค์สอน(สอนให้เบื่อหน่ายคลายกำหนัด ) เกิดปิติจนก้มหน้า
น้ำตาไหลขนลุกท้ายทอยผ่าว ๆ จิตใจก็มาตั้งมั่นอยู่กับกายใจของตัวเองมีสติเด่นชัดขึ้นมา
>>> พุทธานุสติ ธัมมานุสติ เมื่อระลึกถึงพระพุทธเจ้าและพระธรรมคำสอนก็เกิดปิติ .. เมื่อปิติใจก็เป็นสุข เมื่อใจเป็นสุขจิตก็ตั้งมั่น ก็อาศัยจิตที่ตั้งมั่นนั้นมีสติพิจารณากายใจ ผมเล่าประสบการณ์อย่างนี้คุณกรัชกาย
กับมองข้ามสาระไป ว่าผมแค่อ่านธรรมะแล้วน้ำหูน้ำตาไหลต่ยังไม่ถึงระดับเข้าสู่สงครามวัดใจวัดสติ <<<


[*] จิตบอกให้หยุดหายใจ
ช่วงหลังๆจิตเริ่มสงบ ไม่ไหลออกไปตามอารมณ์ข้างนอก แต่เริ่มเห็นจิต เฉยๆบ้าง สุขบ้าง บางครั้งรู้สึกหดหู่เป็นทุกข์เบื่อโลกมากๆเลยค่ะ มันเป็นของมันเองควบคุมอารมณ์นี้ไม่ได้ ได้แต่ตามดูเฉยๆรู้สึกว่ามันไม่ใช่ของเราเหมือนเราไม่มีตัวตนเลยค่ะ บางครั้งก็นอนดูจิตไปเรื่อยๆแล้วเหมือนว่าตัวเองจะเคลิ้มๆไป แต่ยังมีสติรู้สึกตัวค่ะ อยู่ดีๆจิตก็พูดว่าลองหยุดหายใจตายดูหน่อยสิแล้วหนูก็หยุดหายใจตามไปด้วยคะ
>>> พูดตามตรงอันนี้คือวิปัสสนูกิเลส เพราะมนสิการด้วยอุบายไม่แยบคาย หากลองพิจารณาดูจะเห็น มิจฉาทิฏฐิ มิจฉาสังกัปปะ มิจฉาวาจา มิจฉากัมมันตะ แนะนำว่าอย่างนี้ควรอ่านควรฟังคำสอนของพระพุทธเจ้า ครุ็บาร์อาจารย์ แล้วทำในใจโดยแยบคายก่อน <<<


[*] ตอนดิฉันเดินจงกรม ช่วงนาทีที่เห็นเป็นกายมันเดินเอง ร้องให้เลย ตอนนั้นรู้สึกว่า แม้ร่างกายมันยังไม่ใช่ของเราจะมีอะไรเป็นของเราบ้างหนอ อย่างนี้คุณกรัชกายบอกว่าลึกซึ้ง (ข้้นนี้เปรียบเหมือนคนเดินทางบุกป่าฝ่าดงฟันฝ่าอุปสรรคขวากหนาม ไปๆๆจนถึงจุดนั้นได้)
>>> อันนี้กายคตาสติ เห็นความเป็นจริงของกายเกิดปิติร้องให้ซึ่งเป็นอารมณ์เดียวกันกับผม ที่เห็นสังขารทั้งหลายแปลเปลี่ยนไปเป็นธรรม ผู้เล่า ๆ เพียงเท่านี้ ... จากประสบการณ์ของผมเมื่อเกิดปิติ สุข จิตตั้งมั่นแล้วเจริญสติปัฏฐาน ๔ ต่อจากนี้จะเริ่มกำหนดรู้ทุกข์แล้ว เริ่มพิจารณาเห็นโทษแล้ว เริ่มพิจารณาหาทางพ้นไป แต่ไม่รู้ผู้ปฏิบัติท่านนี้ดำเนินจิตต่อไปอย่างไร <<<


แบบนี้แหละจะทำให้ผู้ปฏิบัติบ้า :b32:

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 11 มี.ค. 2019, 14:45 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 25 ก.พ. 2011, 19:56
โพสต์: 1798


 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
ปฤษฎี เขียน:
ตามอ่านไปๆ นอกจากจะได้เรียนรู้ถ้อยคำที่เป็นธรรมะ และ อธรรมะ มีประโยชน์บ้าง และไม่มีประโยชน์บ้าง
ยังได้เรียนรู้อุปนิสัยของคนที่ศึกษาธรรมะ เรียนรู้กิเลส แล้วก็คิดว่าเราอย่าเป็นอย่างเขาเหล่านั้นเลย

มานะเป็นสิ่งอันตราย
s007


นึกถึงกระทู้ก่อนหน้าโน่น :b13:

อ้างคำพูด:
อ้างคำพูด:
กรัชกาย เขียน:
อ้างคำพูด:
ฟังพระธรรม เพื่อให้เข้าใจ ว่าทุกอย่างเป็นธรรมะ ไม่ใช่ตัวตน

เห็นการสอนของสำนักนี้แล้ว น่าเป็นห่วงพระพุทธศาสนา "ทุกอย่างเป็นธรรมะ ไม่ใช่ตัวตน" คิกๆๆ เละเทะเลอะเทอะสะไม่มี

ปฤษฎี
ตั้งสิ จะไปสนทนาด้วย น่าสนุกดีนะ

viewtopic.php?f=1&t=56225


เราก็รอสนทนากันอยู่


คุณกรัชกายไปสนทนาใน Dhammahome ดีมั้ย รับรองมีคนมาตอบเยอะแยะเลย


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 11 มี.ค. 2019, 14:58 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 25 ก.พ. 2011, 19:56
โพสต์: 1798


 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
ปฤษฎี เขียน:
ตามอ่านไปๆ นอกจากจะได้เรียนรู้ถ้อยคำที่เป็นธรรมะ และ อธรรมะ มีประโยชน์บ้าง และไม่มีประโยชน์บ้าง
ยังได้เรียนรู้อุปนิสัยของคนที่ศึกษาธรรมะ เรียนรู้กิเลส แล้วก็คิดว่าเราอย่าเป็นอย่างเขาเหล่านั้นเลย

มานะ เป็นสิ่งอันตราย
s007


มานะ เป็นสังโยชน์ขั้นละเอียด พระอรหันต์โน่นจึงละได้ ต้องปฏิบัติตามหลักไตรสิกขาอย่างถูกต้องด้วย จึงละมานะได้ มิใช่ละนั่นละนี่ตามอำเภอใจ :b1: ถ้าแบบนี้เดี๋ยวพระอรหันต์เกลื่อนเมือง :b32: หรือคุณปฤษฎีเป็นอรหันต์

แบบที่ ๑ ทักขิไณยบุคคล ๘ หรืออริยบุคคล ๘

เกณฑ์แบ่งแบบนี้ จัดตามกิเลส คือ สังโยชน์ที่ละได้ในแต่ละขั้น พร้อมไปกับความความก้าวหน้าในการบำเพ็ญไตรสิกขา คือ ศีล สมาธิ และปัญญา ดังนั้นจึงควรรู้จักสังโยชน์ไว้ก่อน

สังโยชน์ แปลตามศัพท์ว่า เครื่องผูก หมายถึงกิเลสที่ผูกใจสัตว์ หรืออกุศลธรรมที่ผูกมัดสัตว์ไว้กับทุกข์ในสังสารวัฏฏ์ เหมือนผูกเทียมสัตว์ไว้กับรถ มี ๑๐ อย่าง * คือ

ก. โอรัมภาคิยสังโยชน์ (สังโยชน์เบื้องต่ำ หรือขั้นหยาบ) ๕ อย่าง คือ

๑ . สักกายทิฏฐิ ความเห็นว่าเป็นตัวของตน ความเห็นที่ยังติดแน่นในสมมติว่าเป็นตัวตน เราเขา เป็นนั่นเป็นนี่ มองไม่เห็นสภาพความจริง ที่สัตว์บุคคลเป็นเพียงองค์ประกอบต่างๆ มาประชุมกันเข้า ทำให้มีความเห็นแก่ตัวในขั้นหยาบ และความรู้สึกกระทบกระทั่งบีบคั้นเป็นทุกข์ได้รุนแรง *

๒. วิจิกิจฉา ความลังเล สงสัย เคลือบแคลงต่างๆ เช่น สงสัยในพระศาสดา ในพระธรรม ในพระสงฆ์ ในสิกขา ในเรื่องที่มาที่ไปของชีวิต ในปฏิจจสมุปบาท เป็นต้น ทำให้ไม่มั่นใจ ไม่เข้มแข็งแกล้วกล้าที่จะดำเนินชีวิตตามหลักธรรม ด้วยความมีเหตุมีผล และในการที่จะเดินหน้าแน่วดิ่งไปในอริยมรรคา

๓. สีลัพพตปรามาส ความถือมั่นศีลพรต คือความยึดถือผิดพลาดไปว่า จะบริสุทธิ์ จะหลุดพ้นได้เพียงด้วยศีลและพรต ได้แก่ การถือศีล ระเบียบ แบบแผน บทบัญญัติ และข้อปฏิบัติต่างๆ โดยสักว่าทำตามๆกันไปอย่างงมงาย เห็นเป็นขลังหรือศักดิ์สิทธิ์ ติดอยู่แต่รูปแบบหรือพิธีรีตอง ก็ดี
ถือด้วยตัณหาและทิฏฐิ คือ ปฏิบัติเพราะอยากได้ผลประโยชน์ตอบแทนอย่างใดอย่างหนึ่ง หรือเพราะเห็นว่าจะทำให้ได้เป็นนั่นเป็นนี่ ก็ดี
ไม่เป็นไปตามความหมาย และความมุ่งหมายที่แท้จริงของศีลและพรต ทำให้เขวออกนอกลู่นอกทาง หรือเลยเถิดไป เป็นอย่างศีลและพรตของนักบำเพ็ญตบะ เป็นต้น ไม่เข้าสู่อริยมรรค

๔. กามราคะ ความติดใคร่ในกาม ความอยากได้ใฝ่หาในเรื่องรูป เสียง กลิ่น รส และโผฏฐัพพะ ที่ชอบใจ

๕. ปฏิฆะ ความกระทบกระทั่งในใจ ความหงุดหงิดขัดเคือง หรืองุ่นง่านใจ

ข. อุทธัมภาคิยสังโยชน์ (สังโยชน์เบื้องสูง หรือขั้นละเอียด) ๕ อย่าง คือ

๖. รูปราคะ ความติดใจในรูปธรรมอันประณีต เช่น ติดใจในอารมณ์แห่งรูปฌาน พอใจในรสความสุข ความสงบของสมาธิขั้นรูปฌาน ติดใจปรารถนาในรูปภพ เป็นต้น

๗. อรูปราคะ ความติดใจในอรูปธรรม เช่น ติดใจในอารมณ์แห่งอรูปฌาน ติดใจปรารถนาในอรูปภพ เป็นต้น

๘. มานะ ความถือตัว ความสำคัญตนเป็นนั่นเป็นนี่ เช่นว่า สูงกว่าเขา เท่าเทียบเขา ต่ำกว่าเขา เป็นต้น

๙. อุทธัจจะ ความฟุ้งซ่าน จิตใจไม่สงบ ว้าวุ่น ซัดส่าย คิดพล่านไป

๑๐. อวิชชา ความไม่รู้จริง ไม่รู้เท่าทันสภาวะ ไม่เข้าใจกฎธรรมดาแห่งเหตุและผล หรือไม่รู้อริยสัจ


ละไม่ได้ ก็ควรรู้ว่ามี แล้วก็ไม่ต้องเอามาอวด เอามาข่มมาบลัฟกัน มาดูถูกกันจริงไหม
แล้วแต่นะ เรื่อง ข่มกันด้วยธรรมะ นี่มีมาตั้งแต่สมัยพุทธกาลแล้ว คือมันไม่มีประโยชน์


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 11 มี.ค. 2019, 15:02 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


ปฤษฎี เขียน:
กรัชกาย เขียน:
ปฤษฎี เขียน:
ตามอ่านไปๆ นอกจากจะได้เรียนรู้ถ้อยคำที่เป็นธรรมะ และ อธรรมะ มีประโยชน์บ้าง และไม่มีประโยชน์บ้าง
ยังได้เรียนรู้อุปนิสัยของคนที่ศึกษาธรรมะ เรียนรู้กิเลส แล้วก็คิดว่าเราอย่าเป็นอย่างเขาเหล่านั้นเลย

มานะ เป็นสิ่งอันตราย
s007


มานะ เป็นสังโยชน์ขั้นละเอียด พระอรหันต์โน่นจึงละได้ ต้องปฏิบัติตามหลักไตรสิกขาอย่างถูกต้องด้วย จึงละมานะได้ มิใช่ละนั่นละนี่ตามอำเภอใจ :b1: ถ้าแบบนี้เดี๋ยวพระอรหันต์เกลื่อนเมือง :b32: หรือคุณปฤษฎีเป็นอรหันต์

แบบที่ ๑ ทักขิไณยบุคคล ๘ หรืออริยบุคคล ๘

เกณฑ์แบ่งแบบนี้ จัดตามกิเลส คือ สังโยชน์ที่ละได้ในแต่ละขั้น พร้อมไปกับความความก้าวหน้าในการบำเพ็ญไตรสิกขา คือ ศีล สมาธิ และปัญญา ดังนั้นจึงควรรู้จักสังโยชน์ไว้ก่อน

สังโยชน์ แปลตามศัพท์ว่า เครื่องผูก หมายถึงกิเลสที่ผูกใจสัตว์ หรืออกุศลธรรมที่ผูกมัดสัตว์ไว้กับทุกข์ในสังสารวัฏฏ์ เหมือนผูกเทียมสัตว์ไว้กับรถ มี ๑๐ อย่าง * คือ

ก. โอรัมภาคิยสังโยชน์ (สังโยชน์เบื้องต่ำ หรือขั้นหยาบ) ๕ อย่าง คือ

๑ . สักกายทิฏฐิ ความเห็นว่าเป็นตัวของตน ความเห็นที่ยังติดแน่นในสมมติว่าเป็นตัวตน เราเขา เป็นนั่นเป็นนี่ มองไม่เห็นสภาพความจริง ที่สัตว์บุคคลเป็นเพียงองค์ประกอบต่างๆ มาประชุมกันเข้า ทำให้มีความเห็นแก่ตัวในขั้นหยาบ และความรู้สึกกระทบกระทั่งบีบคั้นเป็นทุกข์ได้รุนแรง *

๒. วิจิกิจฉา ความลังเล สงสัย เคลือบแคลงต่างๆ เช่น สงสัยในพระศาสดา ในพระธรรม ในพระสงฆ์ ในสิกขา ในเรื่องที่มาที่ไปของชีวิต ในปฏิจจสมุปบาท เป็นต้น ทำให้ไม่มั่นใจ ไม่เข้มแข็งแกล้วกล้าที่จะดำเนินชีวิตตามหลักธรรม ด้วยความมีเหตุมีผล และในการที่จะเดินหน้าแน่วดิ่งไปในอริยมรรคา

๓. สีลัพพตปรามาส ความถือมั่นศีลพรต คือความยึดถือผิดพลาดไปว่า จะบริสุทธิ์ จะหลุดพ้นได้เพียงด้วยศีลและพรต ได้แก่ การถือศีล ระเบียบ แบบแผน บทบัญญัติ และข้อปฏิบัติต่างๆ โดยสักว่าทำตามๆกันไปอย่างงมงาย เห็นเป็นขลังหรือศักดิ์สิทธิ์ ติดอยู่แต่รูปแบบหรือพิธีรีตอง ก็ดี
ถือด้วยตัณหาและทิฏฐิ คือ ปฏิบัติเพราะอยากได้ผลประโยชน์ตอบแทนอย่างใดอย่างหนึ่ง หรือเพราะเห็นว่าจะทำให้ได้เป็นนั่นเป็นนี่ ก็ดี
ไม่เป็นไปตามความหมาย และความมุ่งหมายที่แท้จริงของศีลและพรต ทำให้เขวออกนอกลู่นอกทาง หรือเลยเถิดไป เป็นอย่างศีลและพรตของนักบำเพ็ญตบะ เป็นต้น ไม่เข้าสู่อริยมรรค

๔. กามราคะ ความติดใคร่ในกาม ความอยากได้ใฝ่หาในเรื่องรูป เสียง กลิ่น รส และโผฏฐัพพะ ที่ชอบใจ

๕. ปฏิฆะ ความกระทบกระทั่งในใจ ความหงุดหงิดขัดเคือง หรืองุ่นง่านใจ

ข. อุทธัมภาคิยสังโยชน์ (สังโยชน์เบื้องสูง หรือขั้นละเอียด) ๕ อย่าง คือ

๖. รูปราคะ ความติดใจในรูปธรรมอันประณีต เช่น ติดใจในอารมณ์แห่งรูปฌาน พอใจในรสความสุข ความสงบของสมาธิขั้นรูปฌาน ติดใจปรารถนาในรูปภพ เป็นต้น

๗. อรูปราคะ ความติดใจในอรูปธรรม เช่น ติดใจในอารมณ์แห่งอรูปฌาน ติดใจปรารถนาในอรูปภพ เป็นต้น

๘. มานะ ความถือตัว ความสำคัญตนเป็นนั่นเป็นนี่ เช่นว่า สูงกว่าเขา เท่าเทียบเขา ต่ำกว่าเขา เป็นต้น

๙. อุทธัจจะ ความฟุ้งซ่าน จิตใจไม่สงบ ว้าวุ่น ซัดส่าย คิดพล่านไป

๑๐. อวิชชา ความไม่รู้จริง ไม่รู้เท่าทันสภาวะ ไม่เข้าใจกฎธรรมดาแห่งเหตุและผล หรือไม่รู้อริยสัจ


ละไม่ได้ ก็ควรรู้ว่ามี แล้วก็ไม่ต้องเอามาอวด เอามาข่มมาบลัฟกัน มาดูถูกกันจริงไหม
แล้วแต่นะ เรื่อง ข่มกันด้วยธรรมะ นี่มีมาตั้งแต่สมัยพุทธกาลแล้ว คือมันไม่มีประโยชน์


ข่มตรงไหน ยกมาสิ คิกๆๆ

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 11 มี.ค. 2019, 15:04 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


ปฤษฎี เขียน:
กรัชกาย เขียน:
ปฤษฎี เขียน:
ตามอ่านไปๆ นอกจากจะได้เรียนรู้ถ้อยคำที่เป็นธรรมะ และ อธรรมะ มีประโยชน์บ้าง และไม่มีประโยชน์บ้าง
ยังได้เรียนรู้อุปนิสัยของคนที่ศึกษาธรรมะ เรียนรู้กิเลส แล้วก็คิดว่าเราอย่าเป็นอย่างเขาเหล่านั้นเลย

มานะเป็นสิ่งอันตราย
s007


นึกถึงกระทู้ก่อนหน้าโน่น :b13:

อ้างคำพูด:
อ้างคำพูด:
กรัชกาย เขียน:
อ้างคำพูด:
ฟังพระธรรม เพื่อให้เข้าใจ ว่าทุกอย่างเป็นธรรมะ ไม่ใช่ตัวตน

เห็นการสอนของสำนักนี้แล้ว น่าเป็นห่วงพระพุทธศาสนา "ทุกอย่างเป็นธรรมะ ไม่ใช่ตัวตน" คิกๆๆ เละเทะเลอะเทอะสะไม่มี

ปฤษฎี
ตั้งสิ จะไปสนทนาด้วย น่าสนุกดีนะ

viewtopic.php?f=1&t=56225


เราก็รอสนทนากันอยู่


คุณกรัชกายไปสนทนาใน Dhammahome ดีมั้ย รับรองมีคนมาตอบเยอะแยะเลย


เป็นเวปบอร์ดหรอขอรับ ขอลิงค์หน่อยสิ

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 11 มี.ค. 2019, 15:08 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


ปฤษฎี เขียน:
กรัชกาย เขียน:
ปฤษฎี เขียน:
ตามอ่านไปๆ นอกจากจะได้เรียนรู้ถ้อยคำที่เป็นธรรมะ และ อธรรมะ มีประโยชน์บ้าง และไม่มีประโยชน์บ้าง
ยังได้เรียนรู้อุปนิสัยของคนที่ศึกษาธรรมะ เรียนรู้กิเลส แล้วก็คิดว่าเราอย่าเป็นอย่างเขาเหล่านั้นเลย

มานะ เป็นสิ่งอันตราย
s007


มานะ เป็นสังโยชน์ขั้นละเอียด พระอรหันต์โน่นจึงละได้ ต้องปฏิบัติตามหลักไตรสิกขาอย่างถูกต้องด้วย จึงละมานะได้ มิใช่ละนั่นละนี่ตามอำเภอใจ :b1: ถ้าแบบนี้เดี๋ยวพระอรหันต์เกลื่อนเมือง :b32: หรือคุณปฤษฎีเป็นอรหันต์

แบบที่ ๑ ทักขิไณยบุคคล ๘ หรืออริยบุคคล ๘

เกณฑ์แบ่งแบบนี้ จัดตามกิเลส คือ สังโยชน์ที่ละได้ในแต่ละขั้น พร้อมไปกับความความก้าวหน้าในการบำเพ็ญไตรสิกขา คือ ศีล สมาธิ และปัญญา ดังนั้นจึงควรรู้จักสังโยชน์ไว้ก่อน

สังโยชน์ แปลตามศัพท์ว่า เครื่องผูก หมายถึงกิเลสที่ผูกใจสัตว์ หรืออกุศลธรรมที่ผูกมัดสัตว์ไว้กับทุกข์ในสังสารวัฏฏ์ เหมือนผูกเทียมสัตว์ไว้กับรถ มี ๑๐ อย่าง * คือ

ก. โอรัมภาคิยสังโยชน์ (สังโยชน์เบื้องต่ำ หรือขั้นหยาบ) ๕ อย่าง คือ

๑ . สักกายทิฏฐิ ความเห็นว่าเป็นตัวของตน ความเห็นที่ยังติดแน่นในสมมติว่าเป็นตัวตน เราเขา เป็นนั่นเป็นนี่ มองไม่เห็นสภาพความจริง ที่สัตว์บุคคลเป็นเพียงองค์ประกอบต่างๆ มาประชุมกันเข้า ทำให้มีความเห็นแก่ตัวในขั้นหยาบ และความรู้สึกกระทบกระทั่งบีบคั้นเป็นทุกข์ได้รุนแรง *

๒. วิจิกิจฉา ความลังเล สงสัย เคลือบแคลงต่างๆ เช่น สงสัยในพระศาสดา ในพระธรรม ในพระสงฆ์ ในสิกขา ในเรื่องที่มาที่ไปของชีวิต ในปฏิจจสมุปบาท เป็นต้น ทำให้ไม่มั่นใจ ไม่เข้มแข็งแกล้วกล้าที่จะดำเนินชีวิตตามหลักธรรม ด้วยความมีเหตุมีผล และในการที่จะเดินหน้าแน่วดิ่งไปในอริยมรรคา

๓. สีลัพพตปรามาส ความถือมั่นศีลพรต คือความยึดถือผิดพลาดไปว่า จะบริสุทธิ์ จะหลุดพ้นได้เพียงด้วยศีลและพรต ได้แก่ การถือศีล ระเบียบ แบบแผน บทบัญญัติ และข้อปฏิบัติต่างๆ โดยสักว่าทำตามๆกันไปอย่างงมงาย เห็นเป็นขลังหรือศักดิ์สิทธิ์ ติดอยู่แต่รูปแบบหรือพิธีรีตอง ก็ดี
ถือด้วยตัณหาและทิฏฐิ คือ ปฏิบัติเพราะอยากได้ผลประโยชน์ตอบแทนอย่างใดอย่างหนึ่ง หรือเพราะเห็นว่าจะทำให้ได้เป็นนั่นเป็นนี่ ก็ดี
ไม่เป็นไปตามความหมาย และความมุ่งหมายที่แท้จริงของศีลและพรต ทำให้เขวออกนอกลู่นอกทาง หรือเลยเถิดไป เป็นอย่างศีลและพรตของนักบำเพ็ญตบะ เป็นต้น ไม่เข้าสู่อริยมรรค

๔. กามราคะ ความติดใคร่ในกาม ความอยากได้ใฝ่หาในเรื่องรูป เสียง กลิ่น รส และโผฏฐัพพะ ที่ชอบใจ

๕. ปฏิฆะ ความกระทบกระทั่งในใจ ความหงุดหงิดขัดเคือง หรืองุ่นง่านใจ

ข. อุทธัมภาคิยสังโยชน์ (สังโยชน์เบื้องสูง หรือขั้นละเอียด) ๕ อย่าง คือ

๖. รูปราคะ ความติดใจในรูปธรรมอันประณีต เช่น ติดใจในอารมณ์แห่งรูปฌาน พอใจในรสความสุข ความสงบของสมาธิขั้นรูปฌาน ติดใจปรารถนาในรูปภพ เป็นต้น

๗. อรูปราคะ ความติดใจในอรูปธรรม เช่น ติดใจในอารมณ์แห่งอรูปฌาน ติดใจปรารถนาในอรูปภพ เป็นต้น

๘. มานะ ความถือตัว ความสำคัญตนเป็นนั่นเป็นนี่ เช่นว่า สูงกว่าเขา เท่าเทียบเขา ต่ำกว่าเขา เป็นต้น

๙. อุทธัจจะ ความฟุ้งซ่าน จิตใจไม่สงบ ว้าวุ่น ซัดส่าย คิดพล่านไป

๑๐. อวิชชา ความไม่รู้จริง ไม่รู้เท่าทันสภาวะ ไม่เข้าใจกฎธรรมดาแห่งเหตุและผล หรือไม่รู้อริยสัจ


ละไม่ได้ ก็ควรรู้ว่ามี แล้วก็ไม่ต้องเอามาอวด เอามาข่มมาบลัฟกัน มาดูถูกกันจริงไหม
แล้วแต่นะ เรื่อง ข่มกันด้วยธรรมะ นี่มีมาตั้งแต่สมัยพุทธกาลแล้ว คือมันไม่มีประโยชน์


คุณตีโพยตีพายไปเองแท้ๆ ไม่ได้เอามาข่ม นำมาให้ดู เช่น (ตัดมา)

ประเด็นที่พบ

การนั่งครั้งหลังๆมานี้ เกิดสภาวะคล้ายๆเดิม ตลอดเกือบทุกครั้ง คือ มือหายไปจากความรู้สึก ไม่รู้สึกว่ามีมืออยู่ (รู้ว่ามี แต่รู้สึกว่าไม่มี ผมอธิบายไม่ถูก เชื่อว่าท่านผู้รู้คงเข้าใจผม) ก้น และต้นขาที่นั่งทับพื้นยังรู้สึกว่ามีอยู่ หลังที่นั่งพิงเก้าอี้ก็รู้สึกว่ายังมีอยู่ คือสรุปว่า มือหายทั้งสองข้าง อย่างอื่นที่เหลือยังรู้สึกถึงได้ อยู่ครบยังไม่หาย มีอาการตัวพองๆ ยุบๆ บ้าง แต่ก็ไม่บ่อย มีอาการหายเกือบทั้งตัวบ้างแต่น้อยมาก แต่ที่แน่ๆ คือ มือทั้งสองข้างหายทุกครั้ง, ทุกครั้งจริงๆครับ นั่งแป๊บเดียวก็หายแล้ว และหายไปจากความรู้สึกตลอดเวลาที่ยังนั่งอยู่

ลมหายใจ เริ่มแผ่วเบาลงเรื่อยๆ จนกระทั่งเหมือนลมหายไป เหมือนไม่ได้หายใจ ในครั้งแรกๆที่เจอสภาวะนี้ ผมตกใจทำอะไรไม่ถูก ตะลีตะลานรีบควานหาลม แล้วก็กลับมาหายใจแบบปกติ,
แต่ในครั้งหลังๆ ผมจะพยายามทนอยู่กับสภาวะนี้ ซึ่งผมจะอึดอัดมาก และในที่สุดผมก็ทนไม่ไหว จนต้องบังคับให้ตัวเองหายใจด้วยการสูดยาว จึงจะกลับมารู้สึกว่าผมหายใจแล้ว ผมจึงเริ่มรู้ลมใหม่ .. แล้วลมก็แผ่ว .. แล้วลมก็หาย .. แล้วผมก็ทน .. แล้วผมก็ทนไม่ไหว .. แล้วผมก็สูดลม .. แล้วผมก็รู้ลม .. แล้วลมก็แผ่ว .. ฯลฯ วนรอบอยู่อย่างนี้ ซ้ำรอบอยู่อย่างนี้

ข้อคำถาม

1. อาการมือหายคืออะไรครับ? ผมเข้าใจว่าไม่ต้องไปสนใจมัน ปล่อยมันใช่ไหมครับ?

2. สภาวะอาการเรื่องลมหายใจ เป็นปัญหาใช่ไหมครับ? ผมควรทำอย่างไรต่อไปครับ?

3. ผมเข้าใจว่าผมถนัดวิธีรู้ลมหายใจ แต่ผมไม่แน่ใจจริงๆว่า ที่ผมคิดว่าผมถนัดวิธีรู้ลมหายใจนั้น ผมเข้าใจถูกไหม? ผมยังควรใช้วิธีรู้ลมต่อไปไหม? หรือควรใช้วิธีอื่นดีกว่า? ผมควรศึกษาหาความรู้เพิ่มเติมจากเว็บไหน คลิปไหน กระทู้ไหน จึงจะเหมาะกับสภาวะอาการที่พบเจออยู่?

ขอความกรุณาทุกท่านช่วยแนะนำผมทีเถอะครับ ชี้ทางออกให้ผมด้วยนะครับ ขอขอบคุณมาล่วงหน้าครับ

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 11 มี.ค. 2019, 16:22 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 11 มี.ค. 2018, 02:56
โพสต์: 2166

โฮมเพจ: maybe
แนวปฏิบัติ: สติปัฎฐาน
งานอดิเรก: กีฬา
สิ่งที่ชื่นชอบ: แบรนด์เเนม
ชื่อเล่น: เม
อายุ: 22
ที่อยู่: Bangkok Thailand

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
ปฤษฎี เขียน:
กรัชกาย เขียน:
ปฤษฎี เขียน:
ตามอ่านไปๆ นอกจากจะได้เรียนรู้ถ้อยคำที่เป็นธรรมะ และ อธรรมะ มีประโยชน์บ้าง และไม่มีประโยชน์บ้าง
ยังได้เรียนรู้อุปนิสัยของคนที่ศึกษาธรรมะ เรียนรู้กิเลส แล้วก็คิดว่าเราอย่าเป็นอย่างเขาเหล่านั้นเลย

มานะ เป็นสิ่งอันตราย
s007


มานะ เป็นสังโยชน์ขั้นละเอียด พระอรหันต์โน่นจึงละได้ ต้องปฏิบัติตามหลักไตรสิกขาอย่างถูกต้องด้วย จึงละมานะได้ มิใช่ละนั่นละนี่ตามอำเภอใจ :b1: ถ้าแบบนี้เดี๋ยวพระอรหันต์เกลื่อนเมือง :b32: หรือคุณปฤษฎีเป็นอรหันต์

แบบที่ ๑ ทักขิไณยบุคคล ๘ หรืออริยบุคคล ๘

เกณฑ์แบ่งแบบนี้ จัดตามกิเลส คือ สังโยชน์ที่ละได้ในแต่ละขั้น พร้อมไปกับความความก้าวหน้าในการบำเพ็ญไตรสิกขา คือ ศีล สมาธิ และปัญญา ดังนั้นจึงควรรู้จักสังโยชน์ไว้ก่อน

สังโยชน์ แปลตามศัพท์ว่า เครื่องผูก หมายถึงกิเลสที่ผูกใจสัตว์ หรืออกุศลธรรมที่ผูกมัดสัตว์ไว้กับทุกข์ในสังสารวัฏฏ์ เหมือนผูกเทียมสัตว์ไว้กับรถ มี ๑๐ อย่าง * คือ

ก. โอรัมภาคิยสังโยชน์ (สังโยชน์เบื้องต่ำ หรือขั้นหยาบ) ๕ อย่าง คือ

๑ . สักกายทิฏฐิ ความเห็นว่าเป็นตัวของตน ความเห็นที่ยังติดแน่นในสมมติว่าเป็นตัวตน เราเขา เป็นนั่นเป็นนี่ มองไม่เห็นสภาพความจริง ที่สัตว์บุคคลเป็นเพียงองค์ประกอบต่างๆ มาประชุมกันเข้า ทำให้มีความเห็นแก่ตัวในขั้นหยาบ และความรู้สึกกระทบกระทั่งบีบคั้นเป็นทุกข์ได้รุนแรง *

๒. วิจิกิจฉา ความลังเล สงสัย เคลือบแคลงต่างๆ เช่น สงสัยในพระศาสดา ในพระธรรม ในพระสงฆ์ ในสิกขา ในเรื่องที่มาที่ไปของชีวิต ในปฏิจจสมุปบาท เป็นต้น ทำให้ไม่มั่นใจ ไม่เข้มแข็งแกล้วกล้าที่จะดำเนินชีวิตตามหลักธรรม ด้วยความมีเหตุมีผล และในการที่จะเดินหน้าแน่วดิ่งไปในอริยมรรคา

๓. สีลัพพตปรามาส ความถือมั่นศีลพรต คือความยึดถือผิดพลาดไปว่า จะบริสุทธิ์ จะหลุดพ้นได้เพียงด้วยศีลและพรต ได้แก่ การถือศีล ระเบียบ แบบแผน บทบัญญัติ และข้อปฏิบัติต่างๆ โดยสักว่าทำตามๆกันไปอย่างงมงาย เห็นเป็นขลังหรือศักดิ์สิทธิ์ ติดอยู่แต่รูปแบบหรือพิธีรีตอง ก็ดี
ถือด้วยตัณหาและทิฏฐิ คือ ปฏิบัติเพราะอยากได้ผลประโยชน์ตอบแทนอย่างใดอย่างหนึ่ง หรือเพราะเห็นว่าจะทำให้ได้เป็นนั่นเป็นนี่ ก็ดี
ไม่เป็นไปตามความหมาย และความมุ่งหมายที่แท้จริงของศีลและพรต ทำให้เขวออกนอกลู่นอกทาง หรือเลยเถิดไป เป็นอย่างศีลและพรตของนักบำเพ็ญตบะ เป็นต้น ไม่เข้าสู่อริยมรรค

๔. กามราคะ ความติดใคร่ในกาม ความอยากได้ใฝ่หาในเรื่องรูป เสียง กลิ่น รส และโผฏฐัพพะ ที่ชอบใจ

๕. ปฏิฆะ ความกระทบกระทั่งในใจ ความหงุดหงิดขัดเคือง หรืองุ่นง่านใจ

ข. อุทธัมภาคิยสังโยชน์ (สังโยชน์เบื้องสูง หรือขั้นละเอียด) ๕ อย่าง คือ

๖. รูปราคะ ความติดใจในรูปธรรมอันประณีต เช่น ติดใจในอารมณ์แห่งรูปฌาน พอใจในรสความสุข ความสงบของสมาธิขั้นรูปฌาน ติดใจปรารถนาในรูปภพ เป็นต้น

๗. อรูปราคะ ความติดใจในอรูปธรรม เช่น ติดใจในอารมณ์แห่งอรูปฌาน ติดใจปรารถนาในอรูปภพ เป็นต้น

๘. มานะ ความถือตัว ความสำคัญตนเป็นนั่นเป็นนี่ เช่นว่า สูงกว่าเขา เท่าเทียบเขา ต่ำกว่าเขา เป็นต้น

๙. อุทธัจจะ ความฟุ้งซ่าน จิตใจไม่สงบ ว้าวุ่น ซัดส่าย คิดพล่านไป

๑๐. อวิชชา ความไม่รู้จริง ไม่รู้เท่าทันสภาวะ ไม่เข้าใจกฎธรรมดาแห่งเหตุและผล หรือไม่รู้อริยสัจ


ละไม่ได้ ก็ควรรู้ว่ามี แล้วก็ไม่ต้องเอามาอวด เอามาข่มมาบลัฟกัน มาดูถูกกันจริงไหม
แล้วแต่นะ เรื่อง ข่มกันด้วยธรรมะ นี่มีมาตั้งแต่สมัยพุทธกาลแล้ว คือมันไม่มีประโยชน์


คุณตีโพยตีพายไปเองแท้ๆ ไม่ได้เอามาข่ม นำมาให้ดู เช่น (ตัดมา)

ประเด็นที่พบ

การนั่งครั้งหลังๆมานี้ เกิดสภาวะคล้ายๆเดิม ตลอดเกือบทุกครั้ง คือ มือหายไปจากความรู้สึก ไม่รู้สึกว่ามีมืออยู่ (รู้ว่ามี แต่รู้สึกว่าไม่มี ผมอธิบายไม่ถูก เชื่อว่าท่านผู้รู้คงเข้าใจผม) ก้น และต้นขาที่นั่งทับพื้นยังรู้สึกว่ามีอยู่ หลังที่นั่งพิงเก้าอี้ก็รู้สึกว่ายังมีอยู่ คือสรุปว่า มือหายทั้งสองข้าง อย่างอื่นที่เหลือยังรู้สึกถึงได้ อยู่ครบยังไม่หาย มีอาการตัวพองๆ ยุบๆ บ้าง แต่ก็ไม่บ่อย มีอาการหายเกือบทั้งตัวบ้างแต่น้อยมาก แต่ที่แน่ๆ คือ มือทั้งสองข้างหายทุกครั้ง, ทุกครั้งจริงๆครับ นั่งแป๊บเดียวก็หายแล้ว และหายไปจากความรู้สึกตลอดเวลาที่ยังนั่งอยู่

ลมหายใจ เริ่มแผ่วเบาลงเรื่อยๆ จนกระทั่งเหมือนลมหายไป เหมือนไม่ได้หายใจ ในครั้งแรกๆที่เจอสภาวะนี้ ผมตกใจทำอะไรไม่ถูก ตะลีตะลานรีบควานหาลม แล้วก็กลับมาหายใจแบบปกติ,
แต่ในครั้งหลังๆ ผมจะพยายามทนอยู่กับสภาวะนี้ ซึ่งผมจะอึดอัดมาก และในที่สุดผมก็ทนไม่ไหว จนต้องบังคับให้ตัวเองหายใจด้วยการสูดยาว จึงจะกลับมารู้สึกว่าผมหายใจแล้ว ผมจึงเริ่มรู้ลมใหม่ .. แล้วลมก็แผ่ว .. แล้วลมก็หาย .. แล้วผมก็ทน .. แล้วผมก็ทนไม่ไหว .. แล้วผมก็สูดลม .. แล้วผมก็รู้ลม .. แล้วลมก็แผ่ว .. ฯลฯ วนรอบอยู่อย่างนี้ ซ้ำรอบอยู่อย่างนี้

ข้อคำถาม

1. อาการมือหายคืออะไรครับ? ผมเข้าใจว่าไม่ต้องไปสนใจมัน ปล่อยมันใช่ไหมครับ?

2. สภาวะอาการเรื่องลมหายใจ เป็นปัญหาใช่ไหมครับ? ผมควรทำอย่างไรต่อไปครับ?

3. ผมเข้าใจว่าผมถนัดวิธีรู้ลมหายใจ แต่ผมไม่แน่ใจจริงๆว่า ที่ผมคิดว่าผมถนัดวิธีรู้ลมหายใจนั้น ผมเข้าใจถูกไหม? ผมยังควรใช้วิธีรู้ลมต่อไปไหม? หรือควรใช้วิธีอื่นดีกว่า? ผมควรศึกษาหาความรู้เพิ่มเติมจากเว็บไหน คลิปไหน กระทู้ไหน จึงจะเหมาะกับสภาวะอาการที่พบเจออยู่?

ขอความกรุณาทุกท่านช่วยแนะนำผมทีเถอะครับ ชี้ทางออกให้ผมด้วยนะครับ ขอขอบคุณมาล่วงหน้าครับ


s006 เอ่?

สงสัยต้องเปลี่ยนคำพูดแบบนี้
เอาลงแบบฟังได้ง่ายๆตามชุมชน หน่อยมั๊งค๊ะ

ว่าเฮ้ย เดินสุ่มสี่สุ่มห้า มั่วๆไป หาอะไร โน้น ตรงโน้นข้างหน้า มีขุมทรัพย์ ว๊อย
เพราะ ลายแทงขุมทรัพย์ อยู่ในผลเรียนปริยัติ อยู่ในผลเรียนพระอภิธรรม อยุ่ในผลเรียนพระไตรปิฎก
ผลจากลายแทง ทำให้ไปเจอขุมรัพย์มีค่ามหาศาล เกินกว่าสมบัติจักรพรรดิช้างแก้วม้าแก้ว
ชี้ขุมทรัพย์ให้ น๊าคร๊า
เดียวกลายเป็น เอาธรรมมาข่ม

ตอบประเด็นที่เจอนั้น ให้น๊าค๊ะ

ทนปฎิบัติธรรมหราค๊ะ

อยาก ไม่อยาก อาไรป่าว
อยากได้ อยากมี อยากเป็นเหมือนคนอื่น
ไม่อยากได้ ไม่อยากมี ไม่อยากเป็น เหมือนคนอื่น
อยากสุดๆ เหมือนตำรา ป่าว

รู้แค่นี้ปุ๊ป สติ ระลึกได้ สัมปชัญญะ ลงที่ตัว

ทำปุ๊ปตั้งความอยาก อีก
อยากได้ ไม่อยากหาย
อยากหาย ไม่อยากได้

เห็นตามจริง อะไรหายก็หาย อะไรพองก็พองไป อะไรได้ก็ได้ อะไรไม่ได้ก็ไม่ได้

สับสนวุ่นวายกะการกลัวโน่นหายนี่หาย

ในนิพพาน นามแระรูป ยังหายเกลี้ยงเรยค่ะ

grin


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 11 มี.ค. 2019, 20:47 
 
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 6
สมาชิก ระดับ 6
ลงทะเบียนเมื่อ: 17 ส.ค. 2018, 07:07
โพสต์: 482

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
ปฤษฎี เขียน:
กรัชกาย เขียน:
ปฤษฎี เขียน:
ตามอ่านไปๆ นอกจากจะได้เรียนรู้ถ้อยคำที่เป็นธรรมะ และ อธรรมะ มีประโยชน์บ้าง และไม่มีประโยชน์บ้าง
ยังได้เรียนรู้อุปนิสัยของคนที่ศึกษาธรรมะ เรียนรู้กิเลส แล้วก็คิดว่าเราอย่าเป็นอย่างเขาเหล่านั้นเลย

มานะ เป็นสิ่งอันตราย
s007


มานะ เป็นสังโยชน์ขั้นละเอียด พระอรหันต์โน่นจึงละได้ ต้องปฏิบัติตามหลักไตรสิกขาอย่างถูกต้องด้วย จึงละมานะได้ มิใช่ละนั่นละนี่ตามอำเภอใจ :b1: ถ้าแบบนี้เดี๋ยวพระอรหันต์เกลื่อนเมือง :b32: หรือคุณปฤษฎีเป็นอรหันต์

แบบที่ ๑ ทักขิไณยบุคคล ๘ หรืออริยบุคคล ๘

เกณฑ์แบ่งแบบนี้ จัดตามกิเลส คือ สังโยชน์ที่ละได้ในแต่ละขั้น พร้อมไปกับความความก้าวหน้าในการบำเพ็ญไตรสิกขา คือ ศีล สมาธิ และปัญญา ดังนั้นจึงควรรู้จักสังโยชน์ไว้ก่อน

สังโยชน์ แปลตามศัพท์ว่า เครื่องผูก หมายถึงกิเลสที่ผูกใจสัตว์ หรืออกุศลธรรมที่ผูกมัดสัตว์ไว้กับทุกข์ในสังสารวัฏฏ์ เหมือนผูกเทียมสัตว์ไว้กับรถ มี ๑๐ อย่าง * คือ

ก. โอรัมภาคิยสังโยชน์ (สังโยชน์เบื้องต่ำ หรือขั้นหยาบ) ๕ อย่าง คือ

๑ . สักกายทิฏฐิ ความเห็นว่าเป็นตัวของตน ความเห็นที่ยังติดแน่นในสมมติว่าเป็นตัวตน เราเขา เป็นนั่นเป็นนี่ มองไม่เห็นสภาพความจริง ที่สัตว์บุคคลเป็นเพียงองค์ประกอบต่างๆ มาประชุมกันเข้า ทำให้มีความเห็นแก่ตัวในขั้นหยาบ และความรู้สึกกระทบกระทั่งบีบคั้นเป็นทุกข์ได้รุนแรง *

๒. วิจิกิจฉา ความลังเล สงสัย เคลือบแคลงต่างๆ เช่น สงสัยในพระศาสดา ในพระธรรม ในพระสงฆ์ ในสิกขา ในเรื่องที่มาที่ไปของชีวิต ในปฏิจจสมุปบาท เป็นต้น ทำให้ไม่มั่นใจ ไม่เข้มแข็งแกล้วกล้าที่จะดำเนินชีวิตตามหลักธรรม ด้วยความมีเหตุมีผล และในการที่จะเดินหน้าแน่วดิ่งไปในอริยมรรคา

๓. สีลัพพตปรามาส ความถือมั่นศีลพรต คือความยึดถือผิดพลาดไปว่า จะบริสุทธิ์ จะหลุดพ้นได้เพียงด้วยศีลและพรต ได้แก่ การถือศีล ระเบียบ แบบแผน บทบัญญัติ และข้อปฏิบัติต่างๆ โดยสักว่าทำตามๆกันไปอย่างงมงาย เห็นเป็นขลังหรือศักดิ์สิทธิ์ ติดอยู่แต่รูปแบบหรือพิธีรีตอง ก็ดี
ถือด้วยตัณหาและทิฏฐิ คือ ปฏิบัติเพราะอยากได้ผลประโยชน์ตอบแทนอย่างใดอย่างหนึ่ง หรือเพราะเห็นว่าจะทำให้ได้เป็นนั่นเป็นนี่ ก็ดี
ไม่เป็นไปตามความหมาย และความมุ่งหมายที่แท้จริงของศีลและพรต ทำให้เขวออกนอกลู่นอกทาง หรือเลยเถิดไป เป็นอย่างศีลและพรตของนักบำเพ็ญตบะ เป็นต้น ไม่เข้าสู่อริยมรรค

๔. กามราคะ ความติดใคร่ในกาม ความอยากได้ใฝ่หาในเรื่องรูป เสียง กลิ่น รส และโผฏฐัพพะ ที่ชอบใจ

๕. ปฏิฆะ ความกระทบกระทั่งในใจ ความหงุดหงิดขัดเคือง หรืองุ่นง่านใจ

ข. อุทธัมภาคิยสังโยชน์ (สังโยชน์เบื้องสูง หรือขั้นละเอียด) ๕ อย่าง คือ

๖. รูปราคะ ความติดใจในรูปธรรมอันประณีต เช่น ติดใจในอารมณ์แห่งรูปฌาน พอใจในรสความสุข ความสงบของสมาธิขั้นรูปฌาน ติดใจปรารถนาในรูปภพ เป็นต้น

๗. อรูปราคะ ความติดใจในอรูปธรรม เช่น ติดใจในอารมณ์แห่งอรูปฌาน ติดใจปรารถนาในอรูปภพ เป็นต้น

๘. มานะ ความถือตัว ความสำคัญตนเป็นนั่นเป็นนี่ เช่นว่า สูงกว่าเขา เท่าเทียบเขา ต่ำกว่าเขา เป็นต้น

๙. อุทธัจจะ ความฟุ้งซ่าน จิตใจไม่สงบ ว้าวุ่น ซัดส่าย คิดพล่านไป

๑๐. อวิชชา ความไม่รู้จริง ไม่รู้เท่าทันสภาวะ ไม่เข้าใจกฎธรรมดาแห่งเหตุและผล หรือไม่รู้อริยสัจ


ละไม่ได้ ก็ควรรู้ว่ามี แล้วก็ไม่ต้องเอามาอวด เอามาข่มมาบลัฟกัน มาดูถูกกันจริงไหม
แล้วแต่นะ เรื่อง ข่มกันด้วยธรรมะ นี่มีมาตั้งแต่สมัยพุทธกาลแล้ว คือมันไม่มีประโยชน์


คุณตีโพยตีพายไปเองแท้ๆ ไม่ได้เอามาข่ม นำมาให้ดู เช่น (ตัดมา)

ประเด็นที่พบ

การนั่งครั้งหลังๆมานี้ เกิดสภาวะคล้ายๆเดิม ตลอดเกือบทุกครั้ง คือ มือหายไปจากความรู้สึก ไม่รู้สึกว่ามีมืออยู่ (รู้ว่ามี แต่รู้สึกว่าไม่มี ผมอธิบายไม่ถูก เชื่อว่าท่านผู้รู้คงเข้าใจผม) ก้น และต้นขาที่นั่งทับพื้นยังรู้สึกว่ามีอยู่ หลังที่นั่งพิงเก้าอี้ก็รู้สึกว่ายังมีอยู่ คือสรุปว่า มือหายทั้งสองข้าง อย่างอื่นที่เหลือยังรู้สึกถึงได้ อยู่ครบยังไม่หาย มีอาการตัวพองๆ ยุบๆ บ้าง แต่ก็ไม่บ่อย มีอาการหายเกือบทั้งตัวบ้างแต่น้อยมาก แต่ที่แน่ๆ คือ มือทั้งสองข้างหายทุกครั้ง, ทุกครั้งจริงๆครับ นั่งแป๊บเดียวก็หายแล้ว และหายไปจากความรู้สึกตลอดเวลาที่ยังนั่งอยู่

ลมหายใจ เริ่มแผ่วเบาลงเรื่อยๆ จนกระทั่งเหมือนลมหายไป เหมือนไม่ได้หายใจ ในครั้งแรกๆที่เจอสภาวะนี้ ผมตกใจทำอะไรไม่ถูก ตะลีตะลานรีบควานหาลม แล้วก็กลับมาหายใจแบบปกติ,
แต่ในครั้งหลังๆ ผมจะพยายามทนอยู่กับสภาวะนี้ ซึ่งผมจะอึดอัดมาก และในที่สุดผมก็ทนไม่ไหว จนต้องบังคับให้ตัวเองหายใจด้วยการสูดยาว จึงจะกลับมารู้สึกว่าผมหายใจแล้ว ผมจึงเริ่มรู้ลมใหม่ .. แล้วลมก็แผ่ว .. แล้วลมก็หาย .. แล้วผมก็ทน .. แล้วผมก็ทนไม่ไหว .. แล้วผมก็สูดลม .. แล้วผมก็รู้ลม .. แล้วลมก็แผ่ว .. ฯลฯ วนรอบอยู่อย่างนี้ ซ้ำรอบอยู่อย่างนี้

ข้อคำถาม

1. อาการมือหายคืออะไรครับ? ผมเข้าใจว่าไม่ต้องไปสนใจมัน ปล่อยมันใช่ไหมครับ?

2. สภาวะอาการเรื่องลมหายใจ เป็นปัญหาใช่ไหมครับ? ผมควรทำอย่างไรต่อไปครับ?

3. ผมเข้าใจว่าผมถนัดวิธีรู้ลมหายใจ แต่ผมไม่แน่ใจจริงๆว่า ที่ผมคิดว่าผมถนัดวิธีรู้ลมหายใจนั้น ผมเข้าใจถูกไหม? ผมยังควรใช้วิธีรู้ลมต่อไปไหม? หรือควรใช้วิธีอื่นดีกว่า? ผมควรศึกษาหาความรู้เพิ่มเติมจากเว็บไหน คลิปไหน กระทู้ไหน จึงจะเหมาะกับสภาวะอาการที่พบเจออยู่?

ขอความกรุณาทุกท่านช่วยแนะนำผมทีเถอะครับ ชี้ทางออกให้ผมด้วยนะครับ ขอขอบคุณมาล่วงหน้าครับ


1. อาการมือหายคืออะไรครับ? ผมเข้าใจว่าไม่ต้องไปสนใจมัน ปล่อยมันใช่ไหมครับ?

A: ใช่ครับเป็นนิวรณ์ไม่ต้องสนใจ กลับมาที่ลมหายใจเข้าออก

2. สภาวะอาการเรื่องลมหายใจ เป็นปัญหาใช่ไหมครับ? ผมควรทำอย่างไรต่อไปครับ?

A: ลมหายใจยังไม่ละเอียด กายสังขารยังไม่รำงับอาการอย่างนี้เหมือนคนนอนกรนแล้วหยุดหายใจอะครับ
ต่างกันตรงที่รู้สึกตัว คุณจะทนหรือไม่ทนสุดท้ายแล้วคุณจะกลับมาหายใจ แม้ตั้งใจแน่วแน่ว่าจะไม่
หายใจแต่คุณก็ไ่มสามารถบังคับบัญชามันได้มันเป็นของมันตามเหตุปัจจัย

A: ที่ว่าลมหายใจดับนั้นที่จริงไม่ได้ดับ แต่ว่าลมหายใจมันละเอียดมากจนสุดท้ายจิตปล่อยลมหายใจ มี
ความอิ่มเอิบใจและความสุขเป็นอารมณ์ อาการลมหายใจละเอียดลมหายใจมันจะสั้นลง ๆจนมันยุบยิบๆ
อยู่ปลายจมูกและมันยังมีลมออกลมเข้าอยู่เพียงแต่มันละเอียดมากแต่ยังหยาบสำหรับทุติยฌาน

3. ผมเข้าใจว่าผมถนัดวิธีรู้ลมหายใจ แต่ผมไม่แน่ใจจริงๆว่า ที่ผมคิดว่าผมถนัดวิธีรู้ลมหายใจนั้น ผม
เข้าใจถูกไหม? ผมยังควรใช้วิธีรู้ลมต่อไปไหม? หรือควรใช้วิธีอื่นดีกว่า? ผมควรศึกษาหาความรู้
เพิ่มเติมจากเว็บไหน คลิปไหน กระทู้ไหน จึงจะเหมาะกับสภาวะอาการที่พบเจออยู่?

A: คุณมีความชอบใจสนใจถนัดในอานาปานสติก็ฝึกอานาปานสติถูกต้องแล้วครับเพิ่ม วิริยะ จิตตะ
วิมังสา ในการฝึกไม่นานก็รู้ก็เข้าใจ แน่นอนว่าต้องศึกษาหาความรู้เพิ่มจากพระธรรมคำสอน หรือจากครู
บาร์อาจารสายอานาปานสติ สิ่งสำคัญคือทำไว้ในใจด้วยอุบายอันแยบคาย เพื่อให้รู้เหตุ รู้ผลในการ
ปฏิบัติอย่างแจ่มชัด ศึกษาให้มากในอริยสัจ ๔

A: ผมแนะนำว่าอย่าทิ้งอานาปานสติสูตรอันเป็นแนวทางตรงจากพระพุทธเจ้า ซึ่งรู้แจ้งแทงตลอดแล้ว
คำตรัสของพระองค์นั้นเป็นสาระสำคัญละเอียดลึกซึ้ง ถูกต้องและแม่นยำหากปฏิบัติตามอย่างถูกต้อง
ย่อมเห็นเหมือน ๆ กันอย่างเดียวกันไม่หลงไปกับสิ่งที่ไม่เป็นสาระซึ่งมีเยอะแยะร้อยแปดพันประการ

ผมเป็นเพียงผู้ศึกษาปฏิบัติเช่นกัน ผิดพลาดประการใดก็ขออภัยด้วยครับ สุดท้ายแล้วตัวผู้ปฏิบัติต้องพิจารณตริตรอง โยนิโสมนสิการด้วยตนเองเพื่อให้เห็นหนทางก้าวเดินที่ถูกที่ควร


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 11 มี.ค. 2019, 21:00 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


Love J. เขียน:
กรัชกาย เขียน:
ปฤษฎี เขียน:
กรัชกาย เขียน:
ปฤษฎี เขียน:
ตามอ่านไปๆ นอกจากจะได้เรียนรู้ถ้อยคำที่เป็นธรรมะ และ อธรรมะ มีประโยชน์บ้าง และไม่มีประโยชน์บ้าง
ยังได้เรียนรู้อุปนิสัยของคนที่ศึกษาธรรมะ เรียนรู้กิเลส แล้วก็คิดว่าเราอย่าเป็นอย่างเขาเหล่านั้นเลย

มานะ เป็นสิ่งอันตราย
s007


มานะ เป็นสังโยชน์ขั้นละเอียด พระอรหันต์โน่นจึงละได้ ต้องปฏิบัติตามหลักไตรสิกขาอย่างถูกต้องด้วย จึงละมานะได้ มิใช่ละนั่นละนี่ตามอำเภอใจ :b1: ถ้าแบบนี้เดี๋ยวพระอรหันต์เกลื่อนเมือง :b32: หรือคุณปฤษฎีเป็นอรหันต์

แบบที่ ๑ ทักขิไณยบุคคล ๘ หรืออริยบุคคล ๘

เกณฑ์แบ่งแบบนี้ จัดตามกิเลส คือ สังโยชน์ที่ละได้ในแต่ละขั้น พร้อมไปกับความความก้าวหน้าในการบำเพ็ญไตรสิกขา คือ ศีล สมาธิ และปัญญา ดังนั้นจึงควรรู้จักสังโยชน์ไว้ก่อน

สังโยชน์ แปลตามศัพท์ว่า เครื่องผูก หมายถึงกิเลสที่ผูกใจสัตว์ หรืออกุศลธรรมที่ผูกมัดสัตว์ไว้กับทุกข์ในสังสารวัฏฏ์ เหมือนผูกเทียมสัตว์ไว้กับรถ มี ๑๐ อย่าง * คือ

ก. โอรัมภาคิยสังโยชน์ (สังโยชน์เบื้องต่ำ หรือขั้นหยาบ) ๕ อย่าง คือ

๑ . สักกายทิฏฐิ ความเห็นว่าเป็นตัวของตน ความเห็นที่ยังติดแน่นในสมมติว่าเป็นตัวตน เราเขา เป็นนั่นเป็นนี่ มองไม่เห็นสภาพความจริง ที่สัตว์บุคคลเป็นเพียงองค์ประกอบต่างๆ มาประชุมกันเข้า ทำให้มีความเห็นแก่ตัวในขั้นหยาบ และความรู้สึกกระทบกระทั่งบีบคั้นเป็นทุกข์ได้รุนแรง *

๒. วิจิกิจฉา ความลังเล สงสัย เคลือบแคลงต่างๆ เช่น สงสัยในพระศาสดา ในพระธรรม ในพระสงฆ์ ในสิกขา ในเรื่องที่มาที่ไปของชีวิต ในปฏิจจสมุปบาท เป็นต้น ทำให้ไม่มั่นใจ ไม่เข้มแข็งแกล้วกล้าที่จะดำเนินชีวิตตามหลักธรรม ด้วยความมีเหตุมีผล และในการที่จะเดินหน้าแน่วดิ่งไปในอริยมรรคา

๓. สีลัพพตปรามาส ความถือมั่นศีลพรต คือความยึดถือผิดพลาดไปว่า จะบริสุทธิ์ จะหลุดพ้นได้เพียงด้วยศีลและพรต ได้แก่ การถือศีล ระเบียบ แบบแผน บทบัญญัติ และข้อปฏิบัติต่างๆ โดยสักว่าทำตามๆกันไปอย่างงมงาย เห็นเป็นขลังหรือศักดิ์สิทธิ์ ติดอยู่แต่รูปแบบหรือพิธีรีตอง ก็ดี
ถือด้วยตัณหาและทิฏฐิ คือ ปฏิบัติเพราะอยากได้ผลประโยชน์ตอบแทนอย่างใดอย่างหนึ่ง หรือเพราะเห็นว่าจะทำให้ได้เป็นนั่นเป็นนี่ ก็ดี
ไม่เป็นไปตามความหมาย และความมุ่งหมายที่แท้จริงของศีลและพรต ทำให้เขวออกนอกลู่นอกทาง หรือเลยเถิดไป เป็นอย่างศีลและพรตของนักบำเพ็ญตบะ เป็นต้น ไม่เข้าสู่อริยมรรค

๔. กามราคะ ความติดใคร่ในกาม ความอยากได้ใฝ่หาในเรื่องรูป เสียง กลิ่น รส และโผฏฐัพพะ ที่ชอบใจ

๕. ปฏิฆะ ความกระทบกระทั่งในใจ ความหงุดหงิดขัดเคือง หรืองุ่นง่านใจ

ข. อุทธัมภาคิยสังโยชน์ (สังโยชน์เบื้องสูง หรือขั้นละเอียด) ๕ อย่าง คือ

๖. รูปราคะ ความติดใจในรูปธรรมอันประณีต เช่น ติดใจในอารมณ์แห่งรูปฌาน พอใจในรสความสุข ความสงบของสมาธิขั้นรูปฌาน ติดใจปรารถนาในรูปภพ เป็นต้น

๗. อรูปราคะ ความติดใจในอรูปธรรม เช่น ติดใจในอารมณ์แห่งอรูปฌาน ติดใจปรารถนาในอรูปภพ เป็นต้น

๘. มานะ ความถือตัว ความสำคัญตนเป็นนั่นเป็นนี่ เช่นว่า สูงกว่าเขา เท่าเทียบเขา ต่ำกว่าเขา เป็นต้น

๙. อุทธัจจะ ความฟุ้งซ่าน จิตใจไม่สงบ ว้าวุ่น ซัดส่าย คิดพล่านไป

๑๐. อวิชชา ความไม่รู้จริง ไม่รู้เท่าทันสภาวะ ไม่เข้าใจกฎธรรมดาแห่งเหตุและผล หรือไม่รู้อริยสัจ


ละไม่ได้ ก็ควรรู้ว่ามี แล้วก็ไม่ต้องเอามาอวด เอามาข่มมาบลัฟกัน มาดูถูกกันจริงไหม
แล้วแต่นะ เรื่อง ข่มกันด้วยธรรมะ นี่มีมาตั้งแต่สมัยพุทธกาลแล้ว คือมันไม่มีประโยชน์


คุณตีโพยตีพายไปเองแท้ๆ ไม่ได้เอามาข่ม นำมาให้ดู เช่น (ตัดมา)

ประเด็นที่พบ

การนั่งครั้งหลังๆมานี้ เกิดสภาวะคล้ายๆเดิม ตลอดเกือบทุกครั้ง คือ มือหายไปจากความรู้สึก ไม่รู้สึกว่ามีมืออยู่ (รู้ว่ามี แต่รู้สึกว่าไม่มี ผมอธิบายไม่ถูก เชื่อว่าท่านผู้รู้คงเข้าใจผม) ก้น และต้นขาที่นั่งทับพื้นยังรู้สึกว่ามีอยู่ หลังที่นั่งพิงเก้าอี้ก็รู้สึกว่ายังมีอยู่ คือสรุปว่า มือหายทั้งสองข้าง อย่างอื่นที่เหลือยังรู้สึกถึงได้ อยู่ครบยังไม่หาย มีอาการตัวพองๆ ยุบๆ บ้าง แต่ก็ไม่บ่อย มีอาการหายเกือบทั้งตัวบ้างแต่น้อยมาก แต่ที่แน่ๆ คือ มือทั้งสองข้างหายทุกครั้ง, ทุกครั้งจริงๆครับ นั่งแป๊บเดียวก็หายแล้ว และหายไปจากความรู้สึกตลอดเวลาที่ยังนั่งอยู่

ลมหายใจ เริ่มแผ่วเบาลงเรื่อยๆ จนกระทั่งเหมือนลมหายไป เหมือนไม่ได้หายใจ ในครั้งแรกๆที่เจอสภาวะนี้ ผมตกใจทำอะไรไม่ถูก ตะลีตะลานรีบควานหาลม แล้วก็กลับมาหายใจแบบปกติ,
แต่ในครั้งหลังๆ ผมจะพยายามทนอยู่กับสภาวะนี้ ซึ่งผมจะอึดอัดมาก และในที่สุดผมก็ทนไม่ไหว จนต้องบังคับให้ตัวเองหายใจด้วยการสูดยาว จึงจะกลับมารู้สึกว่าผมหายใจแล้ว ผมจึงเริ่มรู้ลมใหม่ .. แล้วลมก็แผ่ว .. แล้วลมก็หาย .. แล้วผมก็ทน .. แล้วผมก็ทนไม่ไหว .. แล้วผมก็สูดลม .. แล้วผมก็รู้ลม .. แล้วลมก็แผ่ว .. ฯลฯ วนรอบอยู่อย่างนี้ ซ้ำรอบอยู่อย่างนี้

ข้อคำถาม

1. อาการมือหายคืออะไรครับ? ผมเข้าใจว่าไม่ต้องไปสนใจมัน ปล่อยมันใช่ไหมครับ?

2. สภาวะอาการเรื่องลมหายใจ เป็นปัญหาใช่ไหมครับ? ผมควรทำอย่างไรต่อไปครับ?

3. ผมเข้าใจว่าผมถนัดวิธีรู้ลมหายใจ แต่ผมไม่แน่ใจจริงๆว่า ที่ผมคิดว่าผมถนัดวิธีรู้ลมหายใจนั้น ผมเข้าใจถูกไหม? ผมยังควรใช้วิธีรู้ลมต่อไปไหม? หรือควรใช้วิธีอื่นดีกว่า? ผมควรศึกษาหาความรู้เพิ่มเติมจากเว็บไหน คลิปไหน กระทู้ไหน จึงจะเหมาะกับสภาวะอาการที่พบเจออยู่?

ขอความกรุณาทุกท่านช่วยแนะนำผมทีเถอะครับ ชี้ทางออกให้ผมด้วยนะครับ ขอขอบคุณมาล่วงหน้าครับ


1. อาการมือหายคืออะไรครับ? ผมเข้าใจว่าไม่ต้องไปสนใจมัน ปล่อยมันใช่ไหมครับ?

A: ใช่ครับเป็นนิวรณ์ไม่ต้องสนใจ กลับมาที่ลมหายใจเข้าออก

2. สภาวะอาการเรื่องลมหายใจ เป็นปัญหาใช่ไหมครับ? ผมควรทำอย่างไรต่อไปครับ?

A: ลมหายใจยังไม่ละเอียด กายสังขารยังไม่รำงับอาการอย่างนี้เหมือนคนนอนกรนแล้วหยุดหายใจอะครับ
ต่างกันตรงที่รู้สึกตัว คุณจะทนหรือไม่ทนสุดท้ายแล้วคุณจะกลับมาหายใจ แม้ตั้งใจแน่วแน่ว่าจะไม่
หายใจแต่คุณก็ไ่มสามารถบังคับบัญชามันได้มันเป็นของมันตามเหตุปัจจัย

A: ที่ว่าลมหายใจดับนั้นที่จริงไม่ได้ดับ แต่ว่าลมหายใจมันละเอียดมากจนสุดท้ายจิตปล่อยลมหายใจ มี
ความอิ่มเอิบใจและความสุขเป็นอารมณ์ อาการลมหายใจละเอียดลมหายใจมันจะสั้นลง ๆจนมันยุบยิบๆ
อยู่ปลายจมูกและมันยังมีลมออกลมเข้าอยู่เพียงแต่มันละเอียดมากแต่ยังหยาบสำหรับทุติยฌาน

3. ผมเข้าใจว่าผมถนัดวิธีรู้ลมหายใจ แต่ผมไม่แน่ใจจริงๆว่า ที่ผมคิดว่าผมถนัดวิธีรู้ลมหายใจนั้น ผม
เข้าใจถูกไหม? ผมยังควรใช้วิธีรู้ลมต่อไปไหม? หรือควรใช้วิธีอื่นดีกว่า? ผมควรศึกษาหาความรู้
เพิ่มเติมจากเว็บไหน คลิปไหน กระทู้ไหน จึงจะเหมาะกับสภาวะอาการที่พบเจออยู่?

A: คุณมีความชอบใจสนใจถนัดในอานาปานสติก็ฝึกอานาปานสติถูกต้องแล้วครับเพิ่ม วิริยะ จิตตะ
วิมังสา ในการฝึกไม่นานก็รู้ก็เข้าใจ แน่นอนว่าต้องศึกษาหาความรู้เพิ่มจากพระธรรมคำสอน หรือจากครู
บาร์อาจารสายอานาปานสติ สิ่งสำคัญคือทำไว้ในใจด้วยอุบายอันแยบคาย เพื่อให้รู้เหตุ รู้ผลในการ
ปฏิบัติอย่างแจ่มชัด ศึกษาให้มากในอริยสัจ ๔

A: ผมแนะนำว่าอย่าทิ้งอานาปานสติสูตรอันเป็นแนวทางตรงจากพระพุทธเจ้า ซึ่งรู้แจ้งแทงตลอดแล้ว
คำตรัสของพระองค์นั้นเป็นสาระสำคัญละเอียดลึกซึ้ง ถูกต้องและแม่นยำหากปฏิบัติตามอย่างถูกต้อง
ย่อมเห็นเหมือน ๆ กันอย่างเดียวกันไม่หลงไปกับสิ่งที่ไม่เป็นสาระซึ่งมีเยอะแยะร้อยแปดพันประการ

ผมเป็นเพียงผู้ศึกษาปฏิบัติเช่นกัน ผิดพลาดประการใดก็ขออภัยด้วยครับ สุดท้ายแล้วตัวผู้ปฏิบัติต้องพิจารณตริตรอง โยนิโสมนสิการด้วยตนเองเพื่อให้เห็นหนทางก้าวเดินที่ถูกที่ควร



ตอบอย่างนักเทศน์ ผ่านไปเถอะขอรับ :b1:

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 11 มี.ค. 2019, 21:04 
 
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 6
สมาชิก ระดับ 6
ลงทะเบียนเมื่อ: 17 ส.ค. 2018, 07:07
โพสต์: 482

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
Love J. เขียน:
กรัชกาย เขียน:
ปฤษฎี เขียน:
กรัชกาย เขียน:
ปฤษฎี เขียน:
ตามอ่านไปๆ นอกจากจะได้เรียนรู้ถ้อยคำที่เป็นธรรมะ และ อธรรมะ มีประโยชน์บ้าง และไม่มีประโยชน์บ้าง
ยังได้เรียนรู้อุปนิสัยของคนที่ศึกษาธรรมะ เรียนรู้กิเลส แล้วก็คิดว่าเราอย่าเป็นอย่างเขาเหล่านั้นเลย

มานะ เป็นสิ่งอันตราย
s007


มานะ เป็นสังโยชน์ขั้นละเอียด พระอรหันต์โน่นจึงละได้ ต้องปฏิบัติตามหลักไตรสิกขาอย่างถูกต้องด้วย จึงละมานะได้ มิใช่ละนั่นละนี่ตามอำเภอใจ :b1: ถ้าแบบนี้เดี๋ยวพระอรหันต์เกลื่อนเมือง :b32: หรือคุณปฤษฎีเป็นอรหันต์

แบบที่ ๑ ทักขิไณยบุคคล ๘ หรืออริยบุคคล ๘

เกณฑ์แบ่งแบบนี้ จัดตามกิเลส คือ สังโยชน์ที่ละได้ในแต่ละขั้น พร้อมไปกับความความก้าวหน้าในการบำเพ็ญไตรสิกขา คือ ศีล สมาธิ และปัญญา ดังนั้นจึงควรรู้จักสังโยชน์ไว้ก่อน

สังโยชน์ แปลตามศัพท์ว่า เครื่องผูก หมายถึงกิเลสที่ผูกใจสัตว์ หรืออกุศลธรรมที่ผูกมัดสัตว์ไว้กับทุกข์ในสังสารวัฏฏ์ เหมือนผูกเทียมสัตว์ไว้กับรถ มี ๑๐ อย่าง * คือ

ก. โอรัมภาคิยสังโยชน์ (สังโยชน์เบื้องต่ำ หรือขั้นหยาบ) ๕ อย่าง คือ

๑ . สักกายทิฏฐิ ความเห็นว่าเป็นตัวของตน ความเห็นที่ยังติดแน่นในสมมติว่าเป็นตัวตน เราเขา เป็นนั่นเป็นนี่ มองไม่เห็นสภาพความจริง ที่สัตว์บุคคลเป็นเพียงองค์ประกอบต่างๆ มาประชุมกันเข้า ทำให้มีความเห็นแก่ตัวในขั้นหยาบ และความรู้สึกกระทบกระทั่งบีบคั้นเป็นทุกข์ได้รุนแรง *

๒. วิจิกิจฉา ความลังเล สงสัย เคลือบแคลงต่างๆ เช่น สงสัยในพระศาสดา ในพระธรรม ในพระสงฆ์ ในสิกขา ในเรื่องที่มาที่ไปของชีวิต ในปฏิจจสมุปบาท เป็นต้น ทำให้ไม่มั่นใจ ไม่เข้มแข็งแกล้วกล้าที่จะดำเนินชีวิตตามหลักธรรม ด้วยความมีเหตุมีผล และในการที่จะเดินหน้าแน่วดิ่งไปในอริยมรรคา

๓. สีลัพพตปรามาส ความถือมั่นศีลพรต คือความยึดถือผิดพลาดไปว่า จะบริสุทธิ์ จะหลุดพ้นได้เพียงด้วยศีลและพรต ได้แก่ การถือศีล ระเบียบ แบบแผน บทบัญญัติ และข้อปฏิบัติต่างๆ โดยสักว่าทำตามๆกันไปอย่างงมงาย เห็นเป็นขลังหรือศักดิ์สิทธิ์ ติดอยู่แต่รูปแบบหรือพิธีรีตอง ก็ดี
ถือด้วยตัณหาและทิฏฐิ คือ ปฏิบัติเพราะอยากได้ผลประโยชน์ตอบแทนอย่างใดอย่างหนึ่ง หรือเพราะเห็นว่าจะทำให้ได้เป็นนั่นเป็นนี่ ก็ดี
ไม่เป็นไปตามความหมาย และความมุ่งหมายที่แท้จริงของศีลและพรต ทำให้เขวออกนอกลู่นอกทาง หรือเลยเถิดไป เป็นอย่างศีลและพรตของนักบำเพ็ญตบะ เป็นต้น ไม่เข้าสู่อริยมรรค

๔. กามราคะ ความติดใคร่ในกาม ความอยากได้ใฝ่หาในเรื่องรูป เสียง กลิ่น รส และโผฏฐัพพะ ที่ชอบใจ

๕. ปฏิฆะ ความกระทบกระทั่งในใจ ความหงุดหงิดขัดเคือง หรืองุ่นง่านใจ

ข. อุทธัมภาคิยสังโยชน์ (สังโยชน์เบื้องสูง หรือขั้นละเอียด) ๕ อย่าง คือ

๖. รูปราคะ ความติดใจในรูปธรรมอันประณีต เช่น ติดใจในอารมณ์แห่งรูปฌาน พอใจในรสความสุข ความสงบของสมาธิขั้นรูปฌาน ติดใจปรารถนาในรูปภพ เป็นต้น

๗. อรูปราคะ ความติดใจในอรูปธรรม เช่น ติดใจในอารมณ์แห่งอรูปฌาน ติดใจปรารถนาในอรูปภพ เป็นต้น

๘. มานะ ความถือตัว ความสำคัญตนเป็นนั่นเป็นนี่ เช่นว่า สูงกว่าเขา เท่าเทียบเขา ต่ำกว่าเขา เป็นต้น

๙. อุทธัจจะ ความฟุ้งซ่าน จิตใจไม่สงบ ว้าวุ่น ซัดส่าย คิดพล่านไป

๑๐. อวิชชา ความไม่รู้จริง ไม่รู้เท่าทันสภาวะ ไม่เข้าใจกฎธรรมดาแห่งเหตุและผล หรือไม่รู้อริยสัจ


ละไม่ได้ ก็ควรรู้ว่ามี แล้วก็ไม่ต้องเอามาอวด เอามาข่มมาบลัฟกัน มาดูถูกกันจริงไหม
แล้วแต่นะ เรื่อง ข่มกันด้วยธรรมะ นี่มีมาตั้งแต่สมัยพุทธกาลแล้ว คือมันไม่มีประโยชน์


คุณตีโพยตีพายไปเองแท้ๆ ไม่ได้เอามาข่ม นำมาให้ดู เช่น (ตัดมา)

ประเด็นที่พบ

การนั่งครั้งหลังๆมานี้ เกิดสภาวะคล้ายๆเดิม ตลอดเกือบทุกครั้ง คือ มือหายไปจากความรู้สึก ไม่รู้สึกว่ามีมืออยู่ (รู้ว่ามี แต่รู้สึกว่าไม่มี ผมอธิบายไม่ถูก เชื่อว่าท่านผู้รู้คงเข้าใจผม) ก้น และต้นขาที่นั่งทับพื้นยังรู้สึกว่ามีอยู่ หลังที่นั่งพิงเก้าอี้ก็รู้สึกว่ายังมีอยู่ คือสรุปว่า มือหายทั้งสองข้าง อย่างอื่นที่เหลือยังรู้สึกถึงได้ อยู่ครบยังไม่หาย มีอาการตัวพองๆ ยุบๆ บ้าง แต่ก็ไม่บ่อย มีอาการหายเกือบทั้งตัวบ้างแต่น้อยมาก แต่ที่แน่ๆ คือ มือทั้งสองข้างหายทุกครั้ง, ทุกครั้งจริงๆครับ นั่งแป๊บเดียวก็หายแล้ว และหายไปจากความรู้สึกตลอดเวลาที่ยังนั่งอยู่

ลมหายใจ เริ่มแผ่วเบาลงเรื่อยๆ จนกระทั่งเหมือนลมหายไป เหมือนไม่ได้หายใจ ในครั้งแรกๆที่เจอสภาวะนี้ ผมตกใจทำอะไรไม่ถูก ตะลีตะลานรีบควานหาลม แล้วก็กลับมาหายใจแบบปกติ,
แต่ในครั้งหลังๆ ผมจะพยายามทนอยู่กับสภาวะนี้ ซึ่งผมจะอึดอัดมาก และในที่สุดผมก็ทนไม่ไหว จนต้องบังคับให้ตัวเองหายใจด้วยการสูดยาว จึงจะกลับมารู้สึกว่าผมหายใจแล้ว ผมจึงเริ่มรู้ลมใหม่ .. แล้วลมก็แผ่ว .. แล้วลมก็หาย .. แล้วผมก็ทน .. แล้วผมก็ทนไม่ไหว .. แล้วผมก็สูดลม .. แล้วผมก็รู้ลม .. แล้วลมก็แผ่ว .. ฯลฯ วนรอบอยู่อย่างนี้ ซ้ำรอบอยู่อย่างนี้

ข้อคำถาม

1. อาการมือหายคืออะไรครับ? ผมเข้าใจว่าไม่ต้องไปสนใจมัน ปล่อยมันใช่ไหมครับ?

2. สภาวะอาการเรื่องลมหายใจ เป็นปัญหาใช่ไหมครับ? ผมควรทำอย่างไรต่อไปครับ?

3. ผมเข้าใจว่าผมถนัดวิธีรู้ลมหายใจ แต่ผมไม่แน่ใจจริงๆว่า ที่ผมคิดว่าผมถนัดวิธีรู้ลมหายใจนั้น ผมเข้าใจถูกไหม? ผมยังควรใช้วิธีรู้ลมต่อไปไหม? หรือควรใช้วิธีอื่นดีกว่า? ผมควรศึกษาหาความรู้เพิ่มเติมจากเว็บไหน คลิปไหน กระทู้ไหน จึงจะเหมาะกับสภาวะอาการที่พบเจออยู่?

ขอความกรุณาทุกท่านช่วยแนะนำผมทีเถอะครับ ชี้ทางออกให้ผมด้วยนะครับ ขอขอบคุณมาล่วงหน้าครับ


1. อาการมือหายคืออะไรครับ? ผมเข้าใจว่าไม่ต้องไปสนใจมัน ปล่อยมันใช่ไหมครับ?

A: ใช่ครับเป็นนิวรณ์ไม่ต้องสนใจ กลับมาที่ลมหายใจเข้าออก

2. สภาวะอาการเรื่องลมหายใจ เป็นปัญหาใช่ไหมครับ? ผมควรทำอย่างไรต่อไปครับ?

A: ลมหายใจยังไม่ละเอียด กายสังขารยังไม่รำงับอาการอย่างนี้เหมือนคนนอนกรนแล้วหยุดหายใจอะครับ
ต่างกันตรงที่รู้สึกตัว คุณจะทนหรือไม่ทนสุดท้ายแล้วคุณจะกลับมาหายใจ แม้ตั้งใจแน่วแน่ว่าจะไม่
หายใจแต่คุณก็ไ่มสามารถบังคับบัญชามันได้มันเป็นของมันตามเหตุปัจจัย

A: ที่ว่าลมหายใจดับนั้นที่จริงไม่ได้ดับ แต่ว่าลมหายใจมันละเอียดมากจนสุดท้ายจิตปล่อยลมหายใจ มี
ความอิ่มเอิบใจและความสุขเป็นอารมณ์ อาการลมหายใจละเอียดลมหายใจมันจะสั้นลง ๆจนมันยุบยิบๆ
อยู่ปลายจมูกและมันยังมีลมออกลมเข้าอยู่เพียงแต่มันละเอียดมากแต่ยังหยาบสำหรับทุติยฌาน

3. ผมเข้าใจว่าผมถนัดวิธีรู้ลมหายใจ แต่ผมไม่แน่ใจจริงๆว่า ที่ผมคิดว่าผมถนัดวิธีรู้ลมหายใจนั้น ผม
เข้าใจถูกไหม? ผมยังควรใช้วิธีรู้ลมต่อไปไหม? หรือควรใช้วิธีอื่นดีกว่า? ผมควรศึกษาหาความรู้
เพิ่มเติมจากเว็บไหน คลิปไหน กระทู้ไหน จึงจะเหมาะกับสภาวะอาการที่พบเจออยู่?

A: คุณมีความชอบใจสนใจถนัดในอานาปานสติก็ฝึกอานาปานสติถูกต้องแล้วครับเพิ่ม วิริยะ จิตตะ
วิมังสา ในการฝึกไม่นานก็รู้ก็เข้าใจ แน่นอนว่าต้องศึกษาหาความรู้เพิ่มจากพระธรรมคำสอน หรือจากครู
บาร์อาจารสายอานาปานสติ สิ่งสำคัญคือทำไว้ในใจด้วยอุบายอันแยบคาย เพื่อให้รู้เหตุ รู้ผลในการ
ปฏิบัติอย่างแจ่มชัด ศึกษาให้มากในอริยสัจ ๔

A: ผมแนะนำว่าอย่าทิ้งอานาปานสติสูตรอันเป็นแนวทางตรงจากพระพุทธเจ้า ซึ่งรู้แจ้งแทงตลอดแล้ว
คำตรัสของพระองค์นั้นเป็นสาระสำคัญละเอียดลึกซึ้ง ถูกต้องและแม่นยำหากปฏิบัติตามอย่างถูกต้อง
ย่อมเห็นเหมือน ๆ กันอย่างเดียวกันไม่หลงไปกับสิ่งที่ไม่เป็นสาระซึ่งมีเยอะแยะร้อยแปดพันประการ

ผมเป็นเพียงผู้ศึกษาปฏิบัติเช่นกัน ผิดพลาดประการใดก็ขออภัยด้วยครับ สุดท้ายแล้วตัวผู้ปฏิบัติต้องพิจารณตริตรอง โยนิโสมนสิการด้วยตนเองเพื่อให้เห็นหนทางก้าวเดินที่ถูกที่ควร



ตอบอย่างนักเทศน์ ผ่านไปเถอะขอรับ :b1:


ตอบจากใจ เพราะเห็นว่าเป็นสาระหวังให้เกิดประโยชน์กับผู้ถาม

ดูเหมือนคุณกรัชกายจะชื่นชอบ สนใจเกี่ยวกับการเห็นสภาวะแปลกประหลาดในการปฏิบัติภาวนา
... อาการแปลกประหลาดพิศดาร ที่พบเห็นในการปฏบัติผมมีเยอะ แต่ผมไม่ค่อยให้ความสนใจใคร่ครวญกับมันเท่าไหร่นัก ปล่อยผ่านมันผมจึงไม่ค่อยอยากจะนำมาเล่า


แก้ไขล่าสุดโดย Love J. เมื่อ 11 มี.ค. 2019, 21:10, แก้ไขแล้ว 1 ครั้ง

โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 11 มี.ค. 2019, 21:05 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


สั้นๆให้ดูเฉยๆ

อ้างคำพูด:
พอจิตสงบเหมือนมีอะไรมารัดคอ

คือตอนที่ผมนั่งสมาธิ พอจิตสงบไม่คิดอะไร อยู่ๆก็รู้สึกเหมือนมีอะไรมารัดที่คอ หรือ ไม่ก็เหมือนถูกอะไรปาดคอ พักหลังๆเป็นอย่างนี้แทบทุกครั้งครับ

รบกวนผู้รู้หรือผู้มีประสบการณ์ช่วยชี้แนะด้วย

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 11 มี.ค. 2019, 21:12 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


Love J. เขียน:
กรัชกาย เขียน:
Love J. เขียน:
กรัชกาย เขียน:
ปฤษฎี เขียน:
กรัชกาย เขียน:
ปฤษฎี เขียน:
ตามอ่านไปๆ นอกจากจะได้เรียนรู้ถ้อยคำที่เป็นธรรมะ และ อธรรมะ มีประโยชน์บ้าง และไม่มีประโยชน์บ้าง
ยังได้เรียนรู้อุปนิสัยของคนที่ศึกษาธรรมะ เรียนรู้กิเลส แล้วก็คิดว่าเราอย่าเป็นอย่างเขาเหล่านั้นเลย

มานะ เป็นสิ่งอันตราย
s007


มานะ เป็นสังโยชน์ขั้นละเอียด พระอรหันต์โน่นจึงละได้ ต้องปฏิบัติตามหลักไตรสิกขาอย่างถูกต้องด้วย จึงละมานะได้ มิใช่ละนั่นละนี่ตามอำเภอใจ :b1: ถ้าแบบนี้เดี๋ยวพระอรหันต์เกลื่อนเมือง :b32: หรือคุณปฤษฎีเป็นอรหันต์

แบบที่ ๑ ทักขิไณยบุคคล ๘ หรืออริยบุคคล ๘

เกณฑ์แบ่งแบบนี้ จัดตามกิเลส คือ สังโยชน์ที่ละได้ในแต่ละขั้น พร้อมไปกับความความก้าวหน้าในการบำเพ็ญไตรสิกขา คือ ศีล สมาธิ และปัญญา ดังนั้นจึงควรรู้จักสังโยชน์ไว้ก่อน

สังโยชน์ แปลตามศัพท์ว่า เครื่องผูก หมายถึงกิเลสที่ผูกใจสัตว์ หรืออกุศลธรรมที่ผูกมัดสัตว์ไว้กับทุกข์ในสังสารวัฏฏ์ เหมือนผูกเทียมสัตว์ไว้กับรถ มี ๑๐ อย่าง * คือ

ก. โอรัมภาคิยสังโยชน์ (สังโยชน์เบื้องต่ำ หรือขั้นหยาบ) ๕ อย่าง คือ

๑ . สักกายทิฏฐิ ความเห็นว่าเป็นตัวของตน ความเห็นที่ยังติดแน่นในสมมติว่าเป็นตัวตน เราเขา เป็นนั่นเป็นนี่ มองไม่เห็นสภาพความจริง ที่สัตว์บุคคลเป็นเพียงองค์ประกอบต่างๆ มาประชุมกันเข้า ทำให้มีความเห็นแก่ตัวในขั้นหยาบ และความรู้สึกกระทบกระทั่งบีบคั้นเป็นทุกข์ได้รุนแรง *

๒. วิจิกิจฉา ความลังเล สงสัย เคลือบแคลงต่างๆ เช่น สงสัยในพระศาสดา ในพระธรรม ในพระสงฆ์ ในสิกขา ในเรื่องที่มาที่ไปของชีวิต ในปฏิจจสมุปบาท เป็นต้น ทำให้ไม่มั่นใจ ไม่เข้มแข็งแกล้วกล้าที่จะดำเนินชีวิตตามหลักธรรม ด้วยความมีเหตุมีผล และในการที่จะเดินหน้าแน่วดิ่งไปในอริยมรรคา

๓. สีลัพพตปรามาส ความถือมั่นศีลพรต คือความยึดถือผิดพลาดไปว่า จะบริสุทธิ์ จะหลุดพ้นได้เพียงด้วยศีลและพรต ได้แก่ การถือศีล ระเบียบ แบบแผน บทบัญญัติ และข้อปฏิบัติต่างๆ โดยสักว่าทำตามๆกันไปอย่างงมงาย เห็นเป็นขลังหรือศักดิ์สิทธิ์ ติดอยู่แต่รูปแบบหรือพิธีรีตอง ก็ดี
ถือด้วยตัณหาและทิฏฐิ คือ ปฏิบัติเพราะอยากได้ผลประโยชน์ตอบแทนอย่างใดอย่างหนึ่ง หรือเพราะเห็นว่าจะทำให้ได้เป็นนั่นเป็นนี่ ก็ดี
ไม่เป็นไปตามความหมาย และความมุ่งหมายที่แท้จริงของศีลและพรต ทำให้เขวออกนอกลู่นอกทาง หรือเลยเถิดไป เป็นอย่างศีลและพรตของนักบำเพ็ญตบะ เป็นต้น ไม่เข้าสู่อริยมรรค

๔. กามราคะ ความติดใคร่ในกาม ความอยากได้ใฝ่หาในเรื่องรูป เสียง กลิ่น รส และโผฏฐัพพะ ที่ชอบใจ

๕. ปฏิฆะ ความกระทบกระทั่งในใจ ความหงุดหงิดขัดเคือง หรืองุ่นง่านใจ

ข. อุทธัมภาคิยสังโยชน์ (สังโยชน์เบื้องสูง หรือขั้นละเอียด) ๕ อย่าง คือ

๖. รูปราคะ ความติดใจในรูปธรรมอันประณีต เช่น ติดใจในอารมณ์แห่งรูปฌาน พอใจในรสความสุข ความสงบของสมาธิขั้นรูปฌาน ติดใจปรารถนาในรูปภพ เป็นต้น

๗. อรูปราคะ ความติดใจในอรูปธรรม เช่น ติดใจในอารมณ์แห่งอรูปฌาน ติดใจปรารถนาในอรูปภพ เป็นต้น

๘. มานะ ความถือตัว ความสำคัญตนเป็นนั่นเป็นนี่ เช่นว่า สูงกว่าเขา เท่าเทียบเขา ต่ำกว่าเขา เป็นต้น

๙. อุทธัจจะ ความฟุ้งซ่าน จิตใจไม่สงบ ว้าวุ่น ซัดส่าย คิดพล่านไป

๑๐. อวิชชา ความไม่รู้จริง ไม่รู้เท่าทันสภาวะ ไม่เข้าใจกฎธรรมดาแห่งเหตุและผล หรือไม่รู้อริยสัจ


ละไม่ได้ ก็ควรรู้ว่ามี แล้วก็ไม่ต้องเอามาอวด เอามาข่มมาบลัฟกัน มาดูถูกกันจริงไหม
แล้วแต่นะ เรื่อง ข่มกันด้วยธรรมะ นี่มีมาตั้งแต่สมัยพุทธกาลแล้ว คือมันไม่มีประโยชน์


คุณตีโพยตีพายไปเองแท้ๆ ไม่ได้เอามาข่ม นำมาให้ดู เช่น (ตัดมา)

ประเด็นที่พบ

การนั่งครั้งหลังๆมานี้ เกิดสภาวะคล้ายๆเดิม ตลอดเกือบทุกครั้ง คือ มือหายไปจากความรู้สึก ไม่รู้สึกว่ามีมืออยู่ (รู้ว่ามี แต่รู้สึกว่าไม่มี ผมอธิบายไม่ถูก เชื่อว่าท่านผู้รู้คงเข้าใจผม) ก้น และต้นขาที่นั่งทับพื้นยังรู้สึกว่ามีอยู่ หลังที่นั่งพิงเก้าอี้ก็รู้สึกว่ายังมีอยู่ คือสรุปว่า มือหายทั้งสองข้าง อย่างอื่นที่เหลือยังรู้สึกถึงได้ อยู่ครบยังไม่หาย มีอาการตัวพองๆ ยุบๆ บ้าง แต่ก็ไม่บ่อย มีอาการหายเกือบทั้งตัวบ้างแต่น้อยมาก แต่ที่แน่ๆ คือ มือทั้งสองข้างหายทุกครั้ง, ทุกครั้งจริงๆครับ นั่งแป๊บเดียวก็หายแล้ว และหายไปจากความรู้สึกตลอดเวลาที่ยังนั่งอยู่

ลมหายใจ เริ่มแผ่วเบาลงเรื่อยๆ จนกระทั่งเหมือนลมหายไป เหมือนไม่ได้หายใจ ในครั้งแรกๆที่เจอสภาวะนี้ ผมตกใจทำอะไรไม่ถูก ตะลีตะลานรีบควานหาลม แล้วก็กลับมาหายใจแบบปกติ,
แต่ในครั้งหลังๆ ผมจะพยายามทนอยู่กับสภาวะนี้ ซึ่งผมจะอึดอัดมาก และในที่สุดผมก็ทนไม่ไหว จนต้องบังคับให้ตัวเองหายใจด้วยการสูดยาว จึงจะกลับมารู้สึกว่าผมหายใจแล้ว ผมจึงเริ่มรู้ลมใหม่ .. แล้วลมก็แผ่ว .. แล้วลมก็หาย .. แล้วผมก็ทน .. แล้วผมก็ทนไม่ไหว .. แล้วผมก็สูดลม .. แล้วผมก็รู้ลม .. แล้วลมก็แผ่ว .. ฯลฯ วนรอบอยู่อย่างนี้ ซ้ำรอบอยู่อย่างนี้

ข้อคำถาม

1. อาการมือหายคืออะไรครับ? ผมเข้าใจว่าไม่ต้องไปสนใจมัน ปล่อยมันใช่ไหมครับ?

2. สภาวะอาการเรื่องลมหายใจ เป็นปัญหาใช่ไหมครับ? ผมควรทำอย่างไรต่อไปครับ?

3. ผมเข้าใจว่าผมถนัดวิธีรู้ลมหายใจ แต่ผมไม่แน่ใจจริงๆว่า ที่ผมคิดว่าผมถนัดวิธีรู้ลมหายใจนั้น ผมเข้าใจถูกไหม? ผมยังควรใช้วิธีรู้ลมต่อไปไหม? หรือควรใช้วิธีอื่นดีกว่า? ผมควรศึกษาหาความรู้เพิ่มเติมจากเว็บไหน คลิปไหน กระทู้ไหน จึงจะเหมาะกับสภาวะอาการที่พบเจออยู่?

ขอความกรุณาทุกท่านช่วยแนะนำผมทีเถอะครับ ชี้ทางออกให้ผมด้วยนะครับ ขอขอบคุณมาล่วงหน้าครับ


1. อาการมือหายคืออะไรครับ? ผมเข้าใจว่าไม่ต้องไปสนใจมัน ปล่อยมันใช่ไหมครับ?

A: ใช่ครับเป็นนิวรณ์ไม่ต้องสนใจ กลับมาที่ลมหายใจเข้าออก

2. สภาวะอาการเรื่องลมหายใจ เป็นปัญหาใช่ไหมครับ? ผมควรทำอย่างไรต่อไปครับ?

A: ลมหายใจยังไม่ละเอียด กายสังขารยังไม่รำงับอาการอย่างนี้เหมือนคนนอนกรนแล้วหยุดหายใจอะครับ
ต่างกันตรงที่รู้สึกตัว คุณจะทนหรือไม่ทนสุดท้ายแล้วคุณจะกลับมาหายใจ แม้ตั้งใจแน่วแน่ว่าจะไม่
หายใจแต่คุณก็ไ่มสามารถบังคับบัญชามันได้มันเป็นของมันตามเหตุปัจจัย

A: ที่ว่าลมหายใจดับนั้นที่จริงไม่ได้ดับ แต่ว่าลมหายใจมันละเอียดมากจนสุดท้ายจิตปล่อยลมหายใจ มี
ความอิ่มเอิบใจและความสุขเป็นอารมณ์ อาการลมหายใจละเอียดลมหายใจมันจะสั้นลง ๆจนมันยุบยิบๆ
อยู่ปลายจมูกและมันยังมีลมออกลมเข้าอยู่เพียงแต่มันละเอียดมากแต่ยังหยาบสำหรับทุติยฌาน

3. ผมเข้าใจว่าผมถนัดวิธีรู้ลมหายใจ แต่ผมไม่แน่ใจจริงๆว่า ที่ผมคิดว่าผมถนัดวิธีรู้ลมหายใจนั้น ผม
เข้าใจถูกไหม? ผมยังควรใช้วิธีรู้ลมต่อไปไหม? หรือควรใช้วิธีอื่นดีกว่า? ผมควรศึกษาหาความรู้
เพิ่มเติมจากเว็บไหน คลิปไหน กระทู้ไหน จึงจะเหมาะกับสภาวะอาการที่พบเจออยู่?

A: คุณมีความชอบใจสนใจถนัดในอานาปานสติก็ฝึกอานาปานสติถูกต้องแล้วครับเพิ่ม วิริยะ จิตตะ
วิมังสา
ในการฝึกไม่นานก็รู้ก็เข้าใจ แน่นอนว่าต้องศึกษาหาความรู้เพิ่มจากพระธรรมคำสอน หรือจากครู
บาร์อาจารสายอานาปานสติ สิ่งสำคัญคือทำไว้ในใจด้วยอุบายอันแยบคาย เพื่อให้รู้เหตุ รู้ผลในการ
ปฏิบัติอย่างแจ่มชัด ศึกษาให้มากในอริยสัจ ๔

A: ผมแนะนำว่าอย่าทิ้งอานาปานสติสูตรอันเป็นแนวทางตรงจากพระพุทธเจ้า ซึ่งรู้แจ้งแทงตลอดแล้ว
คำตรัสของพระองค์นั้นเป็นสาระสำคัญละเอียดลึกซึ้ง ถูกต้องและแม่นยำหากปฏิบัติตามอย่างถูกต้อง
ย่อมเห็นเหมือน ๆ กันอย่างเดียวกันไม่หลงไปกับสิ่งที่ไม่เป็นสาระซึ่งมีเยอะแยะร้อยแปดพันประการ

ผมเป็นเพียงผู้ศึกษาปฏิบัติเช่นกัน ผิดพลาดประการใดก็ขออภัยด้วยครับ สุดท้ายแล้วตัวผู้ปฏิบัติต้องพิจารณตริตรอง โยนิโสมนสิการด้วยตนเองเพื่อให้เห็นหนทางก้าวเดินที่ถูกที่ควร



ตอบอย่างนักเทศน์ ผ่านไปเถอะขอรับ :b1:


ตอบจากใจ เพราะเห็นว่าเป็นสาระหวังให้เกิดประโยชน์กับผู้ถาม


เหมือนเข้าตำรา ไปไหนมา สามวา สองศอก :b1:

ขอสอบถามอาการของสมาธิค่ะ


รบกวนผู้รู้ชี้แนะด้วย

1. มีความรู้สึกมีอีกร่างอยู่ในตัวเรา แต่เราจะควบคุมอีกร่างไม่ได้ อีกร่างเหมือนกับจะพยายามออกมา จากร่างเรา รู้สึกว่าเค้าจะยืดออกทางหน้าซ้ายบ้าง สักพักก็มาทางขวา แต่ไม่เคยออกได้ ปกติเมื่อเกิดเหตุการณ์นี้ขึ้นจะพยายามไม่ สนใจค่ะ ถูกต้องรึเปล่าค่ะ หรือควรจะทำอย่างไรกรุณาชี้แนะด้วยค่ะ

2. นั่งไปสักพัก จะไม่รู้สึกตัวเหมือนเราหายไป แต่รู้ว่าไม่ได้หลับ สักพักก็กลับมาเหมือนเดิม เหมือนหายไปแปล๊บเดียว แต่ค่อนข้างจะนานค่ะ ควรจะทำอย่างไรหรือปล่อยไปแบบนี้ค่ะรบกวนชี้แนะ ด้วย

ทั้งสองเหตุการณ์ จะไม่เกิดพร้อมกัน ถ้าวันนี้เกิดเหตุการณ์ที่ 1 วันต่อมาก็จะเกิด เหตุการณ์ที่ 2 สลับกันค่ะ หรือบางวันก็ไม่เกิดอาการทั้ง 2 เลยค่ะ

3. เคยนอนหลับตอนกลางวันที่บ้าน แล้วมีความรู้สึกว่าไม่ง่วงไม่นอนละ แล้วก็ลุกขึ้นมาทำอะไรตามปกติ เช่น กวาด บ้าน เดินอยู่ในบ้าน สักพักสะดุ้งตื่นเพราะเสียงโทรศัพท์แล้วก็งงว่า เมื่อกี้เราไม่ได้หลับนี่ ยังทำอะไรตามปกติอยู่เลย แล้วทำไมมาสะดุ้งตื่นนอนบนที่นอนอย่างนี้

รบกวนผู้รู้ช่วยชี้แนะแนวทางที่ควรจะปฏิบัติต่อไปด้วย
ปกตินั่งสมาธิแบบอานาปานสติอย่างเดียวเลยค่ะ
ก่อนนอนก็จะนอนภาวนาตลอดเลยค่ะ

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 11 มี.ค. 2019, 21:13 
 
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 6
สมาชิก ระดับ 6
ลงทะเบียนเมื่อ: 17 ส.ค. 2018, 07:07
โพสต์: 482

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
สั้นๆให้ดูเฉยๆ

อ้างคำพูด:
พอจิตสงบเหมือนมีอะไรมารัดคอ

คือตอนที่ผมนั่งสมาธิ พอจิตสงบไม่คิดอะไร อยู่ๆก็รู้สึกเหมือนมีอะไรมารัดที่คอ หรือ ไม่ก็เหมือนถูกอะไรปาดคอ พักหลังๆเป็นอย่างนี้แทบทุกครั้งครับ

รบกวนผู้รู้หรือผู้มีประสบการณ์ช่วยชี้แนะด้วย


พอจิตสงบไม่คิดอะไร อยู่ ๆ รู้สึกเหมือนมีอะไรมารัดที่คอ ?
อย่างนี้คือจิตไม่สงบ ที่จิตไม่สงบเพราะกายไม่สบาย ที่กายไม่สบายเพราะไม่รักษาศีลสำรวมอินทรีย์
ไอประสบการณ์อย่างนี้มันร้อยแปด พันประการ จะไปตามตอบไหวเหรอ

ดูเหมือนคุณกรัชกายจะชื่นชอบ สนใจเกี่ยวกับการเห็นสภาวะแปลกประหลาดในการปฏิบัติภาวนา
... อาการแปลกประหลาดพิศดาร ที่พบเห็นในการปฏบัติผมมีเยอะ แต่ผมไม่ค่อยให้ความสนใจใคร่ครวญกับมันเท่าไหร่นัก ปล่อยผ่านมันผมจึงไม่ค่อยอยากจะนำมาเล่า
..............................................................................................

รบกวนผู้รู้ชี้แนะด้วย

1. มีความรู้สึกมีอีกร่างอยู่ในตัวเรา แต่เราจะควบคุมอีกร่างไม่ได้ อีกร่างเหมือนกับจะพยายามออกมา จากร่างเรา รู้สึกว่าเค้าจะยืดออกทางหน้าซ้ายบ้าง สักพักก็มาทางขวา แต่ไม่เคยออกได้ ปกติเมื่อเกิดเหตุการณ์นี้ขึ้นจะพยายามไม่ สนใจค่ะ ถูกต้องรึเปล่าค่ะ หรือควรจะทำอย่างไรกรุณาชี้แนะด้วยค่ะ

2. นั่งไปสักพัก จะไม่รู้สึกตัวเหมือนเราหายไป แต่รู้ว่าไม่ได้หลับ สักพักก็กลับมาเหมือนเดิม เหมือนหายไปแปล๊บเดียว แต่ค่อนข้างจะนานค่ะ ควรจะทำอย่างไรหรือปล่อยไปแบบนี้ค่ะรบกวนชี้แนะ ด้วย

ทั้งสองเหตุการณ์ จะไม่เกิดพร้อมกัน ถ้าวันนี้เกิดเหตุการณ์ที่ 1 วันต่อมาก็จะเกิด เหตุการณ์ที่ 2 สลับกันค่ะ หรือบางวันก็ไม่เกิดอาการทั้ง 2 เลยค่ะ

3. เคยนอนหลับตอนกลางวันที่บ้าน แล้วมีความรู้สึกว่าไม่ง่วงไม่นอนละ แล้วก็ลุกขึ้นมาทำอะไรตามปกติ เช่น กวาด บ้าน เดินอยู่ในบ้าน สักพักสะดุ้งตื่นเพราะเสียงโทรศัพท์แล้วก็งงว่า เมื่อกี้เราไม่ได้หลับนี่ ยังทำอะไรตามปกติอยู่เลย แล้วทำไมมาสะดุ้งตื่นนอนบนที่นอนอย่างนี้

เจอปัญหาอย่างนี้ใครก็หนี ขี้หมูขี้หมาก็เอามาถาม เอามาเป็นปัญหาไม่ได้มีสาระประโยชน์อะไรเลย


แสดงโพสต์จาก:  เรียงตาม  
กลับไปยังกระทู้  [ 88 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1, 2, 3, 4, 5, 6  ต่อไป

เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


 ผู้ใช้งานขณะนี้

่กำลังดูบอร์ดนี้: ไม่มีสมาชิก และ บุคคลทั่วไป 1 ท่าน


ท่าน ไม่สามารถ โพสต์กระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ตอบกระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แก้ไขโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ลบโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แนบไฟล์ในบอร์ดนี้ได้

ค้นหาสำหรับ:
ไปที่:  
Google
ทั่วไป เว็บธรรมจักร