วันเวลาปัจจุบัน 28 ก.ค. 2025, 22:14  



เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง




กลับไปยังกระทู้  [ 219 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1 ... 11, 12, 13, 14, 15  ต่อไป  Bookmark and Share
เจ้าของ ข้อความ
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 30 ก.ย. 2016, 20:20 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


จงกรม เดินไปมาโดยมีสติกำกับ

รูปภาพ


สติ มีหน้าที่ดึงอารมณ์มาสู่จิต เหนี่ยวอารมณ์ไว้กับจิต คุมหรือกำกับจิตไว้กับอารมณ์ ตรึงเอาไว้ไม่ยอมให้ลอยผ่านหรือคลาดกันไป จะเป็นการดึงมาซึ่งอารมณ์ที่ผ่านไปแล้ว หรือดึงไว้ซึ่งอารมณ์ที่จะผ่านไปก็ได้ สติจึงมีขอบเขตความหมายคลุมถึง การระลึก นึกถึง นึกไว้ นึกได้ ระลึกได้ ไม่เผลอ สติเป็นการริเริ่มเองจากภายใน โดยอาศัยพลังแห่งเจตนาหรือเจตจำนง ในเมื่ออารมณ์อาจจะไม่ปรากฏอยู่ต่อหน้า เป็นฝ่ายจำนงต่ออารมณ์ จึงจัดอยู่ในพวกสังขาร

(สติพูดถึงกันบ่อย นำหลักมาวางเทียบไว้ก่อน)

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 30 ก.ย. 2016, 20:24 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


รูปภาพ

สติ มีหน้าที่ดึงอารมณ์มาสู่จิต เหนี่ยวอารมณ์ไว้กับจิต คุมหรือกำกับจิตไว้กับอารมณ์ ตรึงเอาไว้ไม่ยอมให้ลอยผ่านหรือคลาดกันไป จะเป็นการดึงมาซึ่งอารมณ์ที่ผ่านไปแล้ว หรือดึงไว้ซึ่งอารมณ์ที่จะผ่านไปก็ได้ สติจึงมีขอบเขตความหมายคลุมถึง การระลึก นึกถึง นึกไว้ นึกได้ ระลึกได้ ไม่เผลอ สติเป็น การริเริ่มเองจากภายใน โดยอาศัยพลังแห่งเจตนา หรือเจตจำนง ในเมื่ออารมณ์อาจจะไม่ปรากฏอยู่ต่อหน้า เป็นฝ่ายจำนงต่ออารมณ์ จึงจัดอยู่ในพวกสังขาร

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 30 ก.ย. 2016, 20:29 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


คำว่า “ปัจจุบัน” ตามที่คนทั่วไปเข้าใจ มักครอบคลุมกาลเวลาช่วงกว้างที่ไม่ชัดเจน

ส่วนในทางธรรม เมื่อว่า ถึงการปฏิบัติทางจิต "ปัจจุบัน” หมายถึง ขณะเดียว ที่กำลังเกิดขึ้น เป็นอยู่


บ้างก็เรียก ปัจจุบันอารมณ์,ปัจจุบันธรรม,ปัจจุบันขณะ


รูปภาพ




อารมณ์ แปลว่า สิ่งอันเป็นที่สำหรับจิตมาหน่วงอยู่ หรือสิ่งสำหรับยึดหน่วงของจิต แปลง่ายๆว่า สิ่งที่ถูกรับรู้หรือสิ่งที่ถูกรู้


พักไว้ให้สักเกตก่อน รอคำตอบจากคุณ student ด้วย

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 30 ก.ย. 2016, 23:56 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 27 เม.ย. 2010, 08:10
โพสต์: 2830

แนวปฏิบัติ: ขันธ์5ด้วยการสังเกตุ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ และอินทรีย์22
สิ่งที่ชื่นชอบ: พระสุตตันตปิฎก
อายุ: 0
ที่อยู่: ระยอง อุบลราชธานี

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
student เขียน:
กรัชกาย เขียน:
student เขียน:
กรัชกาย เขียน:
student เขียน:
กรัชกาย เขียน:
student เขียน:
กรัชกาย เขียน:
student เขียน:
ที่คุณกรัธกายถามๆ
ผมก็ตอบไปทุกข้อ
ไม่เว้นแม้แต่ข้อเดียว
ลองพิจารณาดูครับ

