วันเวลาปัจจุบัน 19 ก.ค. 2025, 22:55  



เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง




กระทู้นี้ถูกล็อก คุณไม่สามารถแก้ไขข้อความ หรือ ตอบกลับในกระทู้นี้  [ 449 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1 ... 24, 25, 26, 27, 28, 29, 30  ต่อไป  Bookmark and Share
เจ้าของ ข้อความ
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 14 ธ.ค. 2017, 09:16 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


หลังจากช่วยชาวนาไม่ให้ทำนาแล้ว ถึงทีชาวสวนยางมั่ง

นายกฯ ไฟเขียว 1.26 หมื่นล้าน ดันราคายาง – แจก 4 พันบาท/ราย หากเข้าโครงการงดกรีด-เลิกปลูก

https://www.khaosod.co.th/economics/news_665840

แต่ครั้งหนึ่งค้านว่า

https://scontent.fbkk5-5.fna.fbcdn.net/ ... e=5AD36B4F

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 14 ธ.ค. 2017, 19:38 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 25 เม.ย. 2009, 02:43
โพสต์: 12232


 ข้อมูลส่วนตัว


อ้างคำพูด:
https://prachatai.com/journal/2014/12/56831
พีร์ พงศ์พิพัฒนพันธุ์

จากข้อมูลในอดีตสินค้าเกษตรที่รัฐบาลอเมริกันให้การอุดหนุนด้านงบประมาณมากที่สุด ได้แก่ น้ำตาล ที่รัฐให้การอุดหนุนมากถึง 55 เปอร์เซ็นต์ของราคาสินค้าในตลาด หรืออย่างพืชน้ำมัน (oilseeds) ที่รัฐให้การอุดหนุนเพื่อให้เกษตรกรอยู่ได้ ในอัตรา 22 เปอร์เซ็นต์ของราคาตลาด ขณะเดียวกันข้อมูลในอดีตยังแสดงให้เห็นว่า รัฐอเมริกันให้การสนับสนุนเกษตรกรที่ปลูกสินค้าบางตัวในอัตราที่สูงมากเกินกว่าราคาสินค้าในท้องตลาดด้วยซ้ำ ขณะที่สินค้าบางรายการที่รัฐให้การสนับสนุนในอัตราที่ต่ำก็มีเช่นกัน เช่น ต่ำกว่า 5 เปอร์เซ็นต์ เป็นต้น

ในประเทศกลุ่ม OECD หรือประเทศที่มีรายได้เฉลี่ยตัวหัวสูง อัตราการสนับสนุนสินค้าจำพวกเมล็ดต่างๆ พืชน้ำมัน และน้ำตาล อยู่ที่ 31 เปอร์เซ็นต์ ซึ่งยังเป็นอัตราที่สูงเมื่อเทียบอัตราการให้การสนับสนุนของหลายประเทศกำลังพัฒนา โดยวิธีการสนับสนุน ได้แก่ การอัดฉีดเงินอุดหนุนถึงเกษตรกรโดยตรงและผ่านการตั้งกำแพงภาษี เพื่อกันไม่ได้สินค้าเกษตรจากต่างประเทศเข้าไปแข่งขันได้ โดยเฉพาะสินค้าข้าวที่รัฐบาลของประเทศ OECD เคยให้การสนับสนุนในบางครั้งถึงประมาณ 80 เปอร์เซ็นต์ของราคาข้าวในตลาด ซึ่งหมายถึงว่าสำหรับสินค้าข้าวนั้น รัฐบาลของประเทศส่วนใหญ่ให้การอุดหนุนสูงที่สุดเมื่อเทียบกับสินค้าเกษตรตัวอื่นๆ

ควรทราบด้วยว่า รัฐบาลของ 2 ประเทศในเอเชีย คือ ญี่ปุ่นและเกาหลีใต้ ให้เงินอุดหนุนชาวนาอย่างต่อเนื่องมากที่สุด ในอัตรา 65-75 เปอร์เซ็นต์ ขณะประเทศในกลุ่มสหภาพยุโรปให้การอุดหนุนสินค้าเกษตรอัตราเฉลี่ย 35 เปอร์เซ็นต์ของมูลค้าสินค้าในตลาด วิธีการให้การอุดหนุนก็มีตั้งแต่วิธีการทางตรงคือ ให้เงินเกษตรกรและวิธีการทางอ้อม คือ ผ่านมาตรการด้านภาษี

อาจารย์ Daniel A. Sumner แห่ง มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนียเดวิส (U.C. Davis) สรุปวิธีการอุดหนุนสินค้าเกษตรว่า โดยทั่วไปประเทศต่างๆ ให้การอุดหนุนสินค้าเกษตร 6 วิธี ได้แก่

1. รัฐจ่ายเงินให้กับเกษตรกรหรือเจ้าของที่ดิน

2. รัฐอุดหนุนราคาสินค้าด้วยการเป็นผู้ซื้อสินค้าเกษตรเสียเอง เก็บไว้ก่อนนำไปขาย เช่น โครงการรับจำนำสินค้าเกษตร เป็นต้น

3. รัฐกำหนดราคาขั้นต่ำในการรับซื้อสินค้าเกษตร โดยอาศัยเกณฑ์เรื่องสถานที่ของสินค้าเกษตรชนิดนั้นๆ เกณฑ์เรื่องการระยะเวลาการสิ้นสุดการใช้สินค้าเกษตรชนิดนั้นๆ หรือเกณฑ์เรื่องลักษณะจำเพาะของสินค้าเกษตรชนิดนั้นๆ

4. รัฐเป็นผู้รับประกันความเสี่ยงในด้านต่างๆ ในการปลูกพืชผลทางการเกษตร เช่น ช่วยเหลือในยามที่เกิดความเสียหายจากภัยธรรมชาติ สนับสนุนด้วยการให้เครดิตด้านการตลาด หรือการสนับสนุนด้านชลประทาน เป็นต้น

5. รัฐกำหนดมาตรการสนับสนุนด้านการส่งออกสินค้าเกษตร และ

6. รัฐตั้งกำแพงภาษีศุลกากร หรือวิธีการให้โควต้า เพื่อกีดกันสินค้าเกษตรนำเข้าจากต่างประเทศไม่ให้มาตีตลาดในประเทศ

แต่อย่างที่ทราบกัน ในโลกยุคปัจจุบัน มีแนวโน้มเป็นตลาดเสรีมากขึ้น การตั้งกำแพงภาษีเหมือนเมื่อก่อนกำลังจะใช้ไม่ได้ ดังนั้น มาตรการอุดหนุนของรัฐด้วยวิธีการอื่นๆ ก็ยังคงถูกนำมาใช้ต่อไป แต่จะเพิ่มเทคนิควิธีการมากขึ้น เช่น ในการให้การอุดหนุนสินค้าเกษตร ไม่ควรอุดหนุนสินค้าแบบเดี่ยวๆ เฉพาะสินค้าเกษตรบางตัว หากแต่ควรทำเป็นเพ็คเกจโปรแกรมอุดหนุนในระยะเวลาต่างๆ ทั้งในระยะสั้น ระยะกลางและระยะยาว เพื่อให้เกษตรกรสามารถปรับตัวหรือวางแผนในการทำการเกษตรได้อย่างเหมาะสมกับสภาพของตัวเอง

นอกจากนี้วิธีการอุดหนุนเกษตรกรอีกอย่างหนึ่ง คือ การให้เงินอุดหนุนด้วยการจำกัดพื้นที่หรือปริมาณในการทำการเกษตรของเกษตรกรในสินค้าเกษตรบางรายการ ซึ่งในอเมริกาเองก็นิยมใช้วิธีการนี้ เพราะการให้เงินอุดหนุนของรัฐโดยตรง โดยอิงกับราคาตลาดของสินค้าเกษตรนั้นๆ แบบไม่มีเงื่อนไขด้วยการจำกัดปริมาณสินค้าและพื้นที่ทำการเกษตร ส่งผลให้เกษตรกรจำนวนหนึ่งขยายพื้นที่เกษตรหรือหันไปเพิ่มปริมาณสินค้าเกษตรของตนเพื่อรับเงินอุดหนุนจากรัฐ แม้ว่าในบางกรณีรัฐจะให้เงินอุดหนุนสินค้าเกษตรประเภทที่ราคาสินค้าไม่เป็นไปตามฤดูกาลกลไกราคา เช่น อุดหนุนในช่วงที่ราคาในตลาดโลกตกต่ำ หรือไม่ก็อุดหนุนสินค้าที่ผลิตเกินความต้องการของตลาดก็ตาม ซึ่งก็จะมีการพิจารณาถึงความจำเป็นของการให้ความช่วยเหลือเกษตรกรเป็นกรณีๆ ไป

การอุดหนุนสินค้าเกษตรในอเมริกายังกระทำผ่านวิธีการปล่อยเงินกู้เพื่อทำการตลาดหรือแสวงหาวิธีการขายสินค้าเกษตรเพื่อดึงราคาให้สูงขึ้นสำหรับสินค้าเกษตรบางรายการ แม้ว่าเป็นวิธีการที่ยากในการดำเนินการ แต่นักเศรษฐศาสตร์ในอเมริกาก็เชื่อว่าหากไม่ใช้วิธีการนี้ สินค้าเกษตรหลายรายการก็จะตกต่ำมากไปกว่านี้

สรุปแล้ววิธีการอุดหนุนสินค้าเกษตรของรัฐบาลอเมริกันทั้งรัฐบาลท้องถิ่นและรัฐบาลกลางมีการใช้อยู่หลายวิธีการด้วยกัน ตามหลักการที่ว่า “สินค้าเกษตรยังคงต้องได้รับการอุดหนุนจากภาครัฐ” ส่วนหนึ่งต้องสอดคล้องกับหลักการทุนนิยมเชิงกลไกการตลาด ส่วนหนึ่งเพื่อการอยู่รอดได้ของเกษตรกรในประเทศ ทั้งที่การอุดหนุนของรัฐดังกล่าว รัฐต้องประสบกับภาวะขาดทุนด้านงบประมาณ ซึ่งเป็นการผลักภาระไปให้กับผู้เสียภาษี คือ ประชาชนทั่วไปที่มิใช่เกษตรกร

อาชีพเกษตรกรในอเมริกา จึงเป็นอาชีพที่ได้รับการอุปถัมภ์จากรัฐมาตลอดหลายทศวรรษจนถึงปัจจุบัน นอกจากสินค้ายุทธภัณฑ์แล้วสินค้าเกษตรเป็นสินค้าประเภทเดียวที่อยู่นอกเหนือกลไกการตลาด.


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 14 ธ.ค. 2017, 20:09 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กบนอกกะลา เขียน:
อ้างคำพูด:
https://prachatai.com/journal/2014/12/56831
พีร์ พงศ์พิพัฒนพันธุ์

จากข้อมูลในอดีตสินค้าเกษตรที่รัฐบาลอเมริกันให้การอุดหนุนด้านงบประมาณมากที่สุด ได้แก่ น้ำตาล ที่รัฐให้การอุดหนุนมากถึง 55 เปอร์เซ็นต์ของราคาสินค้าในตลาด หรืออย่างพืชน้ำมัน (oilseeds) ที่รัฐให้การอุดหนุนเพื่อให้เกษตรกรอยู่ได้ ในอัตรา 22 เปอร์เซ็นต์ของราคาตลาด ขณะเดียวกันข้อมูลในอดีตยังแสดงให้เห็นว่า รัฐอเมริกันให้การสนับสนุนเกษตรกรที่ปลูกสินค้าบางตัวในอัตราที่สูงมากเกินกว่าราคาสินค้าในท้องตลาดด้วยซ้ำ ขณะที่สินค้าบางรายการที่รัฐให้การสนับสนุนในอัตราที่ต่ำก็มีเช่นกัน เช่น ต่ำกว่า 5 เปอร์เซ็นต์ เป็นต้น

ในประเทศกลุ่ม OECD หรือประเทศที่มีรายได้เฉลี่ยตัวหัวสูง อัตราการสนับสนุนสินค้าจำพวกเมล็ดต่างๆ พืชน้ำมัน และน้ำตาล อยู่ที่ 31 เปอร์เซ็นต์ ซึ่งยังเป็นอัตราที่สูงเมื่อเทียบอัตราการให้การสนับสนุนของหลายประเทศกำลังพัฒนา โดยวิธีการสนับสนุน ได้แก่ การอัดฉีดเงินอุดหนุนถึงเกษตรกรโดยตรงและผ่านการตั้งกำแพงภาษี เพื่อกันไม่ได้สินค้าเกษตรจากต่างประเทศเข้าไปแข่งขันได้ โดยเฉพาะสินค้าข้าวที่รัฐบาลของประเทศ OECD เคยให้การสนับสนุนในบางครั้งถึงประมาณ 80 เปอร์เซ็นต์ของราคาข้าวในตลาด ซึ่งหมายถึงว่าสำหรับสินค้าข้าวนั้น รัฐบาลของประเทศส่วนใหญ่ให้การอุดหนุนสูงที่สุดเมื่อเทียบกับสินค้าเกษตรตัวอื่นๆ

ควรทราบด้วยว่า รัฐบาลของ 2 ประเทศในเอเชีย คือ ญี่ปุ่นและเกาหลีใต้ ให้เงินอุดหนุนชาวนาอย่างต่อเนื่องมากที่สุด ในอัตรา 65-75 เปอร์เซ็นต์ ขณะประเทศในกลุ่มสหภาพยุโรปให้การอุดหนุนสินค้าเกษตรอัตราเฉลี่ย 35 เปอร์เซ็นต์ของมูลค้าสินค้าในตลาด วิธีการให้การอุดหนุนก็มีตั้งแต่วิธีการทางตรงคือ ให้เงินเกษตรกรและวิธีการทางอ้อม คือ ผ่านมาตรการด้านภาษี

อาจารย์ Daniel A. Sumner แห่ง มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนียเดวิส (U.C. Davis) สรุปวิธีการอุดหนุนสินค้าเกษตรว่า โดยทั่วไปประเทศต่างๆ ให้การอุดหนุนสินค้าเกษตร 6 วิธี ได้แก่

1. รัฐจ่ายเงินให้กับเกษตรกรหรือเจ้าของที่ดิน

2. รัฐอุดหนุนราคาสินค้าด้วยการเป็นผู้ซื้อสินค้าเกษตรเสียเอง เก็บไว้ก่อนนำไปขาย เช่น โครงการรับจำนำสินค้าเกษตร เป็นต้น

3. รัฐกำหนดราคาขั้นต่ำในการรับซื้อสินค้าเกษตร โดยอาศัยเกณฑ์เรื่องสถานที่ของสินค้าเกษตรชนิดนั้นๆ เกณฑ์เรื่องการระยะเวลาการสิ้นสุดการใช้สินค้าเกษตรชนิดนั้นๆ หรือเกณฑ์เรื่องลักษณะจำเพาะของสินค้าเกษตรชนิดนั้นๆ

4. รัฐเป็นผู้รับประกันความเสี่ยงในด้านต่างๆ ในการปลูกพืชผลทางการเกษตร เช่น ช่วยเหลือในยามที่เกิดความเสียหายจากภัยธรรมชาติ สนับสนุนด้วยการให้เครดิตด้านการตลาด หรือการสนับสนุนด้านชลประทาน เป็นต้น

5. รัฐกำหนดมาตรการสนับสนุนด้านการส่งออกสินค้าเกษตร และ

6. รัฐตั้งกำแพงภาษีศุลกากร หรือวิธีการให้โควต้า เพื่อกีดกันสินค้าเกษตรนำเข้าจากต่างประเทศไม่ให้มาตีตลาดในประเทศ

แต่อย่างที่ทราบกัน ในโลกยุคปัจจุบัน มีแนวโน้มเป็นตลาดเสรีมากขึ้น การตั้งกำแพงภาษีเหมือนเมื่อก่อนกำลังจะใช้ไม่ได้ ดังนั้น มาตรการอุดหนุนของรัฐด้วยวิธีการอื่นๆ ก็ยังคงถูกนำมาใช้ต่อไป แต่จะเพิ่มเทคนิควิธีการมากขึ้น เช่น ในการให้การอุดหนุนสินค้าเกษตร ไม่ควรอุดหนุนสินค้าแบบเดี่ยวๆ เฉพาะสินค้าเกษตรบางตัว หากแต่ควรทำเป็นเพ็คเกจโปรแกรมอุดหนุนในระยะเวลาต่างๆ ทั้งในระยะสั้น ระยะกลางและระยะยาว เพื่อให้เกษตรกรสามารถปรับตัวหรือวางแผนในการทำการเกษตรได้อย่างเหมาะสมกับสภาพของตัวเอง

นอกจากนี้วิธีการอุดหนุนเกษตรกรอีกอย่างหนึ่ง คือ การให้เงินอุดหนุนด้วยการจำกัดพื้นที่หรือปริมาณในการทำการเกษตรของเกษตรกรในสินค้าเกษตรบางรายการ ซึ่งในอเมริกาเองก็นิยมใช้วิธีการนี้ เพราะการให้เงินอุดหนุนของรัฐโดยตรง โดยอิงกับราคาตลาดของสินค้าเกษตรนั้นๆ แบบไม่มีเงื่อนไขด้วยการจำกัดปริมาณสินค้าและพื้นที่ทำการเกษตร ส่งผลให้เกษตรกรจำนวนหนึ่งขยายพื้นที่เกษตรหรือหันไปเพิ่มปริมาณสินค้าเกษตรของตนเพื่อรับเงินอุดหนุนจากรัฐ แม้ว่าในบางกรณีรัฐจะให้เงินอุดหนุนสินค้าเกษตรประเภทที่ราคาสินค้าไม่เป็นไปตามฤดูกาลกลไกราคา เช่น อุดหนุนในช่วงที่ราคาในตลาดโลกตกต่ำ หรือไม่ก็อุดหนุนสินค้าที่ผลิตเกินความต้องการของตลาดก็ตาม ซึ่งก็จะมีการพิจารณาถึงความจำเป็นของการให้ความช่วยเหลือเกษตรกรเป็นกรณีๆ ไป

