วันเวลาปัจจุบัน 27 ก.ค. 2025, 07:13  



เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง




กลับไปยังกระทู้  [ 200 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1, 2, 3, 4, 5, 6 ... 14  ต่อไป  Bookmark and Share
เจ้าของ ข้อความ
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 05 มิ.ย. 2014, 18:31 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


เช่นนั้น เขียน:
กรัชกาย เขียน:
ต้องฝึกขอรับ เช่นนั้น อิเมโจได๋ๆๆ ไม่เกิดหรอก แต่เบื้องต้นควรรู้จักสภาวะของมันก่อน ต่อไปรู้จักวิธีฝึกหรือเจริญเออ
อ้างคำพูด:
สัญญา - สติ - ความจำ
มักมีความเข้าใจสับสนกันในเรื่องความจำว่าตรงกับธรรมข้อใด คำว่า สัญญา ก็มักแปลกันว่า ความจำ คำว่า สติ โดยทั่วไปแปลว่า ความระลึกได้ บางครั้งก็แปลว่า ความจำ และตัวอย่างที่เด่น เช่น พระอานนท์ ได้รับยกย่องเป็นเอตทัคคะในทางทรงจำพุทธพจน์ คำบาลีในกรณีนี้ท่านใช้คำว่า สติ ดังพุทธพจน์ว่า "อานนท์เป็นเลิศ กว่าประดาสาวกของเราผู้มีสติ" ..ฯลฯ......ควรรู้ว่า สัญญามีสองอย่าง คือ กุศลสัญญา กับ อกุศลสัญญา

อ้างคำพูด:
กรัชกาย
ไปลอกสิ่งนี้มาจากไหน (สิ่งนี้ คือบทความทั้งหมดนั้น)
ตั้งแต่บรรทัดแรกจนบรรทัดสุดท้าย
ผู้เขียน เขียนด้วยความสับสนต่อสภาวะมาก

กรัชกาย ถามจริงๆ นะ เชื่อและเห็นตามสิ่งที่กรัชกายลอกมาจริงๆ ใช่ หรือไม่?


ไม่ได้บ่น
อยากรู้ ไง ว่า กรัชกาย เชื่อและเห็นตาม ใช่ หรือไม่
จะไม่ต้องมาคาดเดา....

ใช่ หรือ ไม่ ........



ปัดโธ่ ความจำนี่เห็นง่ายๆ เราลองท่องจำบทสวดมนต์เป็นต้น ท่องสิครับ จำได้ช้าเร็วขนาดไหน นั่นแหละลักษณะขององค์ธรรมสองตัวดังกล่าว คิกๆๆ

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 05 มิ.ย. 2014, 18:35 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
เช่นนั้น เขียน:
กรัชกาย เขียน:
อ้างคำพูด:
กรัชกาย อย่าเฉไฉ

แล้วมันยังไงล่ะขอรับ ตามนิยามเช่นนั้น ว่าไปครับ :b38:


เล่ามา ตามที่กรัชกาย นิยามอย่างไร......อย่าเฉไฉ


ตามนิยามของกรัชกายเกี่ยวกับเรื่องนี้เท่าที่ดูเช่นนั้นคิดวาดภาพ ก็คืออ่านๆพระสูตรเกี่ยวพระอรหันต์ แล้วก็เพ้อฝันตาลอยๆ ทำใจให้ทะลุทะลวงจะเป็นพระอริยะ เช่นนั้นออกโทนนี้ จริงไม่จริงบอกมา :b1:


ตามนิยามของกรัชกายเคยบอกแล้ว ต้องปฏิบัติ (ถูกทางด้วย) แล้วอาสวกิเลสหมดไป ผู้ที่กำจัดอาสวะได้แล้วนั่นแหละเรียกอริยะบุคคลตามหลักพุทธศาสนา :b1:



มีตัวอย่างเช่นนั้นนะนี่

อ้างคำพูด:
พุทธานุสสติ ในสมัยพุทธกาล
นอกจากจิตใจเลื่อมใสศรัทธาในคุณความดีของพระพุทธองค์แล้วนั้น
ยังนำเอาพระวรกาย การได้เห็นพระพุทธองค์ ระลึกถึงพระพุทธองค์เป็นสัญญาแนบแน่น