คำตอบทั้งหมดคือ การที่ผมเรียนๆมาแล้วทำให้เกิดความคิดเห็นแบบนี้
ไม่ใช่ว่ารู้หมดรู้ลึก แต่ตอบเท่าที่พิจารณา


ขอบคุณนะขอรับ จะได้ว่ากันต่อไป

เรื่อง "จงกรม" (เดินไปมาโดยมีสติกำกับการเดิน ซึ่งต่างจากเดินไปมาทั่วๆไป) เป็นกายานุปัสสนานะ ฝ่ายรูปธรรม มองเห็นด้วยตาเนื้อนะ :b1:


เรามาว่ากันต่อไป

ที่เหลือจะมองไม่เห็นด้วยตาเนื้อเพราะเป็นฝ่ายนามธรรม

1. กายานุปัสสนา (ข้อนี้ผ่านไป)

2. เวทนานุปัสสนา

3.จิตตานุปัสสนา

4. ธัมมานุปัสสนา

สามข้อที่เหลือเป็นโพธิปักขิยธรรมไหม

1. เป็น

2. ไม่เป็น

3.อื่นๆ


ถ้ากายานุปัสสนามีโพธิปักขิยธรรมเป็นฐานแล้ว
ที่เป็นฝ่ายนาม ก็ถือว่าเป็นโพธิปักขิยธรรมครับ

เพราะนามธรรมคือปัจจัยแห่งขันธ์ 5 มี เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ
เป็นสังขตะธรรม



คุณ student จัดขันธ์ ๕ เข้าใน รูปธรรม, นามธรรมสิครับ


ขันธ์5 รูปขันธ์คือรูปธรรม เวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์ วิญญาณขันธ์ คือนามธรรมครับ


ขอบคุณครับ

คุณ student สงเคราะห์ สติปัฏฐาน 4 ลงในขันธ์ 5 สิครับ (ได้แค่ไหนก็แค่นั้น)


การเข้าไปศึกษาสัจธรรม ของนามรูป ที่เป็นสภาวะของสามัญลักษณะครับด้วยธรรมที่ปรากฏเป็นปัจจุบันอารมณ์


กรัชกายถามไม่ชัด หรือคุณ student เข้าใจคำถามผิด เอาใหม่นะครับ จะพิมพ์ให้เห็นภาพ แล้วคุณจัดเข้ากันหรือสงเคราะห์ให้ลงกัน ดู

สติปัฏฐาน มี 4 คือ

1. กายานุปัสสนา
2. เวทนานุปัสสนา
3. จิตตานุปัสสนา
4. ธัมมานุปัสสนา

ขันธ์ มี 5 คือ

1. รูปขันธ์
2. เวทนาขันธ์
3. สัญญาขันธ์
4. สังขารขันธ์
5. วิญญาณขันธ์

ข้อไหนเข้ากับข้อไหนได้


จัดไม่เป็นหรอกครับคุณกรัธกาย
สิ่งที่ลึกซึ้งในสติปัฏฐานไม่ใช่ง่ายที่จะจัด mix and match

พอจะพิจารณาให้นึกภาพออกว่า กายานุปัสสนาสติปัฏฐานเป็นการพิจารณากาย เช่น อวัยวะต่างๆ
ปอด หัวใจ ตามัว ตาพร่ามัว น้ำเลือด สรุปคืออวัยวะต่างๆ ที่มีความเสื่อมเป็นธรรมดา

เอาความเห็นคุณกรัธกายด้วยครับ
ถามมาได้ แต่คุณกรัธกายก็ต้องให้ความเห็นด้วยว่าพิจารณาอย่างไร
จะmix and match ก็ตามสะดวกครับ



ก่อนอื่น ถามอีกหน่อย แล้วทั้งสติปัฏฐาน 4 กับ ขันธ์ 5 ใช่ชีวิตของคนชีวิตหนึ่งๆไหม ตามความเข้าใจของคุณ


ใช่ครับเป็นชีวิตของคนๆหนึ่งเฉพาะไป

.....................................................
อย่าท้อถอยต่อการปฏิบัติ อย่าปล่อยให้ความขุ่นเคืองเข้าแทรก สร้างพลังด้วยคำสอนของพระพุทธเจ้า รำลึกและตอบแทนพระคุณมารดา และบิดา มองโลกด้วยใจเป็นกลาง ระลึกเสมอว่าเรายังด้อยปัญญาหากยังไม่ได้ปัญญา


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 01 ต.ค. 2016, 00:15 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 27 เม.ย. 2010, 08:10
โพสต์: 2830

แนวปฏิบัติ: ขันธ์5ด้วยการสังเกตุ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ และอินทรีย์22
สิ่งที่ชื่นชอบ: พระสุตตันตปิฎก
อายุ: 0
ที่อยู่: ระยอง อุบลราชธานี

 ข้อมูลส่วนตัว


Rosarin เขียน:
student เขียน:
Rosarin เขียน:
Kiss
สติปัฏฐานหมายถึงการเป็นผู้มีปกติอบรมเจริญสติปัญญา
ในสภาพธรรมที่กำลังปรากฏว่ามีแล้วนั้นให้รู้ตามเป็นจริง
เพราะเป็นผู้มีปกติรู้ตรงความจริงเป็นอุชุปฏิปัณโณจริงๆ
https://m.youtube.com/watch?v=0v_FTmgLEVE
onion onion onion


แล้วอะไรล่ะครับที่เป็นธรรมเพื่อเข้าไปเจริญสติปัฏฐาน

อยู่ๆสติปัฏฐานจะเกิดเป็นองค์ธรรมขึ้นมาเหรอครับถ้าไม่มีเหตุ

Kiss
สติปัฏฐานเป็นกุศลธรรมล้วนๆไม่มีอกุศลธรรมค่ะ
การมีอุปาทานขันธ์ไม่สามารถถึงสติขั้นสติปัฏฐาน
onion onion onion


สติปัฏฐาน วางไว้สำหรับพุทธบริษัท4
เมื่อมีทุกข์อยู่ คือยังมีกิจความเพียรอยู่
คนที่มีอุปาทานขันธ์5นั่นแหละครับ เหมาะที่จะเจริญสติปัฏฐาน

เป็นเหตุเป็นผล

เมื่อปฎิบัติย่อมส่งผลให้เป็นกุศลธรรม

คุณโรสกำลังเข้าใจสับสนในความหมายของกุศลธรรมกับมิจฉาทิฏฐิหรือปล่าวครับ

.....................................................
อย่าท้อถอยต่อการปฏิบัติ อย่าปล่อยให้ความขุ่นเคืองเข้าแทรก สร้างพลังด้วยคำสอนของพระพุทธเจ้า รำลึกและตอบแทนพระคุณมารดา และบิดา มองโลกด้วยใจเป็นกลาง ระลึกเสมอว่าเรายังด้อยปัญญาหากยังไม่ได้ปัญญา


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 01 ต.ค. 2016, 05:36 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


อ้างคำพูด:
student
ใช่ครับเป็นชีวิตของคนๆหนึ่งเฉพาะไป


ครับขอบคุณมากๆ

ต่อไป กรัชกายจะสงเคราะห์ (ชีวิต) ที่ท่านแจกแจงใช้ในแง่ปฏิบัติเช่น สติปัฏฐาน 4 เป็นต้น กับ ชีวิตสำหรับเรียนรู้คือหลักขันธ์ 5 เป็นต้น (จำแนกโดยความเป็นอายตนะ...ได้อีก) เท่าที่จัดลงกันได้

พิจารณาดูครับ


สติปัฏฐาน มี 4

1. กายานุปัสสนา
2. เวทนานุปัสสนา
3. จิตตานุปัสสนา
4. ธัมมานุปัสสนา

ขันธ์ มี 5

1. รูปขันธ์ = กายานุปัสสนา

2. เวทนาขันธ์ = เวทนานุปัสสนา

3. สัญญาขันธ์

4. สังขารขันธ์ (2 ข้อที่เหลือ= ธัมมานุปัสสนา)

5. วิญญาณขันธ์ = จิตตานุปัสสนา

หนึ่งชีวิตของบุคคลของใครของมัน ซึ่งเขาต้องเรียนรู้ และนำไปปฏิบัติกันเอาเอง คุณ student เห็นด้วยไหม ไม่เห็นด้วยตรงไหน ค้านได้เต็มที่เลยครับ อย่าเกรงใจ :b1:

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 01 ต.ค. 2016, 06:17 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 25 เม.ย. 2009, 02:43
โพสต์: 12232


 ข้อมูลส่วนตัว


ป่วยการ...

เรียนมาก...ประโยชน์น้อย..

เพราะ..แค่ศีล...ยังผุผุพังพัง...

viewtopic.php?f=1&p=390570#p390570
กรัชกาย เขียน:
ใครนะ ปลูกบ้านอยู่บนยอดเขา ตัดสินว่าไม่มีเจตนา พ้นคุก ชาวบ้านเก็บเห็ดในป่า ตัดสินจำคุก 15 ปี :b32:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 01 ต.ค. 2016, 09:25 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กบนอกกะลา เขียน:
ป่วยการ...

เรียนมาก...ประโยชน์น้อย..

เพราะ..แค่ศีล...ยังผุผุพังพัง...

viewtopic.php?f=1&p=390570#p390570
กรัชกาย เขียน:
ใครนะ ปลูกบ้านอยู่บนยอดเขา ตัดสินว่าไม่มีเจตนา พ้นคุก ชาวบ้านเก็บเห็ดในป่า ตัดสินจำคุก 15 ปี :b32:



ศีลมาอีกแระ คิกๆๆ

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 01 ต.ค. 2016, 14:16 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 27 เม.ย. 2010, 08:10
โพสต์: 2830

แนวปฏิบัติ: ขันธ์5ด้วยการสังเกตุ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ และอินทรีย์22
สิ่งที่ชื่นชอบ: พระสุตตันตปิฎก
อายุ: 0
ที่อยู่: ระยอง อุบลราชธานี

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
อ้างคำพูด:
student
ใช่ครับเป็นชีวิตของคนๆหนึ่งเฉพาะไป


ครับขอบคุณมากๆ

ต่อไป กรัชกายจะสงเคราะห์ (ชีวิต) ที่ท่านแจกแจงใช้ในแง่ปฏิบัติเช่น สติปัฏฐาน 4 เป็นต้น กับ ชีวิตสำหรับเรียนรู้คือหลักขันธ์ 5 เป็นต้น (จำแนกโดยความเป็นอายตนะ...ได้อีก) เท่าที่จัดลงกันได้

พิจารณาดูครับ


สติปัฏฐาน มี 4

1. กายานุปัสสนา
2. เวทนานุปัสสนา
3. จิตตานุปัสสนา
4. ธัมมานุปัสสนา

ขันธ์ มี 5

1. รูปขันธ์ = กายานุปัสสนา

2. เวทนาขันธ์ = เวทนานุปัสสนา

3. สัญญาขันธ์

4. สังขารขันธ์ (2 ข้อที่เหลือ= ธัมมานุปัสสนา)

5. วิญญาณขันธ์ = จิตตานุปัสสนา

หนึ่งชีวิตของบุคคลของใครของมัน ซึ่งเขาต้องเรียนรู้ และนำไปปฏิบัติกันเอาเอง คุณ student เห็นด้วยไหม ไม่เห็นด้วยตรงไหน ค้านได้เต็มที่เลยครับ อย่าเกรงใจ :b1:


ผมเห็นด้วย

แต่ผมไม่กล้าที่จะออกความเห็น
เพราะมีความลึกซึ้งของธรรมอยู่ในนั้น
เกินสติปัญญาของผมที่จะบ่งชี้ลงไป

.....................................................
อย่าท้อถอยต่อการปฏิบัติ อย่าปล่อยให้ความขุ่นเคืองเข้าแทรก สร้างพลังด้วยคำสอนของพระพุทธเจ้า รำลึกและตอบแทนพระคุณมารดา และบิดา มองโลกด้วยใจเป็นกลาง ระลึกเสมอว่าเรายังด้อยปัญญาหากยังไม่ได้ปัญญา


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 01 ต.ค. 2016, 17:19 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


student เขียน:
กรัชกาย เขียน:
อ้างคำพูด:
student
ใช่ครับเป็นชีวิตของคนๆหนึ่งเฉพาะไป


ครับขอบคุณมากๆ

ต่อไป กรัชกายจะสงเคราะห์ (ชีวิต) ที่ท่านแจกแจงใช้ในแง่ปฏิบัติเช่น สติปัฏฐาน 4 เป็นต้น กับ ชีวิตสำหรับเรียนรู้คือหลักขันธ์ 5 เป็นต้น (จำแนกโดยความเป็นอายตนะ...ได้อีก) เท่าที่จัดลงกันได้

พิจารณาดูครับ


สติปัฏฐาน มี 4

1. กายานุปัสสนา
2. เวทนานุปัสสนา
3. จิตตานุปัสสนา
4. ธัมมานุปัสสนา

ขันธ์ มี 5

1. รูปขันธ์ = กายานุปัสสนา

2. เวทนาขันธ์ = เวทนานุปัสสนา

3. สัญญาขันธ์

4. สังขารขันธ์ (2 ข้อที่เหลือ= ธัมมานุปัสสนา)

5. วิญญาณขันธ์ = จิตตานุปัสสนา

หนึ่งชีวิตของบุคคลของใครของมัน ซึ่งเขาต้องเรียนรู้ และนำไปปฏิบัติกันเอาเอง คุณ student เห็นด้วยไหม ไม่เห็นด้วยตรงไหน ค้านได้เต็มที่เลยครับ อย่าเกรงใจ :b1:


ผมเห็นด้วย

แต่ผมไม่กล้าที่จะออกความเห็น
เพราะมีความลึกซึ้งของธรรมอยู่ในนั้น
เกินสติปัญญาของผมที่จะบ่งชี้ลงไป



ขอบคุณนะครับ

ถามอีกนิดคุณ student ปฏิบัติสติปัฏฐาน (เป็นหลักธรรมหมวดหนึ่งในโพธิปักขิยธรรม) เพื่อประโยชน์ใดครับ :b10:

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 01 ต.ค. 2016, 20:43 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


ภาพผลปฏิบัติตามแนวสติปัฏฐาน (คร่าวๆ) ถ้าโยคีปฏิบัติถูกต้องมาแต่ต้น



อาจพูดสรุปได้แนวหนึ่งว่า การเจริญสติปัฏฐาน คือการเป็นอยู่ด้วยสติ-สัมปชัญญะ ซึ่งทำให้ภาพตัวตนที่จิตอวิชชาปั้นแต่ง ไม่มีช่องที่จะแทรกตัวเข้ามาในความคิดแล้วก่อปัญหาขึ้นได้

การปฏิบัติตามแนวสติปัฏฐานนี้ นักศึกษาฝ่ายตะวันตกบางท่าน นำไปเปรียบเทียบกับวิธีการแบบจิตวิเคราะห์ของจิตแพทย์ (Psychiatrist) สมัยปัจจุบัน และประเมินคุณค่าว่า สติ ปัฏฐานได้ผลดีกว่า และใช้ประโยชน์ได้กว้างขวางกว่า เพราะทุกคนสามารถปฏิบัติได้เอง และใช้ในยามปรกติเพื่อความมีสุขภาพจิตที่ดีได้ด้วย

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 01 ต.ค. 2016, 21:34 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


นำตัวอย่างผู้ปฏิบัติทางจิต หรือจะเรียกว่าอะไรสุดแล้วแต่ (เขาทำไม่ผิดหรอก) แต่แก้ปัญหาขณะปฏิบัติไม่ถูก ซึ่งพบเห็นได้ตามบอร์ดธรรมะทั่วๆไป คือผู้ปฏิบัติทำจริงๆจังๆปลงใจตายเป็นตายพอประสบปัญหาข้องขัดไม่รู้จะถามใคร จึงตั้งกระทู้ถาม

ด้านผู้แนะไม่เคยลงมือทำไม่เคยมีประสบการณ์เลย คำถามคำตอบจึงออกแนวๆไปไหนมาสามวาสองศอก ผลเสียจึงตกแก่ผู้ปฏิบัติเต็มๆ :b7:

ตัวอย่างนี้ยืนยันคำพูดนั้น (ยาวตัดๆมา ลิงค์นี้อ้างบ่อย แต่ตรงนี้ยