วันเวลาปัจจุบัน 18 ก.ค. 2025, 07:12  



เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง




กลับไปยังกระทู้  [ 41 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1, 2, 3  Bookmark and Share
เจ้าของ ข้อความ
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 27 ก.ย. 2018, 18:33 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


โลกสวย เขียน:
กรัชกาย เขียน:
โลกสวย เขียน:
กรัชกาย เขียน:
โลกสวย เขียน:
กรัชกาย เขียน:
โลกสวย เขียน:
เม แนะนำนะคะ คุณลุงกรัชกาย

ไปเรียนพื้นฐานให้ดีๆ เสียก่อน

กล่าวมา ไม่สอดคล้องกะปริยัติ และพระธรรมที่พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงแสดง

ไปเรียนพื้นฐานให้ดีก่อนนะคะ ว่า สมาธิมีองค์ธรรมอะไร มีเสี้ยนหนามยังไง

กัมฐาน40 กองนั่นน่ะ มีอะไรเป็นอารมณ์

วิปัสสนาน่ะ ไม่ได้มี ฌานเป็นอารมณ์

และก็ไปเรียนว่า สติปัฎฐานน่ะ 44 ปัพพะเนี่ย ใช้อะไรเป็นอารมณ์

จะได้ไม่มั่ว มั่ว ๆๆๆๆๆๆๆๆ ปนกันหมด

ไปเรียนซะนะคะ

อย่าปล่อยให้มั่วๆ ไปจนตายเรย

เม บอกให้นะคะ ว่าลุงมั่ว ลุงผิดมากไม่ตรงตามคำสอนพระพุทธองค์เรย

ลุงแก่แล้ว เม บอกด้วยเมตตานะ

อย่าดื้อมากนะคะ

ไปเรียนพื้นฐานเสียให้ดีๆก่อน ฐานไม่ดี สร้างตึกไปก็พังแหละ
เสียเวลาทั้งชีวิต ไปกะความคิด ความจำผิดๆของตัวเอง

อย่าดื้อนะคะ




พูดสะเห็นภาพฝอยขัดหม้อเลย :b2: ยุ่งนุงนังพันกันจนหาเงื่อนไม่เจอ

http://www.njdigital.net/upload/01-get- ... ool-sl.jpg


นั่นน่ะสิคะ เรื่องง่ายๆ
ลุงยังไม่เข้าใจ ยังจับต้นชนปลายไม่ได้ เรยพันกันมั่วไปหมด
เอาสมาธิ ไปปนมหาสติปัฎฐาน ไปปนกะวิปัสสนา มั่วยุ่งเหยิงไปหมด

สมาธิ แปลง่ายๆว่า ทรงไว้ซึ่งความสงบ

องค์ธรรมสำคัญ ของสมาธิ

คือ เอกคัคตาจิต ประกอบด้วยโสภณเจตสิก 59 ดวง

ไม่มี คันคอหนอ ๆๆๆๆๆ หรอกค่ะ

สมาธิไป คันคอหนอ ๆๆ ที่นี่วุ่นหนอ ๆๆๆๆ ที่นี่ขัดข้องหนอๆๆๆๆๆๆ

นั่นแหละสมาธิมั่วแหลกของลุง
แค่นี้ สมาธิลุงก็มั่วแหลก ไม่ตรงตามที่พระพุทธองค์ทรงแสดงแล้วแหละค่ะ






ผู้เรียนตำราโดยเฉพาะอภิธรรมนี่เขาแยกไว้ละเอียด จิตมีเป็นร้อยๆ เจตสิกกว่าครึ่งร้อย รูปแจกออกไปเกือบ 30 อิอิ ถ้าผู้เรียน เรียนเตลิดไปก็กลับบ้านเก่าไม่ถูก คือ ว่า เรียนแล้วคิดฟุ้งซ่านไปตามที่เขาจำแนกนั่น ว่า นั่นเท่านี้ นี่เท่านั้น ผสมกับนั่น ไม่ผสมกับนี่ นี่เกิดพร้อมกัน ดับพร้อมกัน มีอารมณ์เป็นอย่างเดียวกัน ไม่ใช่เรา เป็นสภาพธรรม ไปใหญ่เลย คิกๆๆ อย่างนี้เขาเรียกว่าเรียนแล้วนำมาใช้ประโยชน์กับชีวิตไม่เป็น
ที่เขาเรียนกันนั่น มันก็คนหัวโด่ๆ หรือชีวิตคนนั่นเอง
เรียนแล้วกลับมาที่เดิมได้ก็เป็นประโยชน์ต่อชีวิตตน ระดับต้น คือ ปริยัติ ยังยังไม่พอ ไปอีกต้องก้าวไปอีกก้าวหนึ่ง คือ ลงมือปฏิบัติ ลงมือทำให้รู้เห็นตามที่เรียนนั้น แต่ก็ไม่ต้องถึงกับนับจำนวนจิต จำนวนเจตสิก จำนวนรูปตามหนังสือนั้นหรอก ถ้าเล่นนับตามเขา ไม่วันคืนนับได้หรอก อิอิ เอาเพียงแค่รู้เท่าทันความรู้สึกนึกคิด กับ รู้เท่าทันการเคลื่อนไหวของร่างกาย ดูการทำงานของสองสิ่งนี้ให้ทันนะฮะ :b13:


คุณลุงกรัชกายนี่แหละค่ะ

เป็นตัวอย่าง ของคนที่ไม่ได้เรียนพระอภิธรรม ไม่ได้ศึกษาพระไตรปิฎก
และปฎิบัติไม่เอาไหน

ไม่มีความรู้เรื่ององค์ธรรมของการการทำสมาธิ เอาเสียเรย

[color=#FF0000]ดันไปเที่ยวสอนว่า ทำสมาธิไป คันคอหนอๆๆ ขัดข้องหนอๆๆ วุ่นวายหนอๆๆๆ
สมาธิหนอๆ วุ่นวายหนอ ขัดข้องหนอๆๆ มั่วแหลกหล่ะค่ะ


ปริยัติก็ไม่เป็น ปฎิบัติก็ผิดเพี้ยน ไม่ตรงตามคำที่พระศาสดาแสดงค่ะ

แถมยังมาแนะนำ จะให้กลับไปเป็นคน กลับบ้านเก่า

ไม่รู้ว่า พระพุทธองค์ ทรงรื้อเรือนเก่า ที่ช่างทำเรือนทำไว้ ทิ้งหมดนะจ๊ะ

[/color]


นู๋เมของลุง ลุงไม่ได้พูดว่า สอนสมาธิให้มันคันคอ ทั้งที่นำตัวอย่างให้ดูทุกๆครั้งนะ มันคันของมันเอง คิกๆๆ

เอาใหม่นี่

อ้างคำพูด:
คือ ฝึกสมาธิเองมาตลอด มีหลายครั้งมากที่เกิดอาการแปลกๆกับตัวเอง เคยนั่งบริกรรมพุธ-โธไปเรื่อยๆ แล้วอยู่ดีๆก็รู้สึกว่าตัวเองตัวใหญ่มาก...และอีกอย่างที่สำคัญ เกิดขึ้นเมื่อไม่นานมานี้ หลังจากบริกรรม ไปเรื่อยๆ จนรู้สึกนิ่งมาก เห็นตัวเองไม่ใช่ตัวเองคะ เห็นตัวเองเป็นผู้ชายคนหนึ่ง ตัดผมสั้น ใส่ชุดขาวทั้งชุด ภาพมันจะสลับกันไป คะ ระหว่างดิฉันกับผู้ชายคนนั้น และเห็นหลายวันมาก ทุกวันเป็นคนคนเดิมและคนเดียวกัน พอจะทราบไหมคะว่าเกิดอะไรขึ้น ดิฉันพยายามไม่สนใจคะ แต่ก็เห็นอยู่ดี


มันเป็นของมันเองตามเหตุปัจจัยของมัน (ไม่ใช่ของเรา) ของมัน เออ :b32:



ไปมั่วเอาบริกรรมภาวนามาอีก

นั่นเป็นอนุสติ กัมฐาน ค่ะ
ไม่ใช่สมาธิ

เฮ้อ



มันจะอะไรนักหนา สมาธิ จะว่าหลักไตรสิกขาให้ฟัง ฟังนะสุตะนะ :b13:

@ การรักษากาย วาจา ให้เรียบร้อย ชื่อว่า ศีล

@ ความรักษาใจมั่น ชื่อว่า สมาธิ

@ ความรอบรู้ในกองสังขาร ชื่อว่า ปัญญา

ตัวอย่างที่ให้ดูนั่นแหละ เขากำลังฝึก เข้าใจไหมคนกำลังฝึกหัดพัฒนาจิตอยู่ เข้าใจไหม ซึ่งก็เหมือนคนฝึกหัดเล่นกีฬาอย่างใดอย่างหนึ่งนั่นแหละ

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 28 ก.ย. 2018, 00:11 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 11 มี.ค. 2018, 02:56
โพสต์: 2166

โฮมเพจ: maybe
แนวปฏิบัติ: สติปัฎฐาน
งานอดิเรก: กีฬา
สิ่งที่ชื่นชอบ: แบรนด์เเนม
ชื่อเล่น: เม
อายุ: 22
ที่อยู่: Bangkok Thailand

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
โลกสวย เขียน:
กรัชกาย เขียน:
โลกสวย เขียน:
กรัชกาย เขียน:
โลกสวย เขียน:
กรัชกาย เขียน:
โลกสวย เขียน:
เม แนะนำนะคะ คุณลุงกรัชกาย

ไปเรียนพื้นฐานให้ดีๆ เสียก่อน

กล่าวมา ไม่สอดคล้องกะปริยัติ และพระธรรมที่พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงแสดง

ไปเรียนพื้นฐานให้ดีก่อนนะคะ ว่า สมาธิมีองค์ธรรมอะไร มีเสี้ยนหนามยังไง

กัมฐาน40 กองนั่นน่ะ มีอะไรเป็นอารมณ์

วิปัสสนาน่ะ ไม่ได้มี ฌานเป็นอารมณ์

และก็ไปเรียนว่า สติปัฎฐานน่ะ 44 ปัพพะเนี่ย ใช้อะไรเป็นอารมณ์

จะได้ไม่มั่ว มั่ว ๆๆๆๆๆๆๆๆ ปนกันหมด

ไปเรียนซะนะคะ

อย่าปล่อยให้มั่วๆ ไปจนตายเรย

เม บอกให้นะคะ ว่าลุงมั่ว ลุงผิดมากไม่ตรงตามคำสอนพระพุทธองค์เรย

ลุงแก่แล้ว เม บอกด้วยเมตตานะ

อย่าดื้อมากนะคะ

ไปเรียนพื้นฐานเสียให้ดีๆก่อน ฐานไม่ดี สร้างตึกไปก็พังแหละ
เสียเวลาทั้งชีวิต ไปกะความคิด ความจำผิดๆของตัวเอง

อย่าดื้อนะคะ




พูดสะเห็นภาพฝอยขัดหม้อเลย :b2: ยุ่งนุงนังพันกันจนหาเงื่อนไม่เจอ

http://www.njdigital.net/upload/01-get- ... ool-sl.jpg


นั่นน่ะสิคะ เรื่องง่ายๆ
ลุงยังไม่เข้าใจ ยังจับต้นชนปลายไม่ได้ เรยพันกันมั่วไปหมด
เอาสมาธิ ไปปนมหาสติปัฎฐาน ไปปนกะวิปัสสนา มั่วยุ่งเหยิงไปหมด

สมาธิ แปลง่ายๆว่า ทรงไว้ซึ่งความสงบ

องค์ธรรมสำคัญ ของสมาธิ

คือ เอกคัคตาจิต ประกอบด้วยโสภณเจตสิก 59 ดวง

ไม่มี คันคอหนอ ๆๆๆๆๆ หรอกค่ะ

สมาธิไป คันคอหนอ ๆๆ ที่นี่วุ่นหนอ ๆๆๆๆ ที่นี่ขัดข้องหนอๆๆๆๆๆๆ

นั่นแหละสมาธิมั่วแหลกของลุง
แค่นี้ สมาธิลุงก็มั่วแหลก ไม่ตรงตามที่พระพุทธองค์ทรงแสดงแล้วแหละค่ะ






ผู้เรียนตำราโดยเฉพาะอภิธรรมนี่เขาแยกไว้ละเอียด จิตมีเป็นร้อยๆ เจตสิกกว่าครึ่งร้อย รูปแจกออกไปเกือบ 30 อิอิ ถ้าผู้เรียน เรียนเตลิดไปก็กลับบ้านเก่าไม่ถูก คือ ว่า เรียนแล้วคิดฟุ้งซ่านไปตามที่เขาจำแนกนั่น ว่า นั่นเท่านี้ นี่เท่านั้น ผสมกับนั่น ไม่ผสมกับนี่ นี่เกิดพร้อมกัน ดับพร้อมกัน มีอารมณ์เป็นอย่างเดียวกัน ไม่ใช่เรา เป็นสภาพธรรม ไปใหญ่เลย คิกๆๆ อย่างนี้เขาเรียกว่าเรียนแล้วนำมาใช้ประโยชน์กับชีวิตไม่เป็น
ที่เขาเรียนกันนั่น มันก็คนหัวโด่ๆ หรือชีวิตคนนั่นเอง
เรียนแล้วกลับมาที่เดิมได้ก็เป็นประโยชน์ต่อชีวิตตน ระดับต้น คือ ปริยัติ ยังยังไม่พอ ไปอีกต้องก้าวไปอีกก้าวหนึ่ง คือ ลงมือปฏิบัติ ลงมือทำให้รู้เห็นตามที่เรียนนั้น แต่ก็ไม่ต้องถึงกับนับจำนวนจิต จำนวนเจตสิก จำนวนรูปตามหนังสือนั้นหรอก ถ้าเล่นนับตามเขา ไม่วันคืนนับได้หรอก อิอิ เอาเพียงแค่รู้เท่าทันความรู้สึกนึกคิด กับ รู้เท่าทันการเคลื่อนไหวของร่างกาย ดูการทำงานของสองสิ่งนี้ให้ทันนะฮะ :b13:


คุณลุงกรัชกายนี่แหละค่ะ

เป็นตัวอย่าง ของคนที่ไม่ได้เรียนพระอภิธรรม ไม่ได้ศึกษาพระไตรปิฎก
และปฎิบัติไม่เอาไหน

ไม่มีความรู้เรื่ององค์ธรรมของการการทำสมาธิ เอาเสียเรย

[color=#FF0000]ดันไปเที่ยวสอนว่า ทำสมาธิไป คันคอหนอๆๆ ขัดข้องหนอๆๆ วุ่นวายหนอๆๆๆ
สมาธิหนอๆ วุ่นวายหนอ ขัดข้องหนอๆๆ มั่วแหลกหล่ะค่ะ


ปริยัติก็ไม่เป็น ปฎิบัติก็ผิดเพี้ยน ไม่ตรงตามคำที่พระศาสดาแสดงค่ะ

แถมยังมาแนะนำ จะให้กลับไปเป็นคน กลับบ้านเก่า

ไม่รู้ว่า พระพุทธองค์ ทรงรื้อเรือนเก่า ที่ช่างทำเรือนทำไว้ ทิ้งหมดนะจ๊ะ

[/color]


นู๋เมของลุง ลุงไม่ได้พูดว่า สอนสมาธิให้มันคันคอ ทั้งที่นำตัวอย่างให้ดูทุกๆครั้งนะ มันคันของมันเอง คิกๆๆ

เอาใหม่นี่

อ้างคำพูด:
คือ ฝึกสมาธิเองมาตลอด มีหลายครั้งมากที่เกิดอาการแปลกๆกับตัวเอง เคยนั่งบริกรรมพุธ-โธไปเรื่อยๆ แล้วอยู่ดีๆก็รู้สึกว่าตัวเองตัวใหญ่มาก...และอีกอย่างที่สำคัญ เกิดขึ้นเมื่อไม่นานมานี้ หลังจากบริกรรม ไปเรื่อยๆ จนรู้สึกนิ่งมาก เห็นตัวเองไม่ใช่ตัวเองคะ เห็นตัวเองเป็นผู้ชายคนหนึ่ง ตัดผมสั้น ใส่ชุดขาวทั้งชุด ภาพมันจะสลับกันไป คะ ระหว่างดิฉันกับผู้ชายคนนั้น และเห็นหลายวันมาก ทุกวันเป็นคนคนเดิมและคนเดียวกัน พอจะทราบไหมคะว่าเกิดอะไรขึ้น ดิฉันพยายามไม่สนใจคะ แต่ก็เห็นอยู่ดี


มันเป็นของมันเองตามเหตุปัจจัยของมัน (ไม่ใช่ของเรา) ของมัน เออ :b32:



ไปมั่วเอาบริกรรมภาวนามาอีก

นั่นเป็นอนุสติ กัมฐาน ค่ะ
ไม่ใช่สมาธิ

เฮ้อ



มันจะอะไรนักหนา สมาธิ จะว่าหลักไตรสิกขาให้ฟัง ฟังนะสุตะนะ :b13:

@ การรักษากาย วาจา ให้เรียบร้อย ชื่อว่า ศีล

@ ความรักษาใจมั่น ชื่อว่า สมาธิ

@ ความรอบรู้ในกองสังขาร ชื่อว่า ปัญญา

ตัวอย่างที่ให้ดูนั่นแหละ เขากำลังฝึก เข้าใจไหมคนกำลังฝึกหัดพัฒนาจิตอยู่ เข้าใจไหม ซึ่งก็เหมือนคนฝึกหัดเล่นกีฬาอย่างใดอย่างหนึ่งนั่นแหละ


คุณลุงกรัชกาย อายุเท่าไรแล้วคะ ?
จนป่านนี้ ไม่รู้ ศีล สมาธิ ปัญญา

ต้องเป็นสัมมาทิฎฐิ ไม่มี วิปลาสธรรมเป็นอารมณ์

และต้อง สอดคล้องกะพระธรรม ที่พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงแสดงด้วย

จึงจะปฎิบัติถูกต้อง

อะไรคะ อยู่มาจนป่านนี้ อายุก็ไม่ใช่น้อยๆ นะคะ
ป่านนี้ ยังไม่รู้เรื่องเเรย

แยกไม่ออก ว่า อนุสติกัมฐาน สมาธิ เป็นไง สติปัฎฐานเป็นไง วิปัสสนาเป็นไง

แยกไม่ได้ ว่าอารัมมณูปนิฌาน เป็นไง
ลักขณูปนิฌานเป็นไง

ไม่รู้เรื่องเรย ว่าศีล มีวิรัตจกาการประพฤติทุจริต ในสิกขาบท
ที่พระพุทธองค์ทรงแสดง

เมแนะนำนะคะ ให้ไปเรียนพื้นฐานให้เป็นเรื่องเป็นราว ให้ดีๆเสียก่อนนะคะ

นั่นแหละ คุณลุงกรัชกาย เป็นตัวอย่าง ของพวก มือสมัครเล่น ที่หัดพัฒนาจิต
โดย ไม่รู้กฎกติกา

ว่าพระพุทธองค์ บัญญัติกฎกติกาในการปฎิบัติ ในการฝึก อย่างไร

ฝึกหัด แบบมือสมัครเล่นแท้ๆๆ

แบบมั่วส่งเดช แท้ๆเรยค่ะ






โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 28 ก.ย. 2018, 09:30 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


สำเหนียก กำหนด, จดจำ , คอยเอาใจใส่, ฟัง, ใส่ใจคิดที่จะนำไปปฏิบัติ, ใส่ใจสังเกตพิจารณาจับเอาสาระเพื่อจะนำไปปฏิบัติให้สำเร็จประโยชน์ (คำพระว่า สิกขา หรือ ศึกษา)


สิกขา การศึกษา, การสำเหนียก, การเรียน, การฝึกฝนปฏิบัติ, การเล่าเรียนให้รู้เข้าใจ และฝึกหัดปฏิบัติให้เป็นคุณสมบัติที่เกิดมีขึ้นในตน หรือให้ทำได้ทำเป็น ตลอดจนแก้ไขปรับปรุงหรือพัฒนาให้ดียิ่งขึ้นไปจนถึงสมบูรณ์, ข้อที่จะต้องศึกษา, ข้อปฏิบัติสำหรับฝึกอบรมพัฒนาบุคคล, สิกขา ๓ คือ

๑. อธิสีลสิกขา สิกขาคือศีลอันยิ่ง, อธิศีลอันเป็นข้อที่จะต้องศึกษา, ข้อปฏิบัติเพื่อการฝึกอบรมพัฒนาศีลอย่างสูง

(ศีล ๕ ศีล ๘ ศีล ๑๐ เป็นศีล, ปฏิโมกขสังวรศีล เป็นอธิศีล แต่ศีล ๕ ศีล ๘ ศีล ๑๐ ที่รักษาด้วยความเข้าใจ ให้เป็นเครื่องหนุนนำออกจากวัฏฏะ ก็เป็นอธิศีล)


๒. อธิจิตตสิกขา สิกขาคือจิตอันยิ่ง, อธิจิตอันเป็นข้อที่จะต้องศึกษา, ข้อปฏิบัติเพื่อการฝึกอบรมพัฒนาจิตใจให้มีสมาธิเป็นต้นอย่างสูง

(กุศลจิตทั้งหลายจนถึงสมาบัติ ๘ เป็นจิต, ฌานสมาบัติที่เป็นบาทแห่งวิปัสสนา เป็นอธิศีล แต่สมาบัติ ๘ นั่นแหละ ถ้าปฏิบัติด้วยความเข้าใจ มุ่งให้เป็นเครื่องหนุนนำออกจากวัฏฏะ ก็เป็นอธิจิต)


๓. อธิปัญญาสิกขา สิกขาคือปัญญาอันยิ่ง, อธิปัญญาอันเป็นข้อที่จะต้องศึกษา, ข้อปฏิบัติเพื่อการฝึกอบรมพัฒนาปัญญาอย่างสูง

(ความรู้เข้าใจหลักเหตุผลถูกต้องอย่างสามัญ อันเป็นกัมมัสสกตาญาณ คือ ความรู้จักว่าทุกคนเป็นเจ้าของแห่งกรรมของตน เป็นปัญญา, วิปัสสนาปัญญาที่กำหนดรู้ความจริงแห่งไตรลักษณ์ เป็นอธิปัญญา แต่โดยนัยอย่างเพลา กัมมัสสกตาปัญญาที่โยงไปให้มองเห็นทุกข์ที่เนื่องด้วยวัฏฏะ หรือแม้กระทั่งความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องในการระลึกถึงคุณพระรัตนตรัย ซึ่งจะเป็นปัจจัยหนุนให้ก้าวไปในมรรค ก็เป็นอธิปัญญา)

สิกขา ๓ นี้ นิยมเรียกว่า ไตรสิกขา และเรียกข้อย่อยทั้งสามง่ายๆสั้นๆ ว่า ศีล สมาธิ ปัญญา

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 28 ก.ย. 2018, 09:33 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


สติปัฏฐาน ธรรมเป็นที่ตั้งแห่งสติ, ข้อปฏิบัติมีสติเป็นประธาน, การตั้งสติกำหนดพิจารณาสิ่งทั้งหลายให้รู้เห็นเท่าทันตามความเป็นจริง, การมีสติกำกับดูสิ่งต่างๆ และความเป็นไปทั้งหลายโดยรู้เท่าทันตามสภาวะของมัน ไม่ถูกครอบงำด้วยความยินดียินร้าย ที่ทำให้มองเห็นเพี้ยนไปตามอำนาจกิเลส มี ๔ อย่าง คือ

๑. กายานุปัสสนา สติปัฏฐาน การตั้งสติกำหนดพิจารณากาย, การมีสติกำกับดูรู้เท่าทันกายและเรื่องทางกาย

๒. เวทนานุปัสสนา สติปัฏฐาน การตั้งสติกำหนดพิจารณาเวทนา

๓. จิตตานุปัสสนา สติปัฏฐาน การตั้งสติกำหนดพิจารณาจิต, การมีสติกำกับดูรู้เท่าทันจิตหรือสภาพและอาการของจิต

๔. ธัมมานุปัสสนา สติปัฏฐาน การตั้งสติกำหนดพิจารณาธรรม, การมีสติกำกับดูรู้เท่าทันธรรม, เรียกสั้นๆว่า กาย เวทนา จิต ธรรม

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 28 ก.ย. 2018, 09:36 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


วิปัสสนา ความเห็นแจ้ง คือเห็นตรงต่อความเป็นจริงของสภาวธรรม, ปัญญาที่เห็นไตรลักษณ์อันให้ถอนความหลงผิดรู้ผิดในสังขารเสียได้, การฝึกอบรมปัญญาให้เกิดความเห็นแจ้งรู้ชัดภาวะของสิ่งทั้งหลายตามที่มันเป็น (ข้อ ๒ ในกัมมัฏฐาน ๒ หรือ ภาวนา ๒)


วิปัสสนาภูมิ ภูมิแห่งวิปัสสนา ฐานที่ตั้งอันเป็นพื้นที่ ซึ่งวิปัสสนาเป็นไป, พื้นฐานที่ดำเนินไปของวิปัสสนา

๑. การปฏิบัติอันเป็นพื้่นฐานที่วิปัสสนาดำเนินไป คือ การมองดูรู้เข้าใจหรือรู้เท่าทันสังขารทั้งหลายตามที่มันเป็นอนิจจะ ทุกขะ อนัตตา อันดำเนินไปโดยลำดับ จนเกิดตรุณวิปัสสนา ซึ่งเป็นพื้นของการก้าวสู่วิปัสสนาที่สูงขึ้นไป

๒. ธรรมที่เป็นภูมิของวิปัสสนา คือธรรมทั้งหลายอันเป็นพื้นฐานที่จะมองดูรู้เข้าใจ ให้เกิดปัญญาเห็นแจ้งตามเป็นจริง ตรงกับคำว่า "ปัญญาภูมิ" ได้แก่ ขันธ์ ๕ อายตนะ ๑๒ ธาตุ ๑๘ อินทรีย์ ๒๒ อริยสัจ ๔ ปฏิจจสมุปบาท และ ปฏิจจสมุปปันนธรรมทั้งหลาย, เฉพาะอย่างยิ่ง ท่านเน้น ปฏิจจสมุปบาท ซึ่งเป็นที่รวมในการทำความเข้าใจธรรมทั้งหมดนั้น, ว่าโดยสาระ ก็คือ ธรรมชาติทั้งปวงที่มีในภูมิ ๓

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 28 ก.ย. 2018, 09:39 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


สมาธิ ความมีใจตั้งมั่น, ความตั้งมั่นแห่งจิต, การทำให้ใจสงบแน่วแน่ ไม่ฟุ้งซ่าน, ภาวะที่จิตตั้งเรียบแน่วอยู่ในอารมณ์ คือ สิ่งอันหนึ่งอันเดียว, มักใช้เป็นคำเรียกง่ายๆ สำหรับอธิจิตตสิกขา

สมาธิ ๒ คือ ๑. อุปจารสมาธิ สมาธิจวนเจียน หรือสมาธิเฉียดๆ ๒. อัปปนาสมาธิ สมาธิแน่วแน่

สมาธิ ๓ คือ ๑. สุญญตสมาธิ ๒. อนิมิตสมาธิ ๓ อัปปณิหิตสมาธิ

อีกหมวดหนึ่ง ได้แก่ ๑. ขณิกสมาธิ ๒ อุปจารสมาธิ ๓ อัปปนาสมาธิ

สมาธิขันธ์ หมวดธรรมจำพวกสมาธิ เช่น ฉันทะ วิริยะ จิตตะ ชาคริยานุโยค กายคตาสติ เป็นต้น

สมถะ ธรรมเป็นเครื่องสงบระงับจิต, ธรรมยังจิตให้สงบระงับจากนิวรณูปกิเลส, การฝึกจิตให้สงบเป็นสมาธิ (ข้อ ๑ ในกรรมฐาน ๒ หรือภาวนา ๓)

สมถกัมมัฏฐาน กรรมฐานคือสมถะ, งานฝึกจิตให้สงบ,

สมถภาวนา การเจริญสมถกัมมัฏฐานทำจิตให้แน่วแน่เป็นสมาธิ

สมถยานิก ผู้มีสมถะเป็นยาน หมายถึงผู้เจริญสมถกัมมัฏฐาน จนได้ฌานก่อนแล้วจึงเจริญวิปัสสนาต่อ

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 28 ก.ย. 2018, 10:37 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 11 มี.ค. 2018, 02:56
โพสต์: 2166

โฮมเพจ: maybe
แนวปฏิบัติ: สติปัฎฐาน
งานอดิเรก: กีฬา
สิ่งที่ชื่นชอบ: แบรนด์เเนม
ชื่อเล่น: เม
อายุ: 22
ที่อยู่: Bangkok Thailand

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
สติปัฏฐาน ธรรมเป็นที่ตั้งแห่งสติ, ข้อปฏิบัติมีสติเป็นประธาน, การตั้งสติกำหนดพิจารณาสิ่งทั้งหลายให้รู้เห็นเท่าทันตามความเป็นจริง, การมีสติกำกับดูสิ่งต่างๆ และความเป็นไปทั้งหลายโดยรู้เท่าทันตามสภาวะของมัน ไม่ถูกครอบงำด้วยความยินดียินร้าย ที่ทำให้มองเห็นเพี้ยนไปตามอำนาจกิเลส มี ๔ อย่าง คือ

๑. กายานุปัสสนา สติปัฏฐาน การตั้งสติกำหนดพิจารณากาย, การมีสติกำกับดูรู้เท่าทันกายและเรื่องทางกาย

๒. เวทนานุปัสสนา สติปัฏฐาน การตั้งสติกำหนดพิจารณาเวทนา

๓. จิตตานุปัสสนา สติปัฏฐาน การตั้งสติกำหนดพิจารณาจิต, การมีสติกำกับดูรู้เท่าทันจิตหรือสภาพและอาการของจิต

๔. ธัมมานุปัสสนา สติปัฏฐาน การตั้งสติกำหนดพิจารณาธรรม, การมีสติกำกับดูรู้เท่าทันธรรม, เรียกสั้นๆว่า กาย เวทนา จิต ธรรม


หลักโดยย่อๆ

การปฎิบัติสติปัฎฐาน ปฎิบัติด้วยสัมมาสติ ประกอบด้วยโสภณเจตสิก 18 ดวง

ไม่ได้ใช้การจดจำ ท่องจำ ในสันฐานบัญญัติ ว่า ศีรษะ แขน ขา หลัง ไหล่
แต่ต้องเป็นสภาวะปรมัตถเท่านั้น

อาศัยสัมมาสติ ระลึกไปที่ ความรู้สึกส่วนใดๆ ของร่างกาย
ในขนะที่กระทบ ในขนะที่เคลื่อนไหว โดยไม่ได้ระลึก ว่าอยู่ส่วนใดๆของร่างกาย
แต่ระลึกรู้ถึงความรู้สึกตรงๆ กับการกระทบ การสัมผัส ว่าขนะนี้ รู้สึก ร้อน รู้สึก เย็น รู้สึก แข็ง รู้สึก อ่อน รู้สึก ไหว รู้สึก ตึง
ไม่มีสิ่งอื่น ในสันฐานบัญญัติร่างกาย มาปน กะปรมัตถ์

เป็นการอาศัยร่างกายกาย เป็นที่ตั้งของสติ เพื่อระลึกรู้ ในปรมัตถ์ธรรมที่เกิดค่ะ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 28 ก.ย. 2018, 10:46 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 11 มี.ค. 2018, 02:56
โพสต์: 2166

โฮมเพจ: maybe
แนวปฏิบัติ: สติปัฎฐาน
งานอดิเรก: กีฬา
สิ่งที่ชื่นชอบ: แบรนด์เเนม
ชื่อเล่น: เม
อายุ: 22
ที่อยู่: Bangkok Thailand

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
วิปัสสนา ความเห็นแจ้ง คือเห็นตรงต่อความเป็นจริงของสภาวธรรม, ปัญญาที่เห็นไตรลักษณ์อันให้ถอนความหลงผิดรู้ผิดในสังขารเสียได้, การฝึกอบรมปัญญาให้เกิดความเห็นแจ้งรู้ชัดภาวะของสิ่งทั้งหลายตามที่มันเป็น (ข้อ ๒ ในกัมมัฏฐาน ๒ หรือ ภาวนา ๒)


วิปัสสนาภูมิ ภูมิแห่งวิปัสสนา ฐานที่ตั้งอันเป็นพื้นที่ ซึ่งวิปัสสนาเป็นไป, พื้นฐานที่ดำเนินไปของวิปัสสนา

๑. การปฏิบัติอันเป็นพื้่นฐานที่วิปัสสนาดำเนินไป คือ การมองดูรู้เข้าใจหรือรู้เท่าทันสังขารทั้งหลายตามที่มันเป็นอนิจจะ ทุกขะ อนัตตา อันดำเนินไปโดยลำดับ จนเกิดตรุณวิปัสสนา ซึ่งเป็นพื้นของการก้าวสู่วิปัสสนาที่สูงขึ้นไป

๒. ธรรมที่เป็นภูมิของวิปัสสนา คือธรรมทั้งหลายอันเป็นพื้นฐานที่จะมองดูรู้เข้าใจ ให้เกิดปัญญาเห็นแจ้งตามเป็นจริง ตรงกับคำว่า "ปัญญาภูมิ" ได้แก่ ขันธ์ ๕ อายตนะ ๑๒ ธาตุ ๑๘ อินทรีย์ ๒๒ อริยสัจ ๔ ปฏิจจสมุปบาท และ ปฏิจจสมุปปันนธรรมทั้งหลาย, เฉพาะอย่างยิ่ง ท่านเน้น ปฏิจจสมุปบาท ซึ่งเป็นที่รวมในการทำความเข้าใจธรรมทั้งหมดนั้น, ว่าโดยสาระ ก็คือ ธรรมชาติทั้งปวงที่มีในภูมิ ๓


หลักวิปัสสนาโดยย่อ
ต้องอาศัย โสภณเจตสิก 19ดวงปัญญาเจตสิก1ดวง
ที่มีนามปรมัตถ์ รูปปรมัตถ์ ที่ปรากฎเฉพาะหน้า เป็นอารมณ์
เพิกถอนบัญญัติออกไป โดยใช้วิเสสลักษณะ ของ สภาวะรูป 18
และอาการของความเป็นไปในปัจจัยธรรม
เช่นปฎิจจสมุปาท
รวมมั้งอสุภะลักษณะ
และลงไตรลักษณะ
อนิจจลักษณะ
ทุกขลักษณะ
อนัตตลักษณะ
ปัญญาวิปัสสนา จะเกิดไปตามลำดับ
คือการมองดูรู้ เข้าใจ ในปรมัตถ์ธรรม ไม่ได้ไปนั่งคิดพิจารณาแบบใช้ปัญญาทั่วๆไป ค่ะ



แก้ไขล่าสุดโดย โลกสวย เมื่อ 28 ก.ย. 2018, 11:07, แก้ไขแล้ว 1 ครั้ง

โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 28 ก.ย. 2018, 10:58 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 11 มี.ค. 2018, 02:56
โพสต์: 2166

โฮมเพจ: maybe
แนวปฏิบัติ: สติปัฎฐาน
งานอดิเรก: กีฬา
สิ่งที่ชื่นชอบ: แบรนด์เเนม
ชื่อเล่น: เม
อายุ: 22
ที่อยู่: Bangkok Thailand

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
สมาธิ ความมีใจตั้งมั่น, ความตั้งมั่นแห่งจิต, การทำให้ใจสงบแน่วแน่ ไม่ฟุ้งซ่าน, ภาวะที่จิตตั้งเรียบแน่วอยู่ในอารมณ์ คือ สิ่งอันหนึ่งอันเดียว, มักใช้เป็นคำเรียกง่ายๆ สำหรับอธิจิตตสิกขา

สมาธิ ๒ คือ ๑. อุปจารสมาธิ สมาธิจวนเจียน หรือสมาธิเฉียดๆ ๒. อัปปนาสมาธิ สมาธิแน่วแน่

สมาธิ ๓ คือ ๑. สุญญตสมาธิ ๒. อนิมิตสมาธิ ๓ อัปปณิหิตสมาธิ

อีกหมวดหนึ่ง ได้แก่ ๑. ขณิกสมาธิ ๒ อุปจารสมาธิ ๓ อัปปนาสมาธิ

สมาธิขันธ์ หมวดธรรมจำพวกสมาธิ เช่น ฉันทะ วิริยะ จิตตะ ชาคริยานุโยค กายคตาสติ เป็นต้น

สมถะ ธรรมเป็นเครื่องสงบระงับจิต, ธรรมยังจิตให้สงบระงับจากนิวรณูปกิเลส, การฝึกจิตให้สงบเป็นสมาธิ (ข้อ ๑ ในกรรมฐาน ๒ หรือภาวนา ๓)

สมถกัมมัฏฐาน กรรมฐานคือสมถะ, งานฝึกจิตให้สงบ,

สมถภาวนา การเจริญสมถกัมมัฏฐานทำจิตให้แน่วแน่เป็นสมาธิ

สมถยานิก ผู้มีสมถะเป็นยาน หมายถึงผู้เจริญสมถกัมมัฏฐาน จนได้ฌานก่อนแล้วจึงเจริญวิปัสสนาต่อ



หลักสมาธิโดยย่อ

สมาธิ คือการทรงไว้ ซึ่งความสงบ
เรื่มจากอินทรีย์สังวร
สำรวมอิริยาบท สำรวมกายวาจาใจ
ในปุถุชนทั่วไป ในรูปบัญญัติ คือ ศีล 5 8 10
ประกอบด้วย โสภณเจตสิก 18ดวง ที่ปรากฎ ในความสงบ เบา นุ่มนวล
ความควรแก่งาน
ผู้ปฎิบัติจะรู้ได้ว่า สัมมาสติเกิดขึ้น
จึงเริ่มเข้าสู่สมาธิ ในองค์ฌานต่างๆ
โดยมีเอกคัตตาจิต ที่ประกอบกับบโสภณจิต 59 ดวง เป็นองค์ธรรมสำคัญของสมาธิ
ที่ปราศจากเสี้ยนหนามในแต่ละองค์ฌานค่ะ

ที่สำคัญในการปฎิบัติ ต้องละอัตตะสัญญา ว่ามีผู้กำลังปฎิบัติ
มีการปฎิบัติ
คือสติปฎิบัติ ปัญญาปฎิบัติ และสัมปยุตตธรรม กำลังปฎิบัติค่ะ



โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 28 ก.ย. 2018, 11:11 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 29 ต.ค. 2009, 15:06
โพสต์: 7517

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
Rosarin เขียน:
กรัชกาย เขียน:
Rosarin เขียน:
Rosarin เขียน:
cool
ทุกคำที่เขียนมาคือความจริงตรงปัจจุบัน
ที่พระพุทธเจ้ารอบรู้ครบถ้วนทุกคำ
ตัวเองไม่รู้แม้1คำตรงขณะไงคะ
แปลว่ามีกิเลสอาสาวะไหลครบ



ฟังเพื่อละไม่รู้ที่กำลังติดข้องต้องการอยากจะถึงนิพพานเร็ว
มันอิมพอสซิเบิ้ลแปลว่าทุกอย่างมีแล้วตามเหตุตามปัจจัย
ตถาคตทำได้แค่บอก/สาวกมีหน้าที่ฟังเพื่อปัญญาปรากฏ
ตนเองต้องคิดสิคะว่าเป็นสาวกแล้วทำไมไม่ทำฟังให้ตรง



ถ้าให้ฟัง แล้วจะมี ปฏิบัติก่อน ถึงจะถึงปฏิเวธ ไว้ทำไม ไหนตอบให้ไอ้เรืองตายตาหลับทีซิ ทุกวันนี้ ยังตายตาไม่หลับเลย คิกๆๆ

cool
กำลังฟังเข้าใจสะสมปัญญาทันทีจะฟังไหมล่ะไม่พิสูจน์ไม่รู้น๊าเอ๊าาาาาของจริงต้องฟังจริงๆอย่ามโนว่าฟังคิคิคิ



ฟังใคร ?

:b32:
คุณกรัชกายก๊อปมาแปะ...ปรโตโฆสะยกทฤษฎีมาให้ดูไม่เข้าใจหรือคะโพสต์เอง
ตถาคตไม่อยู่ก็ต้องฟังจากผู้ที่กล่าวคำวาจาสัจจะให้คิดตามเสียง
ตรงขณะเพื่อตามคิดถูกตรงกับความจริงที่กำลังมีที่กายใจทีละ1
ตรงทางตามปกติตื่นรู้ดูเท่าทันตรงขณะที่กำลังระลึกตามและ
กำลังมีความจริงตัวธัมมะแท้ๆกำลังปรากฏกับสติปัญญาจริง
ไม่ใช่ตัวตนแต่เป็นการระลึกตามได้ตรงตามเสียงปรโตโฆสะ

:b4: :b4:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 28 ก.ย. 2018, 21:06 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


Rosarin เขียน:
กรัชกาย เขียน:
Rosarin เขียน:
กรัชกาย เขียน:
Rosarin เขียน:
Rosarin เขียน:
cool
ทุกคำที่เขียนมาคือความจริงตรงปัจจุบัน
ที่พระพุทธเจ้ารอบรู้ครบถ้วนทุกคำ
ตัวเองไม่รู้แม้1คำตรงขณะไงคะ
แปลว่ามีกิเลสอาสาวะไหลครบ



ฟังเพื่อละไม่รู้ที่กำลังติดข้องต้องการอยากจะถึงนิพพานเร็ว
มันอิมพอสซิเบิ้ลแปลว่าทุกอย่างมีแล้วตามเหตุตามปัจจัย
ตถาคตทำได้แค่บอก/สาวกมีหน้าที่ฟังเพื่อปัญญาปรากฏ
ตนเองต้องคิดสิคะว่าเป็นสาวกแล้วทำไมไม่ทำฟังให้ตรง



ถ้าให้ฟัง แล้วจะมี ปฏิบัติก่อน ถึงจะถึงปฏิเวธ ไว้ทำไม ไหนตอบให้ไอ้เรืองตายตาหลับทีซิ ทุกวันนี้ ยังตายตาไม่หลับเลย คิกๆๆ


กำลังฟังเข้าใจสะสมปัญญาทันทีจะฟังไหมล่ะไม่พิสูจน์ไม่รู้น๊าเอ๊าาาาาของจริงต้องฟังจริงๆอย่ามโนว่าฟังคิคิคิ



ฟังใคร ?


คุณกรัชกายก๊อปมาแปะ...ปรโตโฆสะยกทฤษฎีมาให้ดูไม่เข้าใจหรือคะโพสต์เอง
ตถาคตไม่อยู่ก็ต้องฟังจากผู้ที่กล่าวคำวาจาสัจจะให้คิดตามเสียง
ตรงขณะเพื่อตามคิดถูกตรงกับความจริงที่กำลังมีที่กายใจทีละ1
ตรงทางตามปกติตื่นรู้ดูเท่าทันตรงขณะที่กำลังระลึกตามและ
กำลังมีความจริงตัวธัมมะแท้ๆกำลังปรากฏกับสติปัญญาจริง
ไม่ใช่ตัวตนแต่เป็นการระลึกตามได้ตรงตามเสียงปรโตโฆสะ




บอกหลายหนแล้วว่า คนร้อยคนฟังแม่สุจินพูดอยู่ฟังแล้วตีความกันไป ร้อยคนร้อยอย่าง อุปมาเหมือนให้วาดภาพผีกันต่างคนต่างวาด นำมาส่งครู ก็จะได้รูปผีคนละแบบตามจินตนาการในใจของแต่ละคนๆ

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


แสดงโพสต์จาก:  เรียงตาม  
กลับไปยังกระทู้  [ 41 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1, 2, 3

เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


 ผู้ใช้งานขณะนี้

่กำลังดูบอร์ดนี้: ไม่มีสมาชิก และ บุคคลทั่วไป 1 ท่าน


ท่าน ไม่สามารถ โพสต์กระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ตอบกระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แก้ไขโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ลบโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แนบไฟล์ในบอร์ดนี้ได้

ค้นหาสำหรับ:
ไปที่:  
Google
ทั่วไป เว็บธรรมจักร