การอุดหนุนสินค้าเกษตรในอเมริกายังกระทำผ่านวิธีการปล่อยเงินกู้เพื่อทำการตลาดหรือแสวงหาวิธีการขายสินค้าเกษตรเพื่อดึงราคาให้สูงขึ้นสำหรับสินค้าเกษตรบางรายการ แม้ว่าเป็นวิธีการที่ยากในการดำเนินการ แต่นักเศรษฐศาสตร์ในอเมริกาก็เชื่อว่าหากไม่ใช้วิธีการนี้ สินค้าเกษตรหลายรายการก็จะตกต่ำมากไปกว่านี้

สรุปแล้ววิธีการอุดหนุนสินค้าเกษตรของรัฐบาลอเมริกันทั้งรัฐบาลท้องถิ่นและรัฐบาลกลางมีการใช้อยู่หลายวิธีการด้วยกัน ตามหลักการที่ว่า “สินค้าเกษตรยังคงต้องได้รับการอุดหนุนจากภาครัฐ” ส่วนหนึ่งต้องสอดคล้องกับหลักการทุนนิยมเชิงกลไกการตลาด ส่วนหนึ่งเพื่อการอยู่รอดได้ของเกษตรกรในประเทศ ทั้งที่การอุดหนุนของรัฐดังกล่าว รัฐต้องประสบกับภาวะขาดทุนด้านงบประมาณ ซึ่งเป็นการผลักภาระไปให้กับผู้เสียภาษี คือ ประชาชนทั่วไปที่มิใช่เกษตรกร

อาชีพเกษตรกรในอเมริกา จึงเป็นอาชีพที่ได้รับการอุปถัมภ์จากรัฐมาตลอดหลายทศวรรษจนถึงปัจจุบัน นอกจากสินค้ายุทธภัณฑ์แล้วสินค้าเกษตรเป็นสินค้าประเภทเดียวที่อยู่นอกเหนือกลไกการตลาด.



อย่างนี้เป็นประชานิยม หรือประชารัฐ

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 15 ธ.ค. 2017, 08:23 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


ชาวกาฬสินธุ์ถูกกั้นไม่ให้ยื่นหนังสือกับ ประยุทธ์ อีก

ศูนย์ทนายความเพื่อสิทธิมนุษยชน เผยชาวกาฬสินธุ์ผิดหวัง ถูกตำรวจกั้นไม่ให้ยื่นหนังสือขณะ ประยุทธ์ ลงพื้นที่ ขณะที่ชาวสกลนคร นักศึกษา นักกิจกรรม พลอยโดนด้วย ถูกติดตามถึงบ้าน กลัวไปยื่นหนังสือ

https://prachatai.com/journal/2017/12/7 ... um=twitter

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 15 ธ.ค. 2017, 09:19 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


ทิ้งหมัดเข้ามุม : หมดคนจน?

น่าสนใจอย่างยิ่งสำหรับแนวคิดของนายสมคิด จาตุศรีพิทักษ์ รองนายกฯ ที่ดูแลด้านเศรษฐกิจ ที่ประกาศว่ารัฐบาลจะใช้โอกาสที่มีอยู่เร่งแก้ไขปัญหาความยากจนของประเทศ

โดยมีเป้าหมายว่าในปี 2561 คนไทยจะต้องหายจน หรือไม่มีคนจนอีกแล้วในประเทศ

พร้อมเปิดเผยแนวทางว่าจะปลดล็อกกฎระเบียบเพื่อดึงเงินสะสมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น(อปท.) กว่า 2 แสนล้านบาทเอามาใช้จ่าย

ให้ตั้งโครงการแล้วเอาเงินกระจายลงไปในชุมชน เพื่อสร้างการจ้างงานและการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวชุมชน

ฟังแล้วก็เหมือนจะดูดี แต่ก็กลายเป็นคำถามว่า ปัญหาของคนจนในประเทศนี้อยู่ที่การพัฒนาเงินลงทุนไปไม่ถึงท้องถิ่นจริงหรือ

แล้วการใช้จ่ายงบประมาณปี 2561 เพียงปีเดียว จะส่งผลให้คนจนหมดประเทศได้เชียวเหรอ

หากเป็นเงินนั้น รัฐบาล คสช.ใช้จ่ายงบประมาณมาเป็นเวลา 3 ปี ตั้งงบจัดซื้อจัดจ้างไว้มากมายมหาศาล

เหตุใดคนจนในช่วง 3 ปีนี้ถึงไม่ลดลง หรือไม่หมดไปเสียที

เพราะที่จริงแล้วปัญหาความยากจนนั้นเกิดขึ้นจากโครงสร้างของสังคมที่กดทับมาเป็นเวลานาน

ไม่ว่าจะเป็นการขาดโอกาสในสังคม ทั้งเรื่องการศึกษา การสาธารณสุข การเข้าถึงทรัพยากรต่างๆ อันส่งผลให้เกิดความเหลื่อมล้ำทางสังคม

การแก้ปัญหาความยากจนจึงต้องแก้ที่โครงสร้าง ไม่ใช่การใช้เงินอัดลงไปแบบชั่วครั้งชั่วคราว

ยิ่งไปกว่านั้น เงินสะสมของอปท. เป็นเงินที่แสดงความมีเสถียรภาพการคลัง ของอปท.แต่ละแห่ง

มีไว้เพื่อให้เกิดสภาพคล่อง เป็นเงินจ่ายเงินเดือนข้าราชการ ในช่วงที่งบประมาณประจำปีเบิกจ่ายไม่ทัน

และยังมีไว้เพื่อใช้ในกรณีที่ในพื้นที่ประสบภัยพิบัติ เพื่อเบิกจ่ายใช้ได้อย่างรวดเร็วทันการณ์

การตั้งเป้าใช้เงินสะสม อปท.ให้กระจายลงไปในท้องถิ่น จึงเป็นเรื่องที่ต้องระมัดระวังไม่ให้เกิดวิกฤตทางการคลังของ อปท. และการใช้เงินผิดประเภทอันจะส่งผลเสียหายในอนาคต

ไม่เช่นนั้นการที่หวังจะแก้ปัญหาจะกลายเป็นการซ้ำเติมปัญหาให้หนักมากขึ้น

เข้าทำนองขายฝันไม่สำเร็จ บ้านเมืองยังวิกฤตไปยิ่งกว่าเดิม

https://www.khaosod.co.th/newspaper-col ... ews_641245

เห็นมีแต่นายกบนอกกะลาเท่านั้นที่เชื่อว่า ปีหน้าคนจนจะหมดประเทศ (ถ้าพูดว่าตายหมดพอโอเคร) :b32:

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 15 ธ.ค. 2017, 17:49 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


เสียงเกษตรกรต่อ ร่างพ.ร.บ.พันธุ์พืชฯ “ทำไมถึงไม่ให้เราเป็นเจ้าของบ้าง?

https://ilaw.or.th/node/4694

เกษตรกร รุ่นปู่ย่าตายาย เก็บเมล็ดพันธ์พืชไว้เพาะปลูกปีต่อไปเองได้ ไม่ต้องซื้อหาใครเขา แต่ปัจจุบันก็อย่างที่รู้ๆเห็นๆนี่ล่ะ ต้องซื้อเขาปีต่อปี

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 15 ธ.ค. 2017, 19:07 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 25 เม.ย. 2009, 02:43
โพสต์: 12232


 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:

เห็นมีแต่นายกบนอกกะลาเท่านั้นที่เชื่อว่า ปีหน้าคนจนจะหมดประเทศ (ถ้าพูดว่าตายหมดพอโอเคร) :b32:


ผมพูดตอนไหน?...เอามาให้ดูซิ?

อย่ามามุสา...เพ้อเจ้อ..จนเป็นนิสัย...ซีคุณ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 16 ธ.ค. 2017, 09:41 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กบนอกกะลา เขียน:
กรัชกาย เขียน:

เห็นมีแต่นายกบนอกกะลาเท่านั้นที่เชื่อว่า ปีหน้าคนจนจะหมดประเทศ (ถ้าพูดว่าตายหมดพอโอเคร) :b32:


ผมพูดตอนไหน?...เอามาให้ดูซิ?

อย่ามามุสา...เพ้อเจ้อ..จนเป็นนิสัย...ซีคุณ



กรัชกายเพียงว่า กบนอกกะลาเชื่อ อิอิ

หรือเชื่อว่าไม่จริงก็ว่ามา :b32:

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 16 ธ.ค. 2017, 21:25 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


รูปภาพ

https://www.facebook.com/cheeryingluck/ ... =3&theater

https://news.thaipbs.or.th/content/268485

โค่นแล้วปลูกใหม่กว่ายางจะโตกรีดได้ อย่างน้อยๆ ๑๐ ปี

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 16 ธ.ค. 2017, 22:53 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 25 เม.ย. 2009, 02:43
โพสต์: 12232


 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
กบนอกกะลา เขียน:
กรัชกาย เขียน:

เห็นมีแต่นายกบนอกกะลาเท่านั้นที่เชื่อว่า ปีหน้าคนจนจะหมดประเทศ (ถ้าพูดว่าตายหมดพอโอเคร) :b32:


ผมพูดตอนไหน?...เอามาให้ดูซิ?

อย่ามามุสา...เพ้อเจ้อ..จนเป็นนิสัย...ซีคุณ



กรัชกายเพียงว่า กบนอกกะลาเชื่อ อิอิ

หรือเชื่อว่าไม่จริงก็ว่ามา
:b32:


ก็ในเมื่อผมไม่เคยพูด...ทำไมจึงใส้ใคร้ผมละคับ?


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 17 ธ.ค. 2017, 08:35 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กบนอกกะลา เขียน:
กรัชกาย เขียน:
กบนอกกะลา เขียน:
กรัชกาย เขียน:

เห็นมีแต่นายกบนอกกะลาเท่านั้นที่เชื่อว่า ปีหน้าคนจนจะหมดประเทศ (ถ้าพูดว่าตายหมดพอโอเคร) :b32:


ผมพูดตอนไหน?...เอามาให้ดูซิ?

อย่ามามุสา...เพ้อเจ้อ..จนเป็นนิสัย...ซีคุณ



กรัชกายเพียงว่า กบนอกกะลาเชื่อ อิอิ

หรือเชื่อว่าไม่จริงก็ว่ามา
:b32:


ก็ในเมื่อผมไม่เคยพูด...ทำไมจึงใส้ใคร้ผมละคับ?


กรัชกายว่ากบเชื่อ ในเมื่อไม่เชื่อก็ว่ามาสิว่าไม่เชื่อ จะบ่นทำไมรำคาญ

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 17 ธ.ค. 2017, 08:36 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


น้ำตาชาวนา !! เมล็ดข้าวเปลือกที่ตกเกลื่อนท้องนา ต้องเก็บรวบรวมไว้สีกินประทังชีวิต ผ่านมา 3 เดือน..ไม่มีวี่แววการช่วยเหลือจากรัฐ

http://www.77jowo.com/contents/45538

ข่าวนี้กบนอกกะลาไม่เชื่อ คิกๆๆ

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 18 ธ.ค. 2017, 20:45 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กบนอกกะลา เขียน:
กรัชกาย เขียน:
กบนอกกะลา เขียน:
กรัชกาย เขียน:

เห็นมีแต่นายกบนอกกะลาเท่านั้นที่เชื่อว่า ปีหน้าคนจนจะหมดประเทศ (ถ้าพูดว่าตายหมดพอโอเคร) :b32:


ผมพูดตอนไหน?...เอามาให้ดูซิ?

อย่ามามุสา...เพ้อเจ้อ..จนเป็นนิสัย...ซีคุณ



กรัชกายเพียงว่า กบนอกกะลาเชื่อ อิอิ

หรือเชื่อว่าไม่จริงก็ว่ามา
:b32:


ก็ในเมื่อผมไม่เคยพูด...ทำไมจึงใส้ใคร้ผมละคับ?


กบนี่อ่านหนังสือไม่แตก อ่านแล้วจับประเด็นไม่ได้ เขาไม่ได้ว่า "พูด" เขาว่าเชื่อ เชื่อ เข้าใจไหม แต่กบก็่ว่าไม่ได้พูดๆๆ ไม่เคยพูด ไม่เคยพูด อยู่นั่น สองหนสามหน

เสียเวลาเปล่าขอรับ :b32:

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 20 ธ.ค. 2017, 19:21 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 25 เม.ย. 2009, 02:43
โพสต์: 12232


 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
กบนอกกะลา เขียน:
กรัชกาย เขียน:
กบนอกกะลา เขียน:
กรัชกาย เขียน:

เห็นมีแต่นายกบนอกกะลาเท่านั้นที่เชื่อว่า ปีหน้าคนจนจะหมดประเทศ (ถ้าพูดว่าตายหมดพอโอเคร) :b32:


ผมพูดตอนไหน?...เอามาให้ดูซิ?

อย่ามามุสา...เพ้อเจ้อ..จนเป็นนิสัย...ซีคุณ



กรัชกายเพียงว่า กบนอกกะลาเชื่อ อิอิ

หรือเชื่อว่าไม่จริงก็ว่ามา
:b32:


ก็ในเมื่อผมไม่เคยพูด...ทำไมจึงใส้ใคร้ผมละคับ?


กรัชกายว่ากบเชื่อ ในเมื่อไม่เชื่อก็ว่ามาสิว่าไม่เชื่อ จะบ่นทำไมรำคาญ


ดูนะ...
...............
เห็นมีแต่นายกบนอกกะลาเท่านั้นที่เชื่อว่า ปีหน้าคนจนจะหมดประเทศ (ถ้าพูดว่าตายหมดพอโอเคร) :
................

ไม่มีตรงไหน..ที่บอกว่า..กบน่าจะเชื่อ..หรือเปล่า..เลย...

แม่แต่..คำว่า..มีแต่นายกบนอกกะลาเท่านั้นที่เชื่อว่า

ใส้ใคร้..นิสัยจัญไร.แท้.


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 21 ธ.ค. 2017, 06:13 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 25 เม.ย. 2009, 02:43
โพสต์: 12232


 ข้อมูลส่วนตัว


ที่นำข่าวมาลง...ก็เพื่อจะได้รู้ว่า..ใครได้ทำอะไรเพื่อช่วยชาวนาชาวสวนอย่างไรกันไปบ้าง...

ไม่ใช่เชลียงการเมือง..อย่างอคติคิดแบบกักกาย...
http://www.naewna.com/lady/309927

อ้างคำพูด:

'กรมการข้าว'เตรียมมอบ9ตราสินค้าข้าวให้กลุ่มเกษตรกรชั้นนำต่อยอดสู่ธุรกิจมืออาชีพ
วันพุธ ที่ 20 ธันวาคม พ.ศ. 2560, 18.00 น.
ติดตามแนวหน้า

Tweet

กรมการข้าว โดยกองพัฒนาผลิตภัณฑ์ข้าว กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เตรียมจัด “พิธีมอบตราสินค้าข้าวสำหรับตลาดเฉพาะ 2560” เพื่อสานต่อยุทธศาสตร์ในการเพิ่มมูลค่า และยกระดับราคาข้าวไทย ในโครงการ ส่งเสริมและพัฒนาตราสินค้าข้าวสำหรับตลาดเฉพาะ (Niche Market) ภายใต้โครงการส่งเสริมการผลิตข้าวตลาดเฉพาะ โดยการจัดทำตราสินค้าของกลุ่มเกษตรกรผู้ผลิตข้าวคุณภาพ ให้มีความโดดเด่น น่าเชื่อถือ และสามารถพัฒนาไปสู่ธุรกิจค่าปลีกสมัยใหม่ได้ โดยในงานได้รับเกียรติจาก นายอนันต์ สุวรรณรัตน์ อธิบดีกรมการข้าว เป็นประธานในการเปิดงาน พร้อมมอบตราสินค้าให้เกษตรกร จำนวน 9 ตราสินค้า ในวันศุกร์ที่ 22 ธันวาคม 2560 ณ ห้อง รัชดาแกรนด์บอลรูม โรงแรมรัชดาซิตี้ ถนนรัชดาภิเษก กรุงเทพมหานคร

นอกจากนี้ยังมีการจัดนิทรรศการแสดงตราสินค้าข้าวจากเกษตรกรที่ได้รับการคัดเลือกเข้าร่วมโครงการ จำนวน 30 ตราสินค้า ให้ผู้สนใจได้เข้าชมสินค้าและผลิตภัณฑ์ต้นแบบเหล่านี้ ที่สามารถนำไปต่อยอดในเชิงพาณิชย์ได้สำหรับผู้สนใจสามารถสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม ได้ที่ กรมการข้าว กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เลขที่ 50 ถนนพหลโยธิน แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท์: 02-5612370 , แฟกซ์ 0-2561-3236 หรือ http://www.ricethailand.go.th

รูปภาพ



ข้าวมีตรา....อีกทางออกอันหนึ่งของข้าวไทย..

เห็นด้วยครับ..

แต่..นอกจากตราสินค้าแล้ว...ก็ต้องมี story ของสินค้าด้วย..นะครับ...ไม่ใช่มีแค่ตราแต่หาจุดโด่ดเด่นอะไรไม่ได้....


แสดงโพสต์จาก:  เรียงตาม  
กระทู้นี้ถูกล็อก คุณไม่สามารถแก้ไขข้อความ หรือ ตอบกลับในกระทู้นี้  [ 449 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1 ... 24, 25, 26, 27, 28, 29, 30  ต่อไป

เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


 ผู้ใช้งานขณะนี้

่กำลังดูบอร์ดนี้: ไม่มีสมาชิก และ บุคคลทั่วไป 1 ท่าน


ท่าน ไม่สามารถ โพสต์กระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ตอบกระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แก้ไขโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ลบโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แนบไฟล์ในบอร์ดนี้ได้

ค้นหาสำหรับ:
ไปที่:  
Google
ทั่วไป เว็บธรรมจักร