การบรรลุธรรมลักษณะนี้ เห็นได้ชัดจากตัวอย่าง ของ ปิงคิยมาณพ ใน โสฬสปัญหา
ซึ่งปิงคิยมาณพ เลื่อมใสศรัทธาพระพุทธองค์ ถึงขนาดกล่าวว่า ท่านเห็นพระพุทธองค์ด้วยใจเหมือนเห็นด้วยจักษุ

ซึ่งในกาลต่อมา พระพุทธองค์ทรงทราบวาระจิตของปิงคิยมานพนั้น ก็ทรงทราบว่า อินทรีย์ของปิงคิยมาณพ นั้นแก่กล้าแล้ว จึงมาตักเตือนให้ปิงคิยมาณพนั้นมีปัญญายิ่งขึ้น จนบรรลุอรหัตผลในที่สุด

ดังนั้น พุทธานุสสติ จึงมีพระพุทธองค์ หรือคุณของพระพุทธองค์ เป็นอนุสติ ครับ



อริยะเช่นนั้นจะแนวนี้ อ่านๆแล้วก็เพ้อ :b1:

viewtopic.php?f=2&t=47856&p=353586#p353586


ชีวิตสำเร็จรูป :b32:

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 05 มิ.ย. 2014, 21:36 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 14 ก.ค. 2008, 21:56
โพสต์: 3925

ชื่อเล่น: เช่นนั้น
อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
ตามนิยามของกรัชกายเคยบอกแล้ว ต้องปฏิบัติ (ถูกทางด้วย) แล้วอาสวกิเลสหมดไป ผู้ที่กำจัดอาสวะได้แล้วนั่นแหละเรียกอริยะบุคคลตามหลักพุทธศาสนา :b1:

huh s004
อริยะบุคคล คือผู้ที่กำจัดอาสวะได้แล้ว
กรัชกาย นิยามตามคำแปล ก็ดีกว่าแสดงเป็นอื่นนะ อนุโมทนา ^ ^

.....................................................
ธรรมะอันยิ่งใหญ่ ไม่อาจเอื้อนเอ่ย
บัญญัติ เป็นเพียงสิ่งต่ำต้อยแบกรับความยิ่งใหญ่


แก้ไขล่าสุดโดย เช่นนั้น เมื่อ 05 มิ.ย. 2014, 21:47, แก้ไขแล้ว 1 ครั้ง

โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 05 มิ.ย. 2014, 21:40 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 14 ก.ค. 2008, 21:56
โพสต์: 3925

ชื่อเล่น: เช่นนั้น
อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
อ้างคำพูด:
พุทธานุสสติ ในสมัยพุทธกาล
นอกจากจิตใจเลื่อมใสศรัทธาในคุณความดีของพระพุทธองค์แล้วนั้น
ยังนำเอาพระวรกาย การได้เห็นพระพุทธองค์ ระลึกถึงพระพุทธองค์เป็นสัญญาแนบแน่น

การบรรลุธรรมลักษณะนี้ เห็นได้ชัดจากตัวอย่าง ของ ปิงคิยมาณพ ใน โสฬสปัญหา
ซึ่งปิงคิยมาณพ เลื่อมใสศรัทธาพระพุทธองค์ ถึงขนาดกล่าวว่า ท่านเห็นพระพุทธองค์ด้วยใจเหมือนเห็นด้วยจักษุ

ซึ่งในกาลต่อมา พระพุทธองค์ทรงทราบวาระจิตของปิงคิยมานพนั้น ก็ทรงทราบว่า อินทรีย์ของปิงคิยมาณพ นั้นแก่กล้าแล้ว จึงมาตักเตือนให้ปิงคิยมาณพนั้นมีปัญญายิ่งขึ้น จนบรรลุอรหัตผลในที่สุด

ดังนั้น พุทธานุสสติ จึงมีพระพุทธองค์ หรือคุณของพระพุทธองค์ เป็นอนุสติ ครับ



อริยะเช่นนั้นจะแนวนี้ อ่านๆแล้วก็เพ้อ :b1:

viewtopic.php?f=2&t=47856&p=353586#p353586


ชีวิตสำเร็จรูป :b32:

กระทู้นั้น
เป็นการบอกให้รู้ว่า ในสมัยพุทธกาล พุทธานุสติ เขามีพุทธคุณ และรูปลักษณ์ ของพระพุทธองค์ตัวเป็นๆ เป็นอนุสติ
เพราะในกระทู้ เขาแยกแยะไม่ออก ระหว่าง พุทธานุสติ และธัมมานุสติ

ตั้งใจบอกเพียงนั้น จึงยก ปิงคิยมานพ เป็นตัวอย่างที่เห็นชัด
กรัชกายอย่าหลับหูหลับตาวิจาร เคยเปิดอ่านไหม พระสูตรนั้น
:b28:

.....................................................
ธรรมะอันยิ่งใหญ่ ไม่อาจเอื้อนเอ่ย
บัญญัติ เป็นเพียงสิ่งต่ำต้อยแบกรับความยิ่งใหญ่


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 05 มิ.ย. 2014, 21:44 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 14 ก.ค. 2008, 21:56
โพสต์: 3925

ชื่อเล่น: เช่นนั้น
อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
ปัดโธ่ ความจำนี่เห็นง่ายๆ เราลองท่องจำบทสวดมนต์เป็นต้น ท่องสิครับ จำได้ช้าเร็วขนาดไหน นั่นแหละลักษณะขององค์ธรรมสองตัวดังกล่าว คิกๆๆ

ถามกรัชกายว่า
กรัชกายเชื่อและเห็นตามบทความนั้นหรือไม่

ไม่ได้ถามเลยนะว่า ความจำนี่เห็นอย่างไร

.....................................................
ธรรมะอันยิ่งใหญ่ ไม่อาจเอื้อนเอ่ย
บัญญัติ เป็นเพียงสิ่งต่ำต้อยแบกรับความยิ่งใหญ่


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 05 มิ.ย. 2014, 21:47 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 25 เม.ย. 2009, 02:43
โพสต์: 12232


 ข้อมูลส่วนตัว


อิอิ...
:b32: :b32:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 06 มิ.ย. 2014, 04:35 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


เช่นนั้น เขียน:
กรัชกาย เขียน:
ตามนิยามของกรัชกายเคยบอกแล้ว ต้องปฏิบัติ (ถูกทางด้วย) แล้วอาสวกิเลสหมดไป ผู้ที่กำจัดอาสวะได้แล้วนั่นแหละเรียกอริยะบุคคลตามหลักพุทธศาสนา :b1:


อริยะบุคคล คือผู้ที่กำจัดอาสวะได้แล้ว
กรัชกาย นิยามตามคำแปล ก็ดีกว่าแสดงเป็นอื่นนะ อนุโมทนา ^ ^



ทีนี้ก็ถึงตาเช่นนั้น นิยามบ้าง อย่าเฉไฉนะ คิกๆๆ เอ้าว่าไป :b1:

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 06 มิ.ย. 2014, 04:38 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


เช่นนั้น เขียน:
กรัชกาย เขียน:
อ้างคำพูด:
พุทธานุสสติ ในสมัยพุทธกาล
นอกจากจิตใจเลื่อมใสศรัทธาในคุณความดีของพระพุทธองค์แล้วนั้น
ยังนำเอาพระวรกาย การได้เห็นพระพุทธองค์ ระลึกถึงพระพุทธองค์เป็นสัญญาแนบแน่น

การบรรลุธรรมลักษณะนี้ เห็นได้ชัดจากตัวอย่าง ของ ปิงคิยมาณพ ใน โสฬสปัญหา
ซึ่งปิงคิยมาณพ เลื่อมใสศรัทธาพระพุทธองค์ ถึงขนาดกล่าวว่า ท่านเห็นพระพุทธองค์ด้วยใจเหมือนเห็นด้วยจักษุ

ซึ่งในกาลต่อมา พระพุทธองค์ทรงทราบวาระจิตของปิงคิยมานพนั้น ก็ทรงทราบว่า อินทรีย์ของปิงคิยมาณพ นั้นแก่กล้าแล้ว จึงมาตักเตือนให้ปิงคิยมาณพนั้นมีปัญญายิ่งขึ้น จนบรรลุอรหัตผลในที่สุด

ดังนั้น พุทธานุสสติ จึงมีพระพุทธองค์ หรือคุณของพระพุทธองค์ เป็นอนุสติ ครับ



อริยะเช่นนั้นจะแนวนี้ อ่านๆแล้วก็เพ้อ :b1:

viewtopic.php?f=2&t=47856&p=353586#p353586


ชีวิตสำเร็จรูป :b32:

กระทู้นั้น
เป็นการบอกให้รู้ว่า ในสมัยพุทธกาล พุทธานุสติ เขามีพุทธคุณ และรูปลักษณ์ ของพระพุทธองค์ตัวเป็นๆ เป็นอนุสติ
เพราะในกระทู้ เขาแยกแยะไม่ออก ระหว่าง พุทธานุสติ และธัมมานุสติ

ตั้งใจบอกเพียงนั้น จึงยก ปิงคิยมานพ เป็นตัวอย่างที่เห็นชัด
กรัชกายอย่าหลับหูหลับตาวิจาร เคยเปิดอ่านไหม พระสูตรนั้น
:b28:


อ้างคำพูด:
ในสมัยพุทธกาล พุทธานุสติ เขามีพุทธคุณ และรูปลักษณ์ ของพระพุทธองค์ตัวเป็นๆ เป็นอนุสติ



พูดยังงั้น ก็แสดงว่าปัจจุบัน ใช้พุทธานุสติไม่ได้ ใช่ ไม่ใช่


สัญญา ที่เช่นนั้นพูด หมายถึงอะไร

อ้างคำพูด:
เคยเปิดอ่านไหม พระสูตรนั้น



ถ้าอ่านแล้วเห็นชีวิตเข้าใจชีวิตเป็นท่อนซุง เป็นก้อนหิน เป็นชีวิตสำเร็จรูป ไม่เคลื่อนไหว เป็นยังไงก็ยังงั้น อย่าอ่านดีกว่า หาหนังสืออื่นๆอ่านเอา อ้าวจริงๆ :b32:

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 06 มิ.ย. 2014, 04:45 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


เช่นนั้น เขียน:
กรัชกาย เขียน:
ปัดโธ่ ความจำนี่เห็นง่ายๆ เราลองท่องจำบทสวดมนต์เป็นต้น ท่องสิครับ จำได้ช้าเร็วขนาดไหน นั่นแหละลักษณะขององค์ธรรมสองตัวดังกล่าว คิกๆๆ

ถามกรัชกายว่า
กรัชกายเชื่อและเห็นตามบทความนั้นหรือไม่

ไม่ได้ถามเลยนะว่า ความจำนี่เห็นอย่างไร



เห็นด้วย เพราะพูดถึงชีวิตปัจจุบัน

เช่นนั้นไม่เห็นด้วยตรงไหน อ้าวว่าไป :b1:

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 06 มิ.ย. 2014, 13:00 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 14 ก.ค. 2008, 21:56
โพสต์: 3925

ชื่อเล่น: เช่นนั้น
อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
อริยะบุคคล คือผู้ที่กำจัดอาสวะได้แล้ว

อริยะบุคคล มีบุคคล 4 ประเภท 8 คู่บุรุษ
กล่าวคือ เริ่มตั้งแต่ผู้ที่ปฏิบัติ เพื่อความละความเห็นผิด รักษา ศีล 5 ได้ เช่น โสดาปัตติมัคคบุคคล
ไปจนถึง ผู้ที่กำจัดอาสวะและมีความรู้แจ้งเห็นจริงแล้ว คือบุคคลผู้บรรลุอรหัตผล

.....................................................
ธรรมะอันยิ่งใหญ่ ไม่อาจเอื้อนเอ่ย
บัญญัติ เป็นเพียงสิ่งต่ำต้อยแบกรับความยิ่งใหญ่


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 06 มิ.ย. 2014, 13:15 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


เช่นนั้น เขียน:
กรัชกาย เขียน:
อริยะบุคคล คือผู้ที่กำจัดอาสวะได้แล้ว

อริยะบุคคล มีบุคคล 4 ประเภท 8 คู่บุรุษ
กล่าวคือ เริ่มตั้งแต่ผู้ที่ปฏิบัติ เพื่อความละความเห็นผิด รักษา ศีล 5 ได้ เช่น โสดาปัตติมัคคบุคคล
ไปจนถึง ผู้ที่กำจัดอาสวะและมีความรู้แจ้งเห็นจริงแล้ว คือบุคคลผู้บรรลุอรหัตผล



ที่ว่ามาเนื่ยตามหลักไหน :b1:


ข้าม สัญญาแนบแน่น ที่ว่า หมายถึงสัญญาอะไรครับ :b14:

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 06 มิ.ย. 2014, 14:21 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 14 ก.ค. 2008, 21:56
โพสต์: 3925

ชื่อเล่น: เช่นนั้น
อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
เช่นนั้น เขียน:
กรัชกาย เขียน:
อริยะบุคคล คือผู้ที่กำจัดอาสวะได้แล้ว

อริยะบุคคล มีบุคคล 4 ประเภท 8 คู่บุรุษ
กล่าวคือ เริ่มตั้งแต่ผู้ที่ปฏิบัติ เพื่อความละความเห็นผิด รักษา ศีล 5 ได้ เช่น โสดาปัตติมัคคบุคคล
ไปจนถึง ผู้ที่กำจัดอาสวะและมีความรู้แจ้งเห็นจริงแล้ว คือบุคคลผู้บรรลุอรหัตผล

ที่ว่ามาเนื่ยตามหลักไหน :b1:
ข้าม สัญญาแนบแน่น ที่ว่า หมายถึงสัญญาอะไรครับ :b14:

กรัชกายถามตาเช่นนั้นนิยามบ้าง
เช่นนั้น ก็นิยาม มีปัญหาอะไรหรือครับ

กรัชกาย เขียน:
อ้างคำพูด:
ในสมัยพุทธกาล พุทธานุสติ เขามีพุทธคุณ และรูปลักษณ์ ของพระพุทธองค์ตัวเป็นๆ เป็นอนุสติ

พูดยังงั้น ก็แสดงว่าปัจจุบัน ใช้พุทธานุสติไม่ได้ ใช่ ไม่ใช่

ในปัจจุบัน มีผู้เข้าใจคลาดเคลื่อน เอาธรรมานุสสติ เป็นพุทธานุสสติ คือคำตอบ

ยกตัวอย่างเช่น วัยรุ่นบางคนมีดาราคนนั้นคนนี้เป็น ไอดอล เป็นต้น มีความประทับใจในบุคคลใด ก็เอาบุคคลนั้นมาเป็นต้นแบบมาเป็นแรงบันดาลใจในการดำเนินชีวิต

ถ้าใช้คำปัจจุบันอธิบาย พุทธานุสติ อาศัยความเข้าใจต่อคุณความดีของพระพุทธองค์ และลักษณะมหาบุรุษอันให้เกิดความเลื่อมใส ในปัจจุบันกล่าวได้ว่ามีการสร้างหรือวาดรูปตามพุทธลักษณะขึ้นมาแทนพระองค์จริงเพื่อชดเชยส่วนที่หายไป .... โดยนำเอาคุณความดีที่ได้เข้าใจที่มีในบุคคลนั้น มาเป็นต้นแบบในการดำเนินชีวิต บางท่านอาจจะผนวกเอาโดยอาศัยพระพุทธรูปแทนบุคคลนั้นไปประกอบก็มี

สัญญาแนบแน่น ในเรื่องพุทธานุสสติ
สัญญา คือ การทำความรู้พร้อมให้เกิดขึ้น
แนบแน่น คือระลึกได้ระลึกอยู่จนเป็นปรกติมั่นคง

สัญญาแนบแน่น ความมีสติมีสมาธิทำความรู้พร้อมในพุทธคุณจนเป็นปรกติมั่นคง

.....................................................
ธรรมะอันยิ่งใหญ่ ไม่อาจเอื้อนเอ่ย
บัญญัติ เป็นเพียงสิ่งต่ำต้อยแบกรับความยิ่งใหญ่


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 06 มิ.ย. 2014, 14:30 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 14 ก.ค. 2008, 21:56
โพสต์: 3925

ชื่อเล่น: เช่นนั้น
อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
เช่นนั้น เขียน:
เคยเปิดอ่านไหม พระสูตรนั้น

ถ้าอ่านแล้วเห็นชีวิตเข้าใจชีวิตเป็นท่อนซุง เป็นก้อนหิน เป็นชีวิตสำเร็จรูป ไม่เคลื่อนไหว เป็นยังไงก็ยังงั้น อย่าอ่านดีกว่า หาหนังสืออื่นๆอ่านเอา อ้าวจริงๆ :b32:

แสดงว่า ไม่เคยเปิดอ่าน
การวิจารจึงเป็นการวิจารส่งเดช

.....................................................
ธรรมะอันยิ่งใหญ่ ไม่อาจเอื้อนเอ่ย
บัญญัติ เป็นเพียงสิ่งต่ำต้อยแบกรับความยิ่งใหญ่


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 06 มิ.ย. 2014, 14:55 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 14 ก.ค. 2008, 21:56
โพสต์: 3925

ชื่อเล่น: เช่นนั้น
อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
เช่นนั้น เขียน:
กรัชกาย เขียน:
ปัดโธ่ ความจำนี่เห็นง่ายๆ เราลองท่องจำบทสวดมนต์เป็นต้น ท่องสิครับ จำได้ช้าเร็วขนาดไหน นั่นแหละลักษณะขององค์ธรรมสองตัวดังกล่าว คิกๆๆ

ถามกรัชกายว่า
กรัชกายเชื่อและเห็นตามบทความนั้นหรือไม่

เห็นด้วย เพราะพูดถึงชีวิตปัจจุบัน

เช่นนั้นไม่เห็นด้วยตรงไหน อ้าวว่าไป :b1:

การพูดถึงชีวิตปัจจุบัน มันก็กว้างไป

ถามกรัชกายว่า ขันธ์ 5 มี รูปขันธ์ เวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์ วิญญาณขันธ์

กึ่งสติ กึ่งสัญญา เป็นขันธ์ไหน หรือว่า ต้องเพิ่มจำนวนขันธ์ใหม่ เป็น กึ่งสติกึ่งสัญญาขันธ์
อ้างคำพูด:
สัญญาก็ดี สติก็ดี มีความหมายคาบเกี่ยว และเหลี่ยมกันกับความจำ กล่าวคือ ส่วนหนึ่งของสัญญาเป็นส่วนหนึ่งของความจำ อีกส่วนหนึ่งของสัญญา อยู่นอกเหนือความหมายของความจำ แม้สติก็เช่นเดียวกัน ส่วนหนึ่งของสติเป็นส่วนหนึ่งของความจำ อีกส่วนหนึ่งของสติ อยู่นอกเหนือความหมายของกระบวนการทรงจำ


เขียนออกมาซะหรู แต่ที่จริง ชุ่ยมาก สภาวะมันแยกจากกันชัดเจน แต่คนเขียนมักง่ายจึงเขียนออกมาอย่างนั้น
ยังมีการตบท้าย กลัวโดนด่าอีกแน่ะ เลยเขียนแบบนี้ออกมา
อ้างคำพูด:
ข้อที่พึงกำหนดหมายและระลึกไว้อย่างสำคัญ คือ สัญญา และ สติ ทำหน้าที่คนละอย่างในกระบวนการทรงจำ


อาการจิต อธิบายแยกกันโดยหน้าที่ เจือกันในจิต
จำไว้ จำได้ รู้จำ เป็นเรื่องของสัญญา
ส่วนสติ เป็นเจตสิกเป็นอาการจิต จัดอยู่ในสังขารขันธ์ที่มีลักษณะเฉพาะพิเศษ ซึ่งพระพุทธองค์ แม้แต่พระสังคีติยาจารย์ก็ได้ชี้แจงให้เห็นเฉพาะ ว่า สติมันต้องฉับพลัน เหมือนด่านแรกที่กั้นกระแสแห่งกิเลส ประกอบกับกุศลจิต จึงต้องมีปัญญากับสมาธิเป็นตัวเกิดร่วมเกิดพร้อมเสมอ ไม่เป็นสาธารณะกับอกุศลจิต
ต้องทำความศึกษา สติมีเหตุมีปัจจัยอะไรจึงได้มา

สัญญาจำสิ่งใด ปัญญารู้แจ้งสิ่งนั้น สติก็ระลึกได้เพียงนั้น ความเจือกันของ สติ ปัญญา สัญญา คือลักษณะนี้
แต่การระลึกได้ของสติ นั้นไม่ใช่นั่งคิด หรือคิดตรึก หรือพิจารณา ประเดี๋ยวก็เอา สติไปปนกับ วิตก กับมนสิการอีก
การระลึกที่ไว จึงเป็นคุณสมบัติของสติ
การระลึกได้เพียงนั้น คือแม้สติ ก็มีขอบเขตความสามารถของสติในแต่ละขณะ เราเรียกขอบเขตความสามารถของสติ ว่าสติพละ
เพราะฉะนั้น สติทำให้เกิดได้ ฝึกได้


คนเขียนเค้าเบลอๆ ไปกับสภาวะ
ไปเบลอกับคำแปลตายตัว
กรัชกายถึงเบลอไปกับความหมายมั่วๆ ต่อไปนี้

อ้างคำพูด:
สติ มีหน้าที่ดึงอารมณ์มาสู่จิต เหนี่ยวอารมณ์ ไว้กับจิต คุมหรือกำกับจิตไว้กับอารมณ์ ตรึงเอาไว้ไม่ยอมให้ลอยผ่านหรือคลาดกันไป จะเป็นการดึงมาซึ่งอารมณ์ที่ผ่านไปแล้ว หรือดึงไว้ซึ่งอารมณ์ที่จะผ่านไปก็ได้ สติ จึงมีขอบเขตความหมายคลุมถึง การระลึก นึกถึง นึกไว้ นึกได้ ระลึกได้ ไม่เผลอ สติเป็น การริเริ่มเองจากภายใน โดยอาศัยพลังแห่งเจตนา หรือเจตจำนง ในเมื่ออารมณ์อาจจะไม่ปรากฏอยู่ต่อหน้า เป็นฝ่ายจำนงต่ออารมณ์ จึงจัดอยู่ในพวกสังขาร


ยังอ้างพระอานนท์มาตั้งแต่บรรทัดแรกซะอีก
มั่วมากกกกกกกกกกก

.....................................................
ธรรมะอันยิ่งใหญ่ ไม่อาจเอื้อนเอ่ย
บัญญัติ เป็นเพียงสิ่งต่ำต้อยแบกรับความยิ่งใหญ่


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 06 มิ.ย. 2014, 15:30 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


วางหลักไว้ก่อน


อนุสติ 10 คือ อารมณ์ดีงามที่ควรระลึกถึงเนืองๆ ได้แก่

1. พุทธานุสติ ระถึงพระพุทธเจ้า และพิจารณาคุณของพระองค์

2. ธัมมานุสติ ระลึกถึงพระธรรม พิจารณาคุณของพระธรรม

3. สังฆานุสติ ระถึงถึงสงฆ์ พิจารณาคุณของพระสงฆ์

4. สีลานุสติ ระลึกถึงศีล พิจารณาศีลของตน ที่ได้ประพฤติบริสุทธิ์ไม่ด่างพร้อย

5. จาคานุสติ ระลึกถึงจาคะ ทานที่ตนได้บริจาคแล้ว และพิจารณาเห็นคุณของธรรม คือความเผื่อนแผ่เสียสละที่มีในตน

6. เทวตานุสติ ระลึกถึงเทวดา หมายถึงเทวดาที่ตนเคยได้รู้ได้ยินมา และพิจารณาคุณธรรมซึ่งทำคนให้เป็นเทวดา ตามที่มีอยู่ในตน

7.มรณสติ ระลึกถึงความตายอันจะต้องมีมาถึงตนเป็นธรรมดา พิจาณาให้เกิดความเป็นไม่ประมาท

8.กายคตาสติ สติอันไปในกาย หรอืระลึกถึงเกี่ยวกับร่างกาย คือ กำหนดพิจารณากายนี้ ให้เห็นว่าประกอบด้วยส่วนต่างๆ คือ อาการ 32 อันไม่สะอาด ไม่งาม น่าเกลียด เป็นทางรู้เท่าทันสภาวะของกายนี้ มิให้หลุงใหลมัวเมา

9. อานาปานสติ สติกำหนดลมหายใจเข้าออก

10. อุปสมานุสติ ระลึกถึงธรรมที่สงบ คือนิพพาน และพิจารณาคุณของนิพพาน อันเป็นที่หายร้อน ดับกิเลส และไร้ทุกข์

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


แสดงโพสต์จาก:  เรียงตาม  
กลับไปยังกระทู้  [ 200 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1, 2, 3, 4, 5, 6 ... 14  ต่อไป

เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


 ผู้ใช้งานขณะนี้

่กำลังดูบอร์ดนี้: ไม่มีสมาชิก และ บุคคลทั่วไป 1 ท่าน


ท่าน ไม่สามารถ โพสต์กระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ตอบกระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แก้ไขโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ลบโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แนบไฟล์ในบอร์ดนี้ได้

ค้นหาสำหรับ:
ไปที่:  
Google
ทั่วไป เว็บธรรมจักร