วันเวลาปัจจุบัน 18 ก.ค. 2025, 05:37  



เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง




กลับไปยังกระทู้  [ 120 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8  ต่อไป  Bookmark and Share
เจ้าของ ข้อความ
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 11 ก.ค. 2018, 11:08 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


Rosarin เขียน:
กรัชกาย เขียน:
ทีนี้ดูคัมภีร์ทางศาสนาที่เขาศึกษากันต่อๆมา

ความหมายของ ฌาน


ผู้เริ่มศึกษาพึงทราบว่า คำว่า ฌาน ๔ ตามปกติหมายถึง รูปฌาน ๔ ดังนั้น จะพูดว่าฌาน ๔ หรือ รูปฌาน ๔ ก็มี ความหมายเท่ากัน

อนึ่ง ไม่พึงสับสนฌาน ๔ กับ ฌาน ๕ เพราะฌาน ๕ ก็คือ ฌาน ๔ นั่นเอง เป็นแต่ขยายละเอียดออกไปตามแนวอภิธรรม และฌานที่ ๕ ตามแนวอภิธรรมนั้น ก็ตรงกับฌานที่ ๔ ในที่นี้นั่นเอง (ฌาน ที่แยกเป็น ๔ เรียกว่าฌานจตุกกนัย เป็นแบบหลักที่พบทั่วไปในพระสูตร ส่วนฌานที่แยกขยายออกเป็น ๕ ตามแนวอภิธรรม เรียกว่า ฌานปัญจกนัย)

“ฌาน” แปลว่า เพ่ง หมายถึง ภาวะจิตที่เพ่งอารมณ์จนแน่วแน่ ได้แก่ ภาวะจิตที่มีสมาธินั่นเอง แต่สมาธินั้น มีความประณีตสนิทชัดเจนผ่องใส และมีกำลังมากน้อยต่างๆกัน แยกได้เป็นหลายระดับ


ความต่างของระดับนั้น กำหนดด้วยคุณสมบัติของจิตที่เป็นองค์ประกอบร่วมของสมาธิในขณะนั้นๆ

องค์ประกอบเหล่านี้ ได้แก่

วิตก (การจรดจิตลงในอารมณ์)
วิจาร (การที่จิตเคล้าอยู่กับอารมณ์)
ปีติ (ความอิ่มใจ)
สุข (ความสุข, ความฉ่ำชื่นรื่นใจ)
อุเบกขา (ความมีใจเป็นกลาง) และ
เอกัคคตา (ภาวะที่จิตมีอารมณ์แน่วแน่เป็นหนึ่งเดียว คือตัวสมาธินั่นเอง)


ฌาน ที่สูงขึ้นไปกว่านี้ คือ อรูปฌาน ก็มีองค์ ๒ คือ อุเบกขา และเอกัคคตาเหมือนจตุตถฌาน
แต่กำหนดอรูปธรรมเป็นอารมณ์ และมีความประณีตยิ่งขึ้นไปตามลำดับ ตามอารมณ์ที่กำหนด


ฌาน อาจใช้ในความหมายอย่างหลวมๆ โดยแปลว่า เพ่ง, พินิจ, ครุ่นคิด, เอาใจจดจ่อ ก็ได้ และอาจใช้ในแง่ไม่ดี เป็นฌานที่พระพุทธเจ้าทรงตำหนิ เช่น เก็บเอากามราคะ พยาบาท ความหดหู่ ความกลัดกลุ้มวุ่นวายใจ ความลังเลสงสัย (นิวรณ์ ๕ ) ไว้ในใจ ถูกอกุศลธรรมเหล่านั้นกลุ้มรุมใจ เฝ้าแต่ครุ่นคิดอยู่ ก็เรียกว่าฌานเหมือนกัน (ม.อุ.14/117/98) หรือกิริยาของสัตว์ เช่น นกเค้าแมวจ้องจับหนู สุนัขจิ้งจอกจ้องหาปลา เป็นต้น ก็เรียกว่าฌาน (ใช้ในรูปกิริยาศัพท์ เช่น ม.มู.12/560/604)


บางทีก็นำมาใช้แสดงความหมายด้านวิปัสสนาด้วย โดยแปลว่า เพ่งพินิจ หรือคิดพิจารณา
ในอรรถกถาบางแห่ง จึงแบ่งฌานออกเป็น ๒ จำพวก
คือ
การเพ่งอารมณ์ตามแบบของสมถะ เรียกว่า อารัมมณูปนิชฌาน (ได้แก่ ฌานสมาบัติ นั่นเอง)

การเพ่งพิจารณาให้เห็นไตรลักษณ์ ตามแบบวิปัสสนา หรือวิปัสสนานั่นเอง เรียกว่า ลักขณูปนิชฌาน

(ในกรณีนี้ แม้แต่มรรคผล ก็เรียกว่าฌานได้ เพราะแปลว่า เผากิเลส บ้าง เพ่งลักษณะที่เป็นสุญญตาของนิพพาน บ้าง) ดู องฺ.อ.1/536 ปฏิสํ.อ.221 สงฺคณี อ.273 (ดู ขุ.ปฏิ.31/483/368 ด้วย)

อ่านจนท่องจำได้ขึ้นใจมันก็ไม่เป็นฌานให้หรอกนะคะ
ผู้ที่เคยสะสมปัญญามาแล้วเท่านั้นจึงเข้าถึงความจริงได้
เพราะเอกัคตาเจตสิกมีทุกขณะจิตเกิดกับจิตทุกดวงอยู่แล้ว
แต่สภาพธรรมเกิดดับเร็วจนดูเหมือนไม่มีอะไรดับหายไปเลย
ขั้นการคิดถูกตามได้น่ะต้องเข้าใจทีละลักษณะให้ทราบว่ามีแล้ว
ไม่ต้องไปทำอะไรก็มีเพียงแต่ไม่เคยคิดได้เองต้องอาศัยการฟังก่อน
ถ้ายังไม่เข้าใจยังไม่ต้องไปทำเข้าใจไหมคะเชื่อจึงทำตามเขาบอกใช่ไหม
จึงไม่คิดทบทวนตามคำสอนให้เข้าใจถูกก่อนจึงจะไม่หลงผิดไปทำตามผู้อืื่น
เพราะตถาคตกล่าวเตือนให้ฟังไม่คิดเองจนกว่าปัญญาเพิ่มขึ้นถึงระดับที่จะบรรลุ
เข้าใจไหมคะว่าพระพุทธเจ้าตรัสรู้สิ่งที่ไม่มีใครรู้ได้ตามปกติที่ลืืมตามองดูโลกปกติ
พิจารณาและไตร่ตรองให้เข้าใจโลกแปลว่าสิ่งที่เกิดดับขันธ์แปลว่าเกิดดับและจิตเกิดดับ
รวมความว่าไม่มีอะไรตั้งอยู่ตามที่ปรากฏเห็นเป็นคนสัตว์วัตถุแม่น้ำป่าไม้ภูเขารถเครื่องบินฯลฯ
มีแต่ความจริงที่กำลังมีจริงๆที่กำลังเกิดดับตรงตามเหตุปัจจัยที่กรรมกำหนดมาให้ได้รับผลของกรรม
แต่เมื่อไม่รู้ความจริงของสิ่งที่กำลังปรากฏว่ามีการเกิดดับจึงยึดมั่นถือมั่นว่าเป็นตัวตนว่ามีอยู่จริงไม่มีอะไรดับ
จนกว่าจะเริ่มฟังความจริงตรงตามคำสอนของพระพุทธเจ้าได้จนรู้จักตนเองตามเป็นจริงว่าความจริงคืออะไร
ไม่มีใครเอากิเลสออกจากจิตได้มีแต่ต้องทำความคิดเห็นให้ตรงตามคำสอนเป็นผู้คิดตามได้ตรงคำตรงจริง
:b16:
:b4: :b4:



ถามว่าเห็นความสับสนไหม ว่าเขาจำมาผิดคิดสับสน เออ

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 11 ก.ค. 2018, 11:19 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 29 ต.ค. 2009, 15:06
โพสต์: 7517

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
Rosarin เขียน:
กรัชกาย เขียน:
ทีนี้ดูคัมภีร์ทางศาสนาที่เขาศึกษากันต่อๆมา

ความหมายของ ฌาน


ผู้เริ่มศึกษาพึงทราบว่า คำว่า ฌาน ๔ ตามปกติหมายถึง รูปฌาน ๔ ดังนั้น จะพูดว่าฌาน ๔ หรือ รูปฌาน ๔ ก็มี ความหมายเท่ากัน

อนึ่ง ไม่พึงสับสนฌาน ๔ กับ ฌาน ๕ เพราะฌาน ๕ ก็คือ ฌาน ๔ นั่นเอง เป็นแต่ขยายละเอียดออกไปตามแนวอภิธรรม และฌานที่ ๕ ตามแนวอภิธรรมนั้น ก็ตรงกับฌานที่ ๔ ในที่นี้นั่นเอง (ฌาน ที่แยกเป็น ๔ เรียกว่าฌานจตุกกนัย เป็นแบบหลักที่พบทั่วไปในพระสูตร ส่วนฌานที่แยกขยายออกเป็น ๕ ตามแนวอภิธรรม เรียกว่า ฌานปัญจกนัย)

“ฌาน” แปลว่า เพ่ง หมายถึง ภาวะจิตที่เพ่งอารมณ์จนแน่วแน่ ได้แก่ ภาวะจิตที่มีสมาธินั่นเอง แต่สมาธินั้น มีความประณีตสนิทชัดเจนผ่องใส และมีกำลังมากน้อยต่างๆกัน แยกได้เป็นหลายระดับ


ความต่างของระดับนั้น กำหนดด้วยคุณสมบัติของจิตที่เป็นองค์ประกอบร่วมของสมาธิในขณะนั้นๆ

องค์ประกอบเหล่านี้ ได้แก่

วิตก (การจรดจิตลงในอารมณ์)
วิจาร (การที่จิตเคล้าอยู่กับอารมณ์)
ปีติ (ความอิ่มใจ)
สุข (ความสุข, ความฉ่ำชื่นรื่นใจ)
อุเบกขา (ความมีใจเป็นกลาง) และ
เอกัคคตา (ภาวะที่จิตมีอารมณ์แน่วแน่เป็นหนึ่งเดียว คือตัวสมาธินั่นเอง)


ฌาน ที่สูงขึ้นไปกว่านี้ คือ อรูปฌาน ก็มีองค์ ๒ คือ อุเบกขา และเอกัคคตาเหมือนจตุตถฌาน
แต่กำหนดอรูปธรรมเป็นอารมณ์ และมีความประณีตยิ่งขึ้นไปตามลำดับ ตามอารมณ์ที่กำหนด


ฌาน อาจใช้ในความหมายอย่างหลวมๆ โดยแปลว่า เพ่ง, พินิจ, ครุ่นคิด, เอาใจจดจ่อ ก็ได้ และอาจใช้ในแง่ไม่ดี เป็นฌานที่พระพุทธเจ้าทรงตำหนิ เช่น เก็บเอากามราคะ พยาบาท ความหดหู่ ความกลัดกลุ้มวุ่นวายใจ ความลังเลสงสัย (นิวรณ์ ๕ ) ไว้ในใจ ถูกอกุศลธรรมเหล่านั้นกลุ้มรุมใจ เฝ้าแต่ครุ่นคิดอยู่ ก็เรียกว่าฌานเหมือนกัน (ม.อุ.14/117/98) หรือกิริยาของสัตว์ เช่น นกเค้าแมวจ้องจับหนู สุนัขจิ้งจอกจ้องหาปลา เป็นต้น ก็เรียกว่าฌาน (ใช้ในรูปกิริยาศัพท์ เช่น ม.มู.12/560/604)


บางทีก็นำมาใช้แสดงความหมายด้านวิปัสสนาด้วย โดยแปลว่า เพ่งพินิจ หรือคิดพิจารณา
ในอรรถกถาบางแห่ง จึงแบ่งฌานออกเป็น ๒ จำพวก
คือ
การเพ่งอารมณ์ตามแบบของสมถะ เรียกว่า อารัมมณูปนิชฌาน (ได้แก่ ฌานสมาบัติ นั่นเอง)

การเพ่งพิจารณาให้เห็นไตรลักษณ์ ตามแบบวิปัสสนา หรือวิปัสสนานั่นเอง เรียกว่า ลักขณูปนิชฌาน

(ในกรณีนี้ แม้แต่มรรคผล ก็เรียกว่าฌานได้ เพราะแปลว่า เผากิเลส บ้าง เพ่งลักษณะที่เป็นสุญญตาของนิพพาน บ้าง) ดู องฺ.อ.1/536 ปฏิสํ.อ.221 สงฺคณี อ.273 (ดู ขุ.ปฏิ.31/483/368 ด้วย)

อ่านจนท่องจำได้ขึ้นใจมันก็ไม่เป็นฌานให้หรอกนะคะ
ผู้ที่เคยสะสมปัญญามาแล้วเท่านั้นจึงเข้าถึงความจริงได้
เพราะเอกัคตาเจตสิกมีทุกขณะจิตเกิดกับจิตทุกดวงอยู่แล้ว
แต่สภาพธรรมเกิดดับเร็วจนดูเหมือนไม่มีอะไรดับหายไปเลย
ขั้นการคิดถูกตามได้น่ะต้องเข้าใจทีละลักษณะให้ทราบว่ามีแล้ว
ไม่ต้องไปทำอะไรก็มีเพียงแต่ไม่เคยคิดได้เองต้องอาศัยการฟังก่อน
ถ้ายังไม่เข้าใจยังไม่ต้องไปทำเข้าใจไหมคะเชื่อจึงทำตามเขาบอกใช่ไหม
จึงไม่คิดทบทวนตามคำสอนให้เข้าใจถูกก่อนจึงจะไม่หลงผิดไปทำตามผู้อืื่น
เพราะตถาคตกล่าวเตือนให้ฟังไม่คิดเองจนกว่าปัญญาเพิ่มขึ้นถึงระดับที่จะบรรลุ
เข้าใจไหมคะว่าพระพุทธเจ้าตรัสรู้สิ่งที่ไม่มีใครรู้ได้ตามปกติที่ลืืมตามองดูโลกปกติ
พิจารณาและไตร่ตรองให้เข้าใจโลกแปลว่าสิ่งที่เกิดดับขันธ์แปลว่าเกิดดับและจิตเกิดดับ
รวมความว่าไม่มีอะไรตั้งอยู่ตามที่ปรากฏเห็นเป็นคนสัตว์วัตถุแม่น้ำป่าไม้ภูเขารถเครื่องบินฯลฯ
มีแต่ความจริงที่กำลังมีจริงๆที่กำลังเกิดดับตรงตามเหตุปัจจัยที่กรรมกำหนดมาให้ได้รับผลของกรรม
แต่เมื่อไม่รู้ความจริงของสิ่งที่กำลังปรากฏว่ามีการเกิดดับจึงยึดมั่นถือมั่นว่าเป็นตัวตนว่ามีอยู่จริงไม่มีอะไรดับ
จนกว่าจะเริ่มฟังความจริงตรงตามคำสอนของพระพุทธเจ้าได้จนรู้จักตนเองตามเป็นจริงว่าความจริงคืออะไร
ไม่มีใครเอากิเลสออกจากจิตได้มีแต่ต้องทำความคิดเห็นให้ตรงตามคำสอนเป็นผู้คิดตามได้ตรงคำตรงจริง
:b16:
:b4: :b4:



ถามว่าเห็นความสับสนไหม ว่าเขาจำมาผิดคิดสับสน เออ

Kiss
:b12:
ไม่สับสนแน่นอนเพราะเรารู้ทั้ง2แบบแล้วนี่ไม่มีอะไรมีค่าเท่าการได้รู้ความจริงถูกตามคำสอน
สวรรค์ของเหล่าเทพพรหมเทวาคือการได้เกิดเป็นคนและได้ฟังพระสัทธรรมที่สงบจากความไม่รู้
ผู้ที่รู้จักตั้งใจฟังเท่านั้นจึงจะทราบว่าปัญญาตนสะสมมาพอหรือยังคือรู้จักตนเองตามปกติตามภพภูมิ
:b4: :b4:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 11 ก.ค. 2018, 11:21 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


Rosarin เขียน:
กรัชกาย เขียน:
ทีนี้ดูคัมภีร์ทางศาสนาที่เขาศึกษากันต่อๆมา

ความหมายของ ฌาน


ผู้เริ่มศึกษาพึงทราบว่า คำว่า ฌาน ๔ ตามปกติหมายถึง รูปฌาน ๔ ดังนั้น จะพูดว่าฌาน ๔ หรือ รูปฌาน ๔ ก็มี ความหมายเท่ากัน

อนึ่ง ไม่พึงสับสนฌาน ๔ กับ ฌาน ๕ เพราะฌาน ๕ ก็คือ ฌาน ๔ นั่นเอง เป็นแต่ขยายละเอียดออกไปตามแนวอภิธรรม และฌานที่ ๕ ตามแนวอภิธรรมนั้น ก็ตรงกับฌานที่ ๔ ในที่นี้นั่นเอง (ฌาน ที่แยกเป็น ๔ เรียกว่าฌานจตุกกนัย เป็นแบบหลักที่พบทั่วไปในพระสูตร ส่วนฌานที่แยกขยายออกเป็น ๕ ตามแนวอภิธรรม เรียกว่า ฌานปัญจกนัย)

“ฌาน” แปลว่า เพ่ง หมายถึง ภาวะจิตที่เพ่งอารมณ์จนแน่วแน่ ได้แก่ ภาวะจิตที่มีสมาธินั่นเอง แต่สมาธินั้น มีความประณีตสนิทชัดเจนผ่องใส และมีกำลังมากน้อยต่างๆกัน แยกได้เป็นหลายระดับ


ความต่างของระดับนั้น กำหนดด้วยคุณสมบัติของจิตที่เป็นองค์ประกอบร่วมของสมาธิในขณะนั้นๆ

องค์ประกอบเหล่านี้ ได้แก่

วิตก (การจรดจิตลงในอารมณ์)
วิจาร (การที่จิตเคล้าอยู่กับอารมณ์)
ปีติ (ความอิ่มใจ)
สุข (ความสุข, ความฉ่ำชื่นรื่นใจ)
อุเบกขา (ความมีใจเป็นกลาง) และ
เอกัคคตา (ภาวะที่จิตมีอารมณ์แน่วแน่เป็นหนึ่งเดียว คือตัวสมาธินั่นเอง)


ฌาน ที่สูงขึ้นไปกว่านี้ คือ อรูปฌาน ก็มีองค์ ๒ คือ อุเบกขา และเอกัคคตาเหมือนจตุตถฌาน
แต่กำหนดอรูปธรรมเป็นอารมณ์ และมีความประณีตยิ่งขึ้นไปตามลำดับ ตามอารมณ์ที่กำหนด


ฌาน อาจใช้ในความหมายอย่างหลวมๆ โดยแปลว่า เพ่ง, พินิจ, ครุ่นคิด, เอาใจจดจ่อ ก็ได้ และอาจใช้ในแง่ไม่ดี เป็นฌานที่พระพุทธเจ้าทรงตำหนิ เช่น เก็บเอากามราคะ พยาบาท ความหดหู่ ความกลัดกลุ้มวุ่นวายใจ ความลังเลสงสัย (นิวรณ์ ๕ ) ไว้ในใจ ถูกอกุศลธรรมเหล่านั้นกลุ้มรุมใจ เฝ้าแต่ครุ่นคิดอยู่ ก็เรียกว่าฌานเหมือนกัน (ม.อุ.14/117/98) หรือกิริยาของสัตว์ เช่น นกเค้าแมวจ้องจับหนู สุนัขจิ้งจอกจ้องหาปลา เป็นต้น ก็เรียกว่าฌาน (ใช้ในรูปกิริยาศัพท์ เช่น ม.มู.12/560/604)


บางทีก็นำมาใช้แสดงความหมายด้านวิปัสสนาด้วย โดยแปลว่า เพ่งพินิจ หรือคิดพิจารณา
ในอรรถกถาบางแห่ง จึงแบ่งฌานออกเป็น ๒ จำพวก
คือ
การเพ่งอารมณ์ตามแบบของสมถะ เรียกว่า อารัมมณูปนิชฌาน (ได้แก่ ฌานสมาบัติ นั่นเอง)

การเพ่งพิจารณาให้เห็นไตรลักษณ์ ตามแบบวิปัสสนา หรือวิปัสสนานั่นเอง เรียกว่า ลักขณูปนิชฌาน

(ในกรณีนี้ แม้แต่มรรคผล ก็เรียกว่าฌานได้ เพราะแปลว่า เผากิเลส บ้าง เพ่งลักษณะที่เป็นสุญญตาของนิพพาน บ้าง) ดู องฺ.อ.1/536 ปฏิสํ.อ.221 สงฺคณี อ.273 (ดู ขุ.ปฏิ.31/483/368 ด้วย)

อ่านจนท่องจำได้ขึ้นใจมันก็ไม่เป็นฌานให้หรอกนะคะ
ผู้ที่เคยสะสมปัญญามาแล้วเท่านั้นจึงเข้าถึงความจริงได้
เพราะเอกัคตาเจตสิกมีทุกขณะจิตเกิดกับจิตทุกดวงอยู่แล้ว
แต่สภาพธรรมเกิดดับเร็วจนดูเหมือนไม่มีอะไรดับหายไปเลย
ขั้นการคิดถูกตามได้น่ะต้องเข้าใจทีละลักษณะให้ทราบว่ามีแล้ว
ไม่ต้องไปทำอะไรก็มีเพียงแต่ไม่เคยคิดได้เองต้องอาศัยการฟังก่อน
ถ้ายังไม่เข้าใจยังไม่ต้องไปทำเข้าใจไหมคะเชื่อจึงทำตามเขาบอกใช่ไหม
จึงไม่คิดทบทวนตามคำสอนให้เข้าใจถูกก่อนจึงจะไม่หลงผิดไปทำตามผู้อืื่น
เพราะตถาคตกล่าวเตือนให้ฟังไม่คิดเองจนกว่าปัญญาเพิ่มขึ้นถึงระดับที่จะบรรลุ
เข้าใจไหมคะว่าพระพุทธเจ้าตรัสรู้สิ่งที่ไม่มีใครรู้ได้ตามปกติที่ลืืมตามองดูโลกปกติ
พิจารณาและไตร่ตรองให้เข้าใจโลกแปลว่าสิ่งที่เกิดดับขันธ์แปลว่าเกิดดับและจิตเกิดดับ
รวมความว่าไม่มีอะไรตั้งอยู่ตามที่ปรากฏเห็นเป็นคนสัตว์วัตถุแม่น้ำป่าไม้ภูเขารถเครื่องบินฯลฯ
มีแต่ความจริงที่กำลังมีจริงๆที่กำลังเกิดดับตรงตามเหตุปัจจัยที่กรรมกำหนดมาให้ได้รับผลของกรรม
แต่เมื่อไม่รู้ความจริงของสิ่งที่กำลังปรากฏว่ามีการเกิดดับจึงยึดมั่นถือมั่นว่าเป็นตัวตนว่ามีอยู่จริงไม่มีอะไรดับ
จนกว่าจะเริ่มฟังความจริงตรงตามคำสอนของพระพุทธเจ้าได้จนรู้จักตนเองตามเป็นจริงว่าความจริงคืออะไร
ไม่มีใครเอากิเลสออกจากจิตได้มีแต่ต้องทำความคิดเห็นให้ตรงตามคำสอนเป็นผู้คิดตามได้ตรงคำตรงจริง
:b16:
:b4: :b4:


ไปนั่นอีก เราตามไป คิกๆๆ

แล้วนี่เป็นฌานไหมเล่าขอรับ ดู

อ้างคำพูด:
ฯลฯ หรือ เวลาอ่านหนังสือ แต่ก็ให้มีสติรู้อยู่ว่าเราทำอะไรอยู่ ท่านว่าให้กำหนดรู้ลมหายใจเสมือนว่าลมหายใจเป็นกัลยาณมิตร ให้เรายึดกัลยาณมิตรนี้ไว้
หลังจากนั้นผมก็พยายามกำหนดรู้ลมหายใจในชีวิตประจำวัน รู้สึกเพลินกับการยึดลมหายใจ

หลังจากนั้นมีวันหนึ่ง ผมเกิดนึกอยากนั่งสมาธิขึ้นมา ผมก็เลยนั่งสมาธิกำหนดลมหายใจ (ก่อนหน้านี้ตอนเด็กๆ เวลาคุณครูที่รร.สั่งให้นั่งสมาธิในห้องเรียน ให้พยายามตามดูลมหายใจจะรู้สึกว่ามันเป็นเรื่องที่น่าเบื่อ น่าปวดหัวมาก แต่คาดว่าคงเป็นเพราะจากที่ได้ฝึกในชีวิตประจำวัน ทำให้ตั้งแต่นั่งครั้งนี้ก็ไม่รู้สึกเช่นนั้นอีก)

ในการนั่งสมาธิครั้งนี้ผมสามารถรับรู้ลมหายใจได้ตลอดสายเป็นเวลานาน แต่ผมก็คิดว่าเวลาจิตเราสงบมากแล้ว แต่ยังไม่มีอะไรเกิดขึ้น ถ้ายังไงเราลองเปลี่ยนวิธีกำหนดดูดีกว่าผมเลยเปลี่ยนวิธีกำหนดในใจเป็นสมถแบบอัปปมัญญา ๔ (เกิดความรู้สึกนี้ขึ้นเอง)

แล้วกำหนดคำบริกรรมในใจแผ่เมตตาให้สัตว์ทั้งหลายไม่มีประมาณในทิศเบื้องหน้า จากนั้นก็เบื้องหลัง ....กำหนดแค่ครั้งเดียวเท่านั้น จากนั้นผมก็รู้สึกเหมือนกายผมขยายตามที่กำหนดแผ่เมตตาไปด้วย รู้สึกว่ากายขยายไปทุกทิศ ความรู้สึกนี้มันเกิดในเวลาแค่แปปเดียว กายขยายไปทุกทิศ ...ความรู้สึกของเราเหมือนจุ่มอยู่ในปีติ มีแต่ความสุขไปหมด

จากนั้นผมก็คิดขึ้นมาว่า "มีความสุขขนาดนี้ในโลกด้วยหรือ ความสุขนี้ดีกว่าความสุขในโลกที่เราเคยพบมาทั้งหมด โอ ความสุขนี้แค่นั่งก็ได้แล้ว คนทั้งโลก มัวแต่วุ่นวายทำอะไรกันอยู่ บางคนทำทุจริตต่างๆเพื่อหาเงินมาสนองความสุขตน ทำไปทำไมนะ มันเทียบกับความสุขที่เกิดจากความสงบนี้ไม่ได้เลย ความสุขนี้ไม่ต้องไขว่คว้ามาก อยู่กับตัวเองแท้ๆ คนในโลกกลับไม่รู้"

จากนั้นผมก็สังเกตลมหายใจ ก็รู้สึกว่าลมหายใจตอนนี้มันละเอียดมาก ถึงค่อยเข้าใจคำว่าลมหายใจหยาบลมหายใจละเอียดว่าเป็นยังไง ก่อนหน้านี้ เข้าใจว่าคือลมหายใจแรงๆเบาๆซะอีก :)

ความรู้สึกจากการเกิดสมาธิครั้งแรกนี้มันเหมือนจุ่มค้างปิติอยู่ แต่ไม่เห็นนิมิตอะไรทั้งสิ้นเลยนะครับ แต่รู้สึกจิตเวลานี้ไม่มีนิวรณ์เลย

จากนั้นผมก็รู้สึกยินดีกับสิ่งที่เกิดขึ้นแล้วคิดไปเรื่อยว่า "นี่คือปฐมฌานหรือเปล่านี่ ปฐมฌานเกิดกับเราหรือ"

จนจิตเริ่มไม่เป็นสมาธิ เริ่มปั่นป่วน หลังจากนั้นก็ได้ยินเสียงห้องข้างๆตะโกนเสียงดัง ผมก็เลยหลุดออกมาจากสภาวะนั้น

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 11 ก.ค. 2018, 11:22 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


Rosarin เขียน:
กรัชกาย เขียน:
Rosarin เขียน:
กรัชกาย เขียน:
ทีนี้ดูคัมภีร์ทางศาสนาที่เขาศึกษากันต่อๆมา

ความหมายของ ฌาน


ผู้เริ่มศึกษาพึงทราบว่า คำว่า ฌาน ๔ ตามปกติหมายถึง รูปฌาน ๔ ดังนั้น จะพูดว่าฌาน ๔ หรือ รูปฌาน ๔ ก็มี ความหมายเท่ากัน

อนึ่ง ไม่พึงสับสนฌาน ๔ กับ ฌาน ๕ เพราะฌาน ๕ ก็คือ ฌาน ๔ นั่นเอง เป็นแต่ขยายละเอียดออกไปตามแนวอภิธรรม และฌานที่ ๕ ตามแนวอภิธรรมนั้น ก็ตรงกับฌานที่ ๔ ในที่นี้นั่นเอง (ฌาน ที่แยกเป็น ๔ เรียกว่าฌานจตุกกนัย เป็นแบบหลักที่พบทั่วไปในพระสูตร ส่วนฌานที่แยกขยายออกเป็น ๕ ตามแนวอภิธรรม เรียกว่า ฌานปัญจกนัย)

“ฌาน” แปลว่า เพ่ง หมายถึง ภาวะจิตที่เพ่งอารมณ์จนแน่วแน่ ได้แก่ ภาวะจิตที่มีสมาธินั่นเอง แต่สมาธินั้น มีความประณีตสนิทชัดเจนผ่องใส และมีกำลังมากน้อยต่างๆกัน แยกได้เป็นหลายระดับ


ความต่างของระดับนั้น กำหนดด้วยคุณสมบัติของจิตที่เป็นองค์ประกอบร่วมของสมาธิในขณะนั้นๆ

องค์ประกอบเหล่านี้ ได้แก่

วิตก (การจรดจิตลงในอารมณ์)
วิจาร (การที่จิตเคล้าอยู่กับอารมณ์)
ปีติ (ความอิ่มใจ)
สุข (ความสุข, ความฉ่ำชื่นรื่นใจ)
อุเบกขา (ความมีใจเป็นกลาง) และ
เอกัคคตา (ภาวะที่จิตมีอารมณ์แน่วแน่เป็นหนึ่งเดียว คือตัวสมาธินั่นเอง)


ฌาน ที่สูงขึ้นไปกว่านี้ คือ อรูปฌาน ก็มีองค์ ๒ คือ อุเบกขา และเอกัคคตาเหมือนจตุตถฌาน
แต่กำหนดอรูปธรรมเป็นอารมณ์ และมีความประณีตยิ่งขึ้นไปตามลำดับ ตามอารมณ์ที่กำหนด


ฌาน อาจใช้ในความหมายอย่างหลวมๆ โดยแปลว่า เพ่ง, พินิจ, ครุ่นคิด, เอาใจจดจ่อ ก็ได้ และอาจใช้ในแง่ไม่ดี เป็นฌานที่พระพุทธเจ้าทรงตำหนิ เช่น เก็บเอากามราคะ พยาบาท ความหดหู่ ความกลัดกลุ้มวุ่นวายใจ ความลังเลสงสัย (นิวรณ์ ๕ ) ไว้ในใจ ถูกอกุศลธรรมเหล่านั้นกลุ้มรุมใจ เฝ้าแต่ครุ่นคิดอยู่ ก็เรียกว่าฌานเหมือนกัน (ม.อุ.14/117/98) หรือกิริยาของสัตว์ เช่น นกเค้าแมวจ้องจับหนู สุนัขจิ้งจอกจ้องหาปลา เป็นต้น ก็เรียกว่าฌาน (ใช้ในรูปกิริยาศัพท์ เช่น ม.มู.12/560/604)


บางทีก็นำมาใช้แสดงความหมายด้านวิปัสสนาด้วย โดยแปลว่า เพ่งพินิจ หรือคิดพิจารณา
ในอรรถกถาบางแห่ง จึงแบ่งฌานออกเป็น ๒ จำพวก
คือ
การเพ่งอารมณ์ตามแบบของสมถะ เรียกว่า อารัมมณูปนิชฌาน (ได้แก่ ฌานสมาบัติ นั่นเอง)

การเพ่งพิจารณาให้เห็นไตรลักษณ์ ตามแบบวิปัสสนา หรือวิปัสสนานั่นเอง เรียกว่า ลักขณูปนิชฌาน

(ในกรณีนี้ แม้แต่มรรคผล ก็เรียกว่าฌานได้ เพราะแปลว่า เผากิเลส บ้าง เพ่งลักษณะที่เป็นสุญญตาของนิพพาน บ้าง) ดู องฺ.อ.1/536 ปฏิสํ.อ.221 สงฺคณี อ.273 (ดู ขุ.ปฏิ.31/483/368 ด้วย)

อ่านจนท่องจำได้ขึ้นใจมันก็ไม่เป็นฌานให้หรอกนะคะ
ผู้ที่เคยสะสมปัญญามาแล้วเท่านั้นจึงเข้าถึงความจริงได้
เพราะเอกัคตาเจตสิกมีทุกขณะจิตเกิดกับจิตทุกดวงอยู่แล้ว
แต่สภาพธรรมเกิดดับเร็วจนดูเหมือนไม่มีอะไรดับหายไปเลย
ขั้นการคิดถูกตามได้น่ะต้องเข้าใจทีละลักษณะให้ทราบว่ามีแล้ว
ไม่ต้องไปทำอะไรก็มีเพียงแต่ไม่เคยคิดได้เองต้องอาศัยการฟังก่อน
ถ้ายังไม่เข้าใจยังไม่ต้องไปทำเข้าใจไหมคะเชื่อจึงทำตามเขาบอกใช่ไหม
จึงไม่คิดทบทวนตามคำสอนให้เข้าใจถูกก่อนจึงจะไม่หลงผิดไปทำตามผู้อืื่น
เพราะตถาคตกล่าวเตือนให้ฟังไม่คิดเองจนกว่าปัญญาเพิ่มขึ้นถึงระดับที่จะบรรลุ
เข้าใจไหมคะว่าพระพุทธเจ้าตรัสรู้สิ่งที่ไม่มีใครรู้ได้ตามปกติที่ลืืมตามองดูโลกปกติ
พิจารณาและไตร่ตรองให้เข้าใจโลกแปลว่าสิ่งที่เกิดดับขันธ์แปลว่าเกิดดับและจิตเกิดดับ
รวมความว่าไม่มีอะไรตั้งอยู่ตามที่ปรากฏเห็นเป็นคนสัตว์วัตถุแม่น้ำป่าไม้ภูเขารถเครื่องบินฯลฯ
มีแต่ความจริงที่กำลังมีจริงๆที่กำลังเกิดดับตรงตามเหตุปัจจัยที่กรรมกำหนดมาให้ได้รับผลของกรรม
แต่เมื่อไม่รู้ความจริงของสิ่งที่กำลังปรากฏว่ามีการเกิดดับจึงยึดมั่นถือมั่นว่าเป็นตัวตนว่ามีอยู่จริงไม่มีอะไรดับ
จนกว่าจะเริ่มฟังความจริงตรงตามคำสอนของพระพุทธเจ้าได้จนรู้จักตนเองตามเป็นจริงว่าความจริงคืออะไร
ไม่มีใครเอากิเลสออกจากจิตได้มีแต่ต้องทำความคิดเห็นให้ตรงตามคำสอนเป็นผู้คิดตามได้ตรงคำตรงจริง
:b16:
:b4: :b4:



ถามว่าเห็นความสับสนไหม ว่าเขาจำมาผิดคิดสับสน เออ

Kiss
:b12:
ไม่สับสนแน่นอนเพราะเรารู้ทั้ง2แบบแล้วนี่ไม่มีอะไรมีค่าเท่าการได้รู้ความจริงถูกตามคำสอน
สวรรค์ของเหล่าเทพพรหมเทวาคือการได้เกิดเป็นคนและได้ฟังพระสัทธรรมที่สงบจากความไม่รู้
ผู้ที่รู้จักตั้งใจฟังเท่านั้นจึงจะทราบว่าปัญญาตนสะสมมาพอหรือยังคือรู้จักตนเองตามปกติตามภพภูมิ
:b4: :b4:



อ้าวไปเทพไปพรหมอีกเอ้า แบบนี้ไปเถอะ

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 11 ก.ค. 2018, 11:27 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 29 ต.ค. 2009, 15:06
โพสต์: 7517

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


Kiss
:b12:
คนอะไรดื้อไม่คิดก็บอกว่าให้คิดให้รอบคอบ
รู้จักตัวเองไหมว่าอยู่ภพภูมิไหนมีโอกาสเกิด
เป็นคนแล้วอีตอนอยู่พรหมโลกเบื่ออยากมา
ฟังธรรมในเมืองมนุษย์555ก็มาหลงทำแบบ
จะได้กลับไปพรหมโลกอีกกิเลสไหมก็ไม่รู้
พระพุทธเจ้าสอนผู้ที่สนใจฟังเท่านั้นและ
ทรงทราบว่ากลุ่มไหนไม่ฟังก็ไม่ไปโปรด
อ่านเจอไหมใน3ปิฎกน่ะตอนนี้หายตัวได้รึ
ถึงบอกแล้วก็ยังจะมามัวคิดเองอยู่ได้นั่นน่ะ
:b32: :b32: :b32:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 11 ก.ค. 2018, 18:02 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


Rosarin เขียน:
Kiss
:b12:
คนอะไรดื้อไม่คิดก็บอกว่าให้คิดให้รอบคอบ
รู้จักตัวเองไหมว่าอยู่ภพภูมิไหนมีโอกาสเกิด
เป็นคนแล้วอีตอนอยู่พรหมโลกเบื่ออยากมา
ฟังธรรมในเมืองมนุษย์555ก็มาหลงทำแบบ
จะได้กลับไปพรหมโลกอีกกิเลสไหมก็ไม่รู้
พระพุทธเจ้าสอนผู้ที่สนใจฟังเท่านั้นและ
ทรงทราบว่ากลุ่มไหนไม่ฟังก็ไม่ไปโปรด
อ่านเจอไหมใน3ปิฎกน่ะตอนนี้หายตัวได้รึ
ถึงบอกแล้วก็ยังจะมามัวคิดเองอยู่ได้นั่นน่ะ
:b32: :b32: :b32:



ก็ไปคิดสะยังงั้น คิกๆๆ แหมๆ ทำฌานแล้วจะไปเกิดเป็นพรหมในพรหมโลกโน้น :b32: ก็อย่างที่บอก ฌาน มันก็คือสมาธิ สมถะมันก็สมาธิ องค์ธรรมได้แก่ สมาธิ นี่เอง
มันเป็นระดับของจิต ยกตัวอย่างนะ พอมองออก กามภูมิ รูปภูมิ อรูปภูมิ มันเป็นระดับของจิตที่พัฒนาเป็นขั้นๆ กามภพ รูปภพ อรูปภพ ก็เช่นกัน รูปฌาน อรูปฌาน ก็ทำนองเดียวกัน

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 11 ก.ค. 2018, 18:05 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


เห็นว่าเข้ากับกท.นี้ได้ จากหนังสือจาริกบุญ จารึกธรรม หน้า ๓๒๑

สมาธิมีประโยชน์มากมาย ต้องใช้ให้คุ้มและให้ครบ

ทำไมพระพุทธเจ้าจึงเสด็จหลีกไปจากสำนักของท่านอาฬารดาบส และอุทกดาบส ทั้งที่ได้สมาธิถึงสมาบัติสูงสุด ก็เพราะไม่ใช่วิธีปฏิบัติที่สมบูรณ์

แต่พระองค์ก็มิได้ละทิ้งสมาธิ พระองค์ใช้สมาธิเป็นบาท คือ เป็นเครื่องช่วยหนุนธรรมที่เป็นข้อปฏิบัติสูงขึ้นไปให้ทำงานได้ผลดี เพราะสภาพจิตที่เป็นสมาธินั้นมีลักษณะที่เป็นคุณสมบัติสำคัญหลายอย่าง โดยเฉพาะ

๑. ทำให้จิตมีกำลัง

๒. ทำให้จิตใส

๓. ทำให้จิตสงบ

ข้อที่ ๓ นี้ ทำให้คนติดมากคือ ทำให้จิตสงบแล้วก็สุข แล้วก็เลยติดเพลิน

คุณสมบัติของจิตที่เป็นสมาธินี้ ขอขยายความหน่อยว่า

๑.ทำให้จิตมีพลัง ในเรื่องนี้ พระพุทธเจ้าตรัสอุปมาว่า เหมือนสายธารที่ไหลลงจากภูเขา ซึ่งปิดช่องทางที่น้ำจะแยกกระจายออกไปหมดแล้ว ไหลลงไปทางเดียว ย่อมมีกำลังแรงมาก * (องฺ.ปญฺจก. 22/51)

ถ้าจะทำในขณะนี้ ก็เหมือนกับคนขึ้นไปบนยอดเขา เอาน้ำขึ้นไปด้วยถังใหญ่ถังหนึ่ง พอถึงยอดเนินเขาแล้วก็สาดน้ำโครมลงไปอย่างไม่มีทิศทาง น้ำกระจายทั้งถังหายเงียบหมด ไม่เกิดอะไรขึ้น

ทีนี้เอาใหม่ แบกน้ำถังเท่ากันขึ้นไป แต่คราวนี้เทน้ำถังเท่ากันนั้นลงไนร่องในรางหรือในท่อ น้ำไหลไปทางเดียว ก็มีกำลังมาก สามารถพัดพาสิ่งที่ขวางหน้า เช่นกิ่งไปได้ เหมือนกับจิตที่เป็นสมาธิซึ่งแน่วแน่ พุ่งไปทางเดียว ก็มีกำลังมาก

นี้เป็นคุณสมบัติของจิตที่เป็นสมาธิประการที่หนึ่ง ซึ่งเป็นที่นิยมกันมาก อย่างพวกนักบวชก่อนพุทธกาล ชอบเอาจิตที่เป็นสมาธิไปใช้พัฒนาอิทธิฤทธิ์ปาฏิหาริย์ที่เป็นด้านพลังจิต


๒. ทำให้จิตใส ถ้าเราเอาภาชนะตักน้ำจากบ่อจากสระหรือหลุมน้ำข้างทางที่ขุ่น มีฝุ่นละอองมีดินละลายปนอยู่ข้นคลั่ก มองไม่เห็นอะไรเลย เอาไปตั้งไว้ในที่นิ่งสนิทไม่มีลมพัดไหว และที่นั้นก็มั่นคงไม่หวั่นไหว ตั้งอยู่ไม่นาน ตะกอนก็ตกก้นหมด น้ำก็ใสแจ๋ว มีอะไรในน้ำก็มองเห็นชัดเจน

เปรียบเหมือนกับจิตของเรา ที่ฟุ้งซ่านพล่านอยู่ด้วยอารมณ์ต่างๆมากมาย เรื่องราวอารมณ์ต่างๆ เหล่านั้นวุ่นวาย บังกันไปบังกันมา มองอะไรไม่ชัดเจน
แต่พอเราทำจิตให้เป็นสมาธิ เหลืออารมณ์เดียวที่ต้องการ อารมณ์อื่นตกตะกอนนอนนิ่งหมด จิตก็ใสไม่มีอะไรบัง เราก็มองเห็นสิ่งนั้นชัดเจน


ฉะนั้น จิตที่เป็นสมาธิจึงเอื้อต่อปัญญา ทำให้มองเห็นตามเป็นจริง ดังพุทธพจน์ที่ว่า สมาหิโต ยถาภูตํ ปชานาติ แปลว่า ผู้มีจิตตั้งมั่นเป็นสมาธิจะรู้เข้าใจตามเป็นจริง (สํ.ข.27/27 สํ.สฬ.18/147 สํ.ม.19/1654 องฺ.เอกาทสก. 24/209)

แต่ไม่ใช่ว่า เกิดสมาธิแล้วจะเกิดปัญญาเองนะ หลายคนเข้าใจผิด ถ้าอย่างนั้น อาฬารดาบส และอุทกดาบส ก็รู้แจ้งสัจจธรรมหมดสิ เพราะท่านได้สมาธิสูงลึกซึ้งถึงอรูปฌาน ถ้าเข้าใจว่าได้สมาธิแล้วจะเกิดปัญญาเอง ก็ไม่ถูก


จิตที่เป็นสมาธิ เปรียบเหมือนน้ำที่ใส ปัญญาเหมือนนัยน์ตา เมื่อน้ำใส นัยน์ตาก็มองเห็นสิ่งทั้งหลายน้ำได้ชัด แต่ถึงแม้ว่าน้ำใส แต่ตาไม่มีหรือไม่มอง ก็มองไม่เห็นอยู่นั่นเอง

พระพุทธเจ้าตรัสอุปมาไว้ ขอยกพุทธพจน์มาให้ดูเอง ดังนี้

ภิกษุทั้งหลาย เปรียบเหมือนห้วงน้ำ ที่ใสแจ๋ว ไม่ขุ่นมัวเลย คนตาดียืนอยู่บนฝั่ง ก็จะเห็นได้ แม้ซึ่งหอยโข่ง หอยกาบ แม้ซึ่งก้อนหิน ก้อนกรวด แม้ซึ่งฝูงปลา ที่กำลังแหวกว่ายอยู่ก็ตาม กำลังหยุดอยู่ก็ตาม ในห้วงน้ำนั้น ด้วยจิตที่ไม่ขุ่นมัว ก็จักรู้ได้ซึ่งประโยชน์ตน จักรู้ได้ซึ่งประโยชน์ผู้อื่น จักรู้ได้ซึ่งประโยชน์ทั้งสองฝ่าย จักประจักษ์แจ้งได้ซึ่งคุณวิเศษล้ำมนุษย์สามัญ กล่าวคือญาณทัสสนะ ที่สามารถทำให้เป็นอริยชน...” * (องฺ.เอก.27/40)

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


แก้ไขล่าสุดโดย กรัชกาย เมื่อ 11 ก.ค. 2018, 18:38, แก้ไขแล้ว 1 ครั้ง

โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 11 ก.ค. 2018, 18:09 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


ต่อ

อนึ่ง จิตที่เป็นสมาธิเอื้อต่อการเกิดปัญญา ไม่ใช่หมายความว่า ทำให้เกิดปัญญาขึ้นมาเอง ปัญญาเกิดจากสมาธิได้นั้น เพราะเรามีเรื่องที่คิดพิจารณาหรือมองเห็นอยู่ เราพยายามมองเพ่งพินิจมัน แต่อารมณ์ต่างๆมันมาบังกัน อารมณ์อื่นๆ ที่ไม่เกี่ยวข้องว่างหายไป เหลือแต่สิ่งที่ต้องการมอง นี่คือจิตใส เรามองอยู่ก็จึงเห็นสิ่งนั้นชัดเจน

จะเห็นว่า บางครั้งเราคิดปัญหาบางอย่างอยู่นาน ยังไม่ได้คำตอบ จนเปลี่ยนไปทำอะไรอื่นๆ ต่อมาขณะที่กำลังว่างๆ นั่งสงบในที่บรรยากาศดี บางทีคำตอบในเรื่องนี้ก็ผุดโพลงขึ้นมา นี่เพราะจิตที่คิดอยู่สงบแน่วแน่ลง ก็ใสกระจ่างแจ่มแจ้งขึ้นมานั่นเอง


๓. ทำให้จิตสงบ ข้อนี้ชัดอยู่แล้ว จิตที่เป็นสมาธินั้นตั้งมั่นแน่วแน่อยู่กับสิ่งหนึ่งสิ่งเดียวที่ต้องการ เป็นจิตที่อยู่ตัว ลงตัว เข้าที่ สมดุล ไม่ฟุ้งซ่าน ไม่ว้าวุ่น ไม่พล่าน ไม่ขุ่นมัว ไม่เดือดร้อน ไม่มีอะไรกวน ก็ย่อมสงบ และมีความสุข ตอนนี้ถ้าจะพักผ่อน ก็พักผ่อนได้เต็มที่

ประโยชน์ที่ต้องการของสมาธิอยู่ที่ไหน พระพุทธเจ้าตรัสว่าเมื่อจิตเป็นสมาธิแล้ว จิตนั้นก็เป็น “กัมมนีย์” คือเหมาะแก่งาน ใช้งานได้ดี มีประสิทธิภาพ แล้วแต่จะเอาไปใช้อะไร

แต่งานสำคัญที่ต้องการในพระพุทธศาสนา ก็คือ งานทางปัญญาเพราะจะบรรลุจุดหมายของพระพุทธศาสนาด้วยปัญญา แต่ปัญญาจะทำงานได้ดี จะมองเห็นชัดเจน ก็ต้องอาศัยจิตที่เป็นสมาธิผ่องใส

ถ้าเราใช้จิตสมาธิเพื่อประโยชน์ทางปัญญาตามหลักพระพุทธศาสนา คุณสมบัติทั้งสามด้านของจิตสมาธิก็มาเสริมกันเอง ให้ทำงานได้ผลเต็มที่ คือ ลักษณะด้านที่ ๒ เป็นหลัก


หมายความว่า จิตที่ใสเป็นสมาธิ เอื้อต่อการใช้ปัญญา และเอื้อต่อการมองเห็นด้วยปัญญา แล้วลักษณะที่ ๑ มาช่วย ทำให้จิตนั้นมีกำลังอีก การใช้ปัญญาในจิตที่มีกำลังด้วยก็ยิ่งชัดเจนและเดินหน้า แล้วยังมีลักษณะที่ ๓ ความสงบช่วยด้วย โดยไม่มีอะไรกวน ไม่มีอะไรที่จะมาทำให้สั่นให้ไหวมายั่วมาล่อออกไป การใช้ปัญญาก็ยิ่งได้ผล


ดังนั้น ลักษณะของสมาธิ ๓ อย่างนี้ จะต้องใช้ให้ถูกต้อง เมื่อใดรู้ธรรมแจ้งจบแล้ว การใช้ประโยชน์ก็มาอยู่ที่ลักษณะที่ ๓ มาก เหมือนอย่างพระพุทธเจ้าตรัสรู้แล้ว พระองค์ก็ไม่จำเป็นต้องใช้ประโยชน์จากสมาธิในแง่ที่สองที่จะต้องพัฒนาปัญญา เพราะว่าพระองค์ได้ตรัสรู้แล้ว


เมื่อพระองค์เสด็จไปบำเพ็ญพุทธกิจมาเสร็จแล้ว ก็พักผ่อนด้วยการเข้าฌาน ดังที่เรียกว่าเป็นทิฏฐธรรมสุขวิหาร แปลว่า ธรรมเครื่องอยู่เป็นสุขในปัจจุบัน คือ สำหรับพักผ่อน เป็นการใช้สมาธิในความหมายที่ ๓ แต่พระพุทธเจ้าหลุดพ้นจากกิเลสหมดแล้ว จึงไม่มีทางเป็นไปได้ที่จะติดเพลินสมาธินั้น และไม่มีทางที่จะประมาท

ส่วนชาวพุทธทั่วๆไปหยุดไม่ได้ ต้องก้าวต่อไป โดยใช้สมาธิเป็นตัวเอื้อ ช่วยเกื้อหนุนให้เดินหน้าไปในไตรสิกขา (คือ ศีล สมาธิ ปัญญา)

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 11 ก.ค. 2018, 18:18 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


เท่าที่สนทนาปราศัยกันมา จึงมั่นใจว่า คุณโรสไม่เข้าใจ :b13: :b32:

แค่พูดอาจไม่เชื่อ ให้ทำข้อสอบเลย

อ้างคำพูด:
เวลาผมนั่งสมาธิ พอภาวนาไปซักพัก เริ่มตัดภาวนาไปแล้วทีนี้ก็จะเกิดอาการขนลุกเย็นทั้งตัว แล้วหลังจากนั้นก็จะมีภาพ คน สัตว์ แมลง ที่เราเคยทำร้ายเคยทำให้เค้าตาย หรือเจ็บลอยมาให้เห็น คือ แปลกใจว่า บางเรื่องเป็นเรื่องที่นานมากบางเรื่องเป็นเรื่องสมัยเด็กๆอยู่ด้วยซ้ำ ซึ่งบางทีนึกถึงยังนึกไม่ออกเลย เพราะนานมาก แต่พอมานั่งสมาธิ ก็ลอยมาให้เห็นเฉยเลย


เป็นไงคุณโรส เขาจะไปเกิดเป็นพรหมในพรหมโลกไหม :b12:

ให้มองหลายๆมุม เอานี่ด้วย

อ้างคำพูด:
ไปบวชก่อนนั่งสมาธิมีหน้าคนๆหนึ่งลอยมาในหัวคืออะไรคะ

เราไปบวชเนกขัมมะสามวันสองคืนเป็นวัดกรรมฐานเน้นนั่งสมาธิ เพื่อสงบจิตใจที่รู้สึกไม่ดีช่วงนึง
ช่วงที่กำลังจะนั่งสมาธิ เราพยายามปล่อยให้ใจว่างไม่คิดอะไร ท่องพุธโท กำหนดลมหายใจเข้าออก
แต่ช่วงก่อน เริ่มนั่งสมาธิ ใจเราไม่สงบ มันมีหน้าคนคนนึงเข้ามาในหัว และสลัดออกยากมาก คือหลับตาก็ฝุดขึ้นมา
คืออยากรู้ว่า ทำไมทั้งที่เราไม่ได้นึก และตั้งใจทำสมาธิกำหนดจิต เหมือนเวลาจะทำอะไรมันจะลอยขึ้นมา
มีใครเคยเป็นบ้างไหม ? อยากรู้เพราะอะไร ?


เข้าใจว่ายังไง เกิดดับ กระพริบตา แต่ละขณะ แสงสีเสียง คำตถาคต ยังไงว่าไปสิครับ

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 11 ก.ค. 2018, 18:49 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 29 ต.ค. 2009, 15:06
โพสต์: 7517

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
Rosarin เขียน:
Kiss
:b12:
คนอะไรดื้อไม่คิดก็บอกว่าให้คิดให้รอบคอบ
รู้จักตัวเองไหมว่าอยู่ภพภูมิไหนมีโอกาสเกิด
เป็นคนแล้วอีตอนอยู่พรหมโลกเบื่ออยากมา
ฟังธรรมในเมืองมนุษย์555ก็มาหลงทำแบบ
จะได้กลับไปพรหมโลกอีกกิเลสไหมก็ไม่รู้
พระพุทธเจ้าสอนผู้ที่สนใจฟังเท่านั้นและ
ทรงทราบว่ากลุ่มไหนไม่ฟังก็ไม่ไปโปรด
อ่านเจอไหมใน3ปิฎกน่ะตอนนี้หายตัวได้รึ
ถึงบอกแล้วก็ยังจะมามัวคิดเองอยู่ได้นั่นน่ะ
:b32: :b32: :b32:



ก็ไปคิดสะยังงั้น คิกๆๆ แหมๆ ทำฌานแล้วจะไปเกิดเป็นพรหมในพรหมโลกโน้น :b32: ก็อย่างที่บอก ฌาน มันก็คือสมาธิ สมถะมันก็สมาธิ องค์ธรรมได้แก่ สมาธิ นี่เอง
มันเป็นระดับของจิต ยกตัวอย่างนะ พอมองออก กามภูมิ รูปภูมิ อรูปภูมิ มันเป็นระดับของจิตที่พัฒนาเป็นขั้นๆ กามภพ รูปภพ อรูปภพ ก็เช่นกัน รูปฌาน อรูปฌาน ก็ทำนองเดียวกัน

Kiss
:b32:
พ้นกิเลสไหมล่ะคะรูปฌานอรูปฌานนั้นน่ะ
ปัญญาเกิดตามลำดับผ่านการฟังคำสอน
ทุกคนต้องฟังด้วยหูตนเองจึงจะมีปัญญา
เข้าใจยากจริงๆนะคนไม่เคยฟังคำสอน
รู้จักความปกติเป็นปกติของจิตไหมคะ
จิตกำลังเกิดดับสลับกันมีแล้วแต่ไม่รู้
ปกติลืมตาเห็นยังไม่รู้แล้วไปเพื่อทำ
สิ่งที่ยังไม่มีเพราะต้องตามรู้จักจิต
ตรงที่กำลังมีเพื่อละไม่รู้จึงมีปัญญา
ปัญญาเกิดได้ตอนพึ่งคิดตามคำจริง
แล้วเข้าใจความจริงตรงที่กายใจกำลังมี
ตรงตามที่กำลังฟังเพื่อทำความคิดเห็นถูกตามคำสอนค่ะ
:b4: :b4:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 11 ก.ค. 2018, 18:52 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


Rosarin เขียน:
กรัชกาย เขียน:
Rosarin เขียน:
Kiss
:b12:
คนอะไรดื้อไม่คิดก็บอกว่าให้คิดให้รอบคอบ
รู้จักตัวเองไหมว่าอยู่ภพภูมิไหนมีโอกาสเกิด
เป็นคนแล้วอีตอนอยู่พรหมโลกเบื่ออยากมา
ฟังธรรมในเมืองมนุษย์555ก็มาหลงทำแบบ
จะได้กลับไปพรหมโลกอีกกิเลสไหมก็ไม่รู้
พระพุทธเจ้าสอนผู้ที่สนใจฟังเท่านั้นและ
ทรงทราบว่ากลุ่มไหนไม่ฟังก็ไม่ไปโปรด
อ่านเจอไหมใน3ปิฎกน่ะตอนนี้หายตัวได้รึ
ถึงบอกแล้วก็ยังจะมามัวคิดเองอยู่ได้นั่นน่ะ
:b32: :b32: :b32:



ก็ไปคิดสะยังงั้น คิกๆๆ แหมๆ ทำฌานแล้วจะไปเกิดเป็นพรหมในพรหมโลกโน้น :b32: ก็อย่างที่บอก ฌาน มันก็คือสมาธิ สมถะมันก็สมาธิ องค์ธรรมได้แก่ สมาธิ นี่เอง
มันเป็นระดับของจิต ยกตัวอย่างนะ พอมองออก กามภูมิ รูปภูมิ อรูปภูมิ มันเป็นระดับของจิตที่พัฒนาเป็นขั้นๆ กามภพ รูปภพ อรูปภพ ก็เช่นกัน รูปฌาน อรูปฌาน ก็ทำนองเดียวกัน

Kiss
:b32:
พ้นกิเลสไหมล่ะคะรูปฌานอรูปฌานนั้นน่ะ
ปัญญาเกิดตามลำดับผ่านการฟังคำสอน
ทุกคนต้องฟังด้วยหูตนเองจึงจะมีปัญญา
เข้าใจยากจริงๆนะคนไม่เคยฟังคำสอน
รู้จักความปกติเป็นปกติของจิตไหมคะ
จิตกำลังเกิดดับสลับกันมีแล้วแต่ไม่รู้
ปกติลืมตาเห็นยังไม่รู้แล้วไปเพื่อทำ
สิ่งที่ยังไม่มีเพราะต้องตามรู้จักจิต
ตรงที่กำลังมีเพื่อละไม่รู้จึงมีปัญญา
ปัญญาเกิดได้ตอนพึ่งคิดตามคำจริง
แล้วเข้าใจความจริงตรงที่กายใจกำลังมี
ตรงตามที่กำลังฟังเพื่อทำความคิดเห็นถูกตามคำสอนค่ะ
:b4: :b4:



กิเลสที่คุณคิดถึงพูดถึง มันอะไรยังไงขอรับ เอาชัดๆ เอ้า อะไร กิเลส หรือที่ว่าเกิดดับเป็นกิเลส ขี้เหม็นเป็นกิเลส ขอคำยืนยัน

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 11 ก.ค. 2018, 20:45 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 29 ต.ค. 2009, 15:06
โพสต์: 7517

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
Rosarin เขียน:
กรัชกาย เขียน:
Rosarin เขียน:
Kiss
:b12:
คนอะไรดื้อไม่คิดก็บอกว่าให้คิดให้รอบคอบ
รู้จักตัวเองไหมว่าอยู่ภพภูมิไหนมีโอกาสเกิด
เป็นคนแล้วอีตอนอยู่พรหมโลกเบื่ออยากมา
ฟังธรรมในเมืองมนุษย์555ก็มาหลงทำแบบ
จะได้กลับไปพรหมโลกอีกกิเลสไหมก็ไม่รู้
พระพุทธเจ้าสอนผู้ที่สนใจฟังเท่านั้นและ
ทรงทราบว่ากลุ่มไหนไม่ฟังก็ไม่ไปโปรด
อ่านเจอไหมใน3ปิฎกน่ะตอนนี้หายตัวได้รึ
ถึงบอกแล้วก็ยังจะมามัวคิดเองอยู่ได้นั่นน่ะ
:b32: :b32: :b32:



ก็ไปคิดสะยังงั้น คิกๆๆ แหมๆ ทำฌานแล้วจะไปเกิดเป็นพรหมในพรหมโลกโน้น :b32: ก็อย่างที่บอก ฌาน มันก็คือสมาธิ สมถะมันก็สมาธิ องค์ธรรมได้แก่ สมาธิ นี่เอง
มันเป็นระดับของจิต ยกตัวอย่างนะ พอมองออก กามภูมิ รูปภูมิ อรูปภูมิ มันเป็นระดับของจิตที่พัฒนาเป็นขั้นๆ กามภพ รูปภพ อรูปภพ ก็เช่นกัน รูปฌาน อรูปฌาน ก็ทำนองเดียวกัน

Kiss
:b32:
พ้นกิเลสไหมล่ะคะรูปฌานอรูปฌานนั้นน่ะ
ปัญญาเกิดตามลำดับผ่านการฟังคำสอน
ทุกคนต้องฟังด้วยหูตนเองจึงจะมีปัญญา
เข้าใจยากจริงๆนะคนไม่เคยฟังคำสอน
รู้จักความปกติเป็นปกติของจิตไหมคะ
จิตกำลังเกิดดับสลับกันมีแล้วแต่ไม่รู้
ปกติลืมตาเห็นยังไม่รู้แล้วไปเพื่อทำ
สิ่งที่ยังไม่มีเพราะต้องตามรู้จักจิต
ตรงที่กำลังมีเพื่อละไม่รู้จึงมีปัญญา
ปัญญาเกิดได้ตอนพึ่งคิดตามคำจริง
แล้วเข้าใจความจริงตรงที่กายใจกำลังมี
ตรงตามที่กำลังฟังเพื่อทำความคิดเห็นถูกตามคำสอนค่ะ
:b4: :b4:



กิเลสที่คุณคิดถึงพูดถึง มันอะไรยังไงขอรับ เอาชัดๆ เอ้า อะไร กิเลส หรือที่ว่าเกิดดับเป็นกิเลส ขี้เหม็นเป็นกิเลส ขอคำยืนยัน

:b12:
ไม่รู้ความจริงทั้งหมดที่มีเดี๋ยวนี้เลยแปลว่า
ความจริงกำลังปรากฏกับอวิชชาของผู้ไม่รู้
เพราะผู้รู้ระลึกตามตรงวิสยรูป7ตอนฟังแล้ว
รู้สึกตัวทั่วพร้อมเห็นกิเลสตัวเองตัวเป็นๆจะๆ
ตถาคตสอนให้รู้จักกิเลสที่กำลังมีทุกคำจริง
ที่ทรงแสดงตลอด45พรรษาเพื่อให้ผู้ฟังรู้ตัว
และแทงตลอดธรรมถูกตามได้ตอนกำลังฟัง
ถ้าไม่สะสมการฟังจะทราบไหมคะว่าคำไหน
คือคำวาจาสัจจะเพราะเป็นสาวกขาดฟังไม่ได้ค่ะ
เพราะปัญญาเป็นธัมมะที่ทำแบบเดิมทุกครั้งแล้วเจริญขึ้น
เหมือนตอนทำฌานที่เริ่มไปนั่งหลับตาขัดสมาธิแล้วเจริญขึ้น
ดูแผนผังสมถภาวนากับวิปัสสนาภาวนาของลุงหมานให้เข้าใจสิคะ
:b4: :b4:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 11 ก.ค. 2018, 20:48 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


Rosarin เขียน:
กรัชกาย เขียน:
Rosarin เขียน:
กรัชกาย เขียน:
Rosarin เขียน:
Kiss
:b12:
คนอะไรดื้อไม่คิดก็บอกว่าให้คิดให้รอบคอบ
รู้จักตัวเองไหมว่าอยู่ภพภูมิไหนมีโอกาสเกิด
เป็นคนแล้วอีตอนอยู่พรหมโลกเบื่ออยากมา
ฟังธรรมในเมืองมนุษย์555ก็มาหลงทำแบบ
จะได้กลับไปพรหมโลกอีกกิเลสไหมก็ไม่รู้
พระพุทธเจ้าสอนผู้ที่สนใจฟังเท่านั้นและ
ทรงทราบว่ากลุ่มไหนไม่ฟังก็ไม่ไปโปรด
อ่านเจอไหมใน3ปิฎกน่ะตอนนี้หายตัวได้รึ
ถึงบอกแล้วก็ยังจะมามัวคิดเองอยู่ได้นั่นน่ะ
:b32: :b32: :b32:



ก็ไปคิดสะยังงั้น คิกๆๆ แหมๆ ทำฌานแล้วจะไปเกิดเป็นพรหมในพรหมโลกโน้น :b32: ก็อย่างที่บอก ฌาน มันก็คือสมาธิ สมถะมันก็สมาธิ องค์ธรรมได้แก่ สมาธิ นี่เอง
มันเป็นระดับของจิต ยกตัวอย่างนะ พอมองออก กามภูมิ รูปภูมิ อรูปภูมิ มันเป็นระดับของจิตที่พัฒนาเป็นขั้นๆ กามภพ รูปภพ อรูปภพ ก็เช่นกัน รูปฌาน อรูปฌาน ก็ทำนองเดียวกัน

Kiss
:b32:
พ้นกิเลสไหมล่ะคะรูปฌานอรูปฌานนั้นน่ะ
ปัญญาเกิดตามลำดับผ่านการฟังคำสอน
ทุกคนต้องฟังด้วยหูตนเองจึงจะมีปัญญา
เข้าใจยากจริงๆนะคนไม่เคยฟังคำสอน
รู้จักความปกติเป็นปกติของจิตไหมคะ
จิตกำลังเกิดดับสลับกันมีแล้วแต่ไม่รู้
ปกติลืมตาเห็นยังไม่รู้แล้วไปเพื่อทำ
สิ่งที่ยังไม่มีเพราะต้องตามรู้จักจิต
ตรงที่กำลังมีเพื่อละไม่รู้จึงมีปัญญา
ปัญญาเกิดได้ตอนพึ่งคิดตามคำจริง
แล้วเข้าใจความจริงตรงที่กายใจกำลังมี
ตรงตามที่กำลังฟังเพื่อทำความคิดเห็นถูกตามคำสอนค่ะ
:b4: :b4:



กิเลสที่คุณคิดถึงพูดถึง มันอะไรยังไงขอรับ เอาชัดๆ เอ้า อะไร กิเลส หรือที่ว่าเกิดดับเป็นกิเลส ขี้เหม็นเป็นกิเลส ขอคำยืนยัน

:b12:
ไม่รู้ความจริงทั้งหมดที่มีเดี๋ยวนี้เลยแปลว่า
ความจริงกำลังปรากฏกับอวิชชาของผู้ไม่รู้
เพราะผู้รู้ระลึกตามตรงวิสยรูป7ตอนฟังแล้ว
รู้สึกตัวทั่วพร้อมเห็นกิเลสตัวเองตัวเป็นๆจะๆ
ตถาคตสอนให้รู้จักกิเลสที่กำลังมีทุกคำจริง
ที่ทรงแสดงตลอด45พรรษาเพื่อให้ผู้ฟังรู้ตัว
และแทงตลอดธรรมถูกตามได้ตอนกำลังฟัง
ถ้าไม่สะสมการฟังจะทราบไหมคะว่าคำไหน
คือคำวาจาสัจจะเพราะเป็นสาวกขาดฟังไม่ได้ค่ะ
เพราะปัญญาเป็นธัมมะที่ทำแบบเดิมทุกครั้งแล้วเจริญขึ้น
เหมือนตอนทำฌานที่เริ่มไปนั่งหลับตาขัดสมาธิแล้วเจริญขึ้น
ดูแผนผังสมถภาวนากับวิปัสสนาภาวนาของลุงหมานให้เข้าใจสิคะ
:b4: :b4:



นั่นก็อีกคนหนึ่ง เรียน/อ่านหนังสือแล้วเตลิด แต่ไม่อยากไปค้านมาก หัวร้อนง่าย :b32:

สมถภาวนา มันก็เรื่องของสมาธิ วิปัสสนาภาวนาเรื่องของปัญญา ที่ตำราแยกอธิบายเป็นเรื่องๆไป

แต่หลักอยู่ที่ไตรสิกขา คือ ศีล สมาธิ ปัญญา หรือ พูดอีกนัยหนึ่งก็คือ ศีล สมถะ วิปัสสนา

ศีลเพื่อสมาธิ สมาธิปัญญา ปัญญาเพื่อวิมุตติ

เห็นไหมฮะ :b1: ศึกษาแล้วอย่าหลงประเด็น กลับบ้านให้ถูก :b13:

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 11 ก.ค. 2018, 21:01 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 29 ต.ค. 2009, 15:06
โพสต์: 7517

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
Rosarin เขียน:
กรัชกาย เขียน:
Rosarin เขียน:
กรัชกาย เขียน:
Rosarin เขียน:
Kiss
:b12:
คนอะไรดื้อไม่คิดก็บอกว่าให้คิดให้รอบคอบ
รู้จักตัวเองไหมว่าอยู่ภพภูมิไหนมีโอกาสเกิด
เป็นคนแล้วอีตอนอยู่พรหมโลกเบื่ออยากมา
ฟังธรรมในเมืองมนุษย์555ก็มาหลงทำแบบ
จะได้กลับไปพรหมโลกอีกกิเลสไหมก็ไม่รู้
พระพุทธเจ้าสอนผู้ที่สนใจฟังเท่านั้นและ
ทรงทราบว่ากลุ่มไหนไม่ฟังก็ไม่ไปโปรด
อ่านเจอไหมใน3ปิฎกน่ะตอนนี้หายตัวได้รึ
ถึงบอกแล้วก็ยังจะมามัวคิดเองอยู่ได้นั่นน่ะ
:b32: :b32: :b32:



ก็ไปคิดสะยังงั้น คิกๆๆ แหมๆ ทำฌานแล้วจะไปเกิดเป็นพรหมในพรหมโลกโน้น :b32: ก็อย่างที่บอก ฌาน มันก็คือสมาธิ สมถะมันก็สมาธิ องค์ธรรมได้แก่ สมาธิ นี่เอง
มันเป็นระดับของจิต ยกตัวอย่างนะ พอมองออก กามภูมิ รูปภูมิ อรูปภูมิ มันเป็นระดับของจิตที่พัฒนาเป็นขั้นๆ กามภพ รูปภพ อรูปภพ ก็เช่นกัน รูปฌาน อรูปฌาน ก็ทำนองเดียวกัน

Kiss
:b32:
พ้นกิเลสไหมล่ะคะรูปฌานอรูปฌานนั้นน่ะ
ปัญญาเกิดตามลำดับผ่านการฟังคำสอน
ทุกคนต้องฟังด้วยหูตนเองจึงจะมีปัญญา
เข้าใจยากจริงๆนะคนไม่เคยฟังคำสอน
รู้จักความปกติเป็นปกติของจิตไหมคะ
จิตกำลังเกิดดับสลับกันมีแล้วแต่ไม่รู้
ปกติลืมตาเห็นยังไม่รู้แล้วไปเพื่อทำ
สิ่งที่ยังไม่มีเพราะต้องตามรู้จักจิต
ตรงที่กำลังมีเพื่อละไม่รู้จึงมีปัญญา
ปัญญาเกิดได้ตอนพึ่งคิดตามคำจริง
แล้วเข้าใจความจริงตรงที่กายใจกำลังมี
ตรงตามที่กำลังฟังเพื่อทำความคิดเห็นถูกตามคำสอนค่ะ
:b4: :b4:



กิเลสที่คุณคิดถึงพูดถึง มันอะไรยังไงขอรับ เอาชัดๆ เอ้า อะไร กิเลส หรือที่ว่าเกิดดับเป็นกิเลส ขี้เหม็นเป็นกิเลส ขอคำยืนยัน

:b12:
ไม่รู้ความจริงทั้งหมดที่มีเดี๋ยวนี้เลยแปลว่า
ความจริงกำลังปรากฏกับอวิชชาของผู้ไม่รู้
เพราะผู้รู้ระลึกตามตรงวิสยรูป7ตอนฟังแล้ว
รู้สึกตัวทั่วพร้อมเห็นกิเลสตัวเองตัวเป็นๆจะๆ
ตถาคตสอนให้รู้จักกิเลสที่กำลังมีทุกคำจริง
ที่ทรงแสดงตลอด45พรรษาเพื่อให้ผู้ฟังรู้ตัว
และแทงตลอดธรรมถูกตามได้ตอนกำลังฟัง
ถ้าไม่สะสมการฟังจะทราบไหมคะว่าคำไหน
คือคำวาจาสัจจะเพราะเป็นสาวกขาดฟังไม่ได้ค่ะ
เพราะปัญญาเป็นธัมมะที่ทำแบบเดิมทุกครั้งแล้วเจริญขึ้น
เหมือนตอนทำฌานที่เริ่มไปนั่งหลับตาขัดสมาธิแล้วเจริญขึ้น
ดูแผนผังสมถภาวนากับวิปัสสนาภาวนาของลุงหมานให้เข้าใจสิคะ
:b4: :b4:



นั่นก็อีกคนหนึ่ง เรียน/อ่านหนังสือแล้วเตลิด แต่ไม่อยากไปค้านมาก หัวร้อนง่าย :b32:

สมถภาวนา มันก็เรื่องของสมาธิ วิปัสสนาภาวนาเรื่องของปัญญา ที่ตำราแยกอธิบายเป็นเรื่องๆไป

แต่หลักอยู่ที่ไตรสิกขา คือ ศีล สมาธิ ปัญญา หรือ พูดอีกนัยหนึ่งก็คือ ศีล สมถะ วิปัสสนา

ศีลเพื่อสมาธิ สมาธิปัญญา ปัญญาเพื่อวิมุตติ

เห็นไหมฮะ :b1: ศึกษาแล้วอย่าหลงประเด็น กลับบ้านให้ถูก :b13:

ศีลคือเจตสิกเกิดได้ทั้งฝ่ายกุศลและฝ่ายอกุศล
สมาธิคือเจตสิกเกิดได้ทั้งฝ่ายมิจฉาสมาธิและสัมมาสมาธิ
ปัญญาคือเจตสิกเกิดกับกุศลเท่านั้นดับกิเลสอวิชชา
ถ้าไม่ได้กำลังระลึกตามคำสอนแปลว่ากิเลสไหลไม่ขาดสายเลยที่ไม่รู้1สัจจะที่มี
ทั้ง3คือตัวธัมมะที่เกิดดับพร้อมจิตทีละ1ขณะแต่กุศลกับอกุศลไม่เกิดร่วมกันค่ะ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 12 ก.ค. 2018, 12:32 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


Rosarin เขียน:
กรัชกาย เขียน:
Rosarin เขียน:
กรัชกาย เขียน:
Rosarin เขียน:
กรัชกาย เขียน:
Rosarin เขียน:
Kiss
:b12:
คนอะไรดื้อไม่คิดก็บอกว่าให้คิดให้รอบคอบ
รู้จักตัวเองไหมว่าอยู่ภพภูมิไหนมีโอกาสเกิด
เป็นคนแล้วอีตอนอยู่พรหมโลกเบื่ออยากมา
ฟังธรรมในเมืองมนุษย์555ก็มาหลงทำแบบ
จะได้กลับไปพรหมโลกอีกกิเลสไหมก็ไม่รู้
พระพุทธเจ้าสอนผู้ที่สนใจฟังเท่านั้นและ
ทรงทราบว่ากลุ่มไหนไม่ฟังก็ไม่ไปโปรด
อ่านเจอไหมใน3ปิฎกน่ะตอนนี้หายตัวได้รึ
ถึงบอกแล้วก็ยังจะมามัวคิดเองอยู่ได้นั่นน่ะ
:b32: :b32: :b32:



ก็ไปคิดสะยังงั้น คิกๆๆ แหมๆ ทำฌานแล้วจะไปเกิดเป็นพรหมในพรหมโลกโน้น :b32: ก็อย่างที่บอก ฌาน มันก็คือสมาธิ สมถะมันก็สมาธิ องค์ธรรมได้แก่ สมาธิ นี่เอง
มันเป็นระดับของจิต ยกตัวอย่างนะ พอมองออก กามภูมิ รูปภูมิ อรูปภูมิ มันเป็นระดับของจิตที่พัฒนาเป็นขั้นๆ กามภพ รูปภพ อรูปภพ ก็เช่นกัน รูปฌาน อรูปฌาน ก็ทำนองเดียวกัน

Kiss
:b32:
พ้นกิเลสไหมล่ะคะรูปฌานอรูปฌานนั้นน่ะ
ปัญญาเกิดตามลำดับผ่านการฟังคำสอน
ทุกคนต้องฟังด้วยหูตนเองจึงจะมีปัญญา
เข้าใจยากจริงๆนะคนไม่เคยฟังคำสอน
รู้จักความปกติเป็นปกติของจิตไหมคะ
จิตกำลังเกิดดับสลับกันมีแล้วแต่ไม่รู้
ปกติลืมตาเห็นยังไม่รู้แล้วไปเพื่อทำ
สิ่งที่ยังไม่มีเพราะต้องตามรู้จักจิต
ตรงที่กำลังมีเพื่อละไม่รู้จึงมีปัญญา
ปัญญาเกิดได้ตอนพึ่งคิดตามคำจริง
แล้วเข้าใจความจริงตรงที่กายใจกำลังมี
ตรงตามที่กำลังฟังเพื่อทำความคิดเห็นถูกตามคำสอนค่ะ
:b4: :b4:



กิเลสที่คุณคิดถึงพูดถึง มันอะไรยังไงขอรับ เอาชัดๆ เอ้า อะไร กิเลส หรือที่ว่าเกิดดับเป็นกิเลส ขี้เหม็นเป็นกิเลส ขอคำยืนยัน

:b12:
ไม่รู้ความจริงทั้งหมดที่มีเดี๋ยวนี้เลยแปลว่า
ความจริงกำลังปรากฏกับอวิชชาของผู้ไม่รู้
เพราะผู้รู้ระลึกตามตรงวิสยรูป7ตอนฟังแล้ว
รู้สึกตัวทั่วพร้อมเห็นกิเลสตัวเองตัวเป็นๆจะๆ
ตถาคตสอนให้รู้จักกิเลสที่กำลังมีทุกคำจริง
ที่ทรงแสดงตลอด45พรรษาเพื่อให้ผู้ฟังรู้ตัว
และแทงตลอดธรรมถูกตามได้ตอนกำลังฟัง
ถ้าไม่สะสมการฟังจะทราบไหมคะว่าคำไหน
คือคำวาจาสัจจะเพราะเป็นสาวกขาดฟังไม่ได้ค่ะ
เพราะปัญญาเป็นธัมมะที่ทำแบบเดิมทุกครั้งแล้วเจริญขึ้น
เหมือนตอนทำฌานที่เริ่มไปนั่งหลับตาขัดสมาธิแล้วเจริญขึ้น
ดูแผนผังสมถภาวนากับวิปัสสนาภาวนาของลุงหมานให้เข้าใจสิคะ
:b4: :b4:



นั่นก็อีกคนหนึ่ง เรียน/อ่านหนังสือแล้วเตลิด แต่ไม่อยากไปค้านมาก หัวร้อนง่าย :b32:

สมถภาวนา มันก็เรื่องของสมาธิ วิปัสสนาภาวนาเรื่องของปัญญา ที่ตำราแยกอธิบายเป็นเรื่องๆไป

แต่หลักอยู่ที่ไตรสิกขา คือ ศีล สมาธิ ปัญญา หรือ พูดอีกนัยหนึ่งก็คือ ศีล สมถะ วิปัสสนา

ศีลเพื่อสมาธิ สมาธิปัญญา ปัญญาเพื่อวิมุตติ

เห็นไหมฮะ :b1: ศึกษาแล้วอย่าหลงประเด็น กลับบ้านให้ถูก :b13:

ศีลคือเจตสิกเกิดได้ทั้งฝ่ายกุศลและฝ่ายอกุศล
สมาธิคือเจตสิกเกิดได้ทั้งฝ่ายมิจฉาสมาธิและสัมมาสมาธิ
ปัญญาคือเจตสิกเกิดกับกุศลเท่านั้นดับกิเลสอวิชชา
ถ้าไม่ได้กำลังระลึกตามคำสอนแปลว่ากิเลสไหลไม่ขาดสายเลยที่ไม่รู้1สัจจะที่มี
ทั้ง3คือตัวธัมมะที่เกิดดับพร้อมจิตทีละ1ขณะแต่กุศลกับอกุศลไม่เกิดร่วมกันค่ะ



ขอข้อเดียว เอาชัดๆนะขอรับ

ศีล ว่าไปสิมีอะไรบ้าง

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


แสดงโพสต์จาก:  เรียงตาม  
กลับไปยังกระทู้  [ 120 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8  ต่อไป

เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


 ผู้ใช้งานขณะนี้

่กำลังดูบอร์ดนี้: ไม่มีสมาชิก และ บุคคลทั่วไป 1 ท่าน


ท่าน ไม่สามารถ โพสต์กระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ตอบกระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แก้ไขโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ลบโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แนบไฟล์ในบอร์ดนี้ได้

ค้นหาสำหรับ:
ไปที่:  
Google
ทั่วไป เว็บธรรมจักร


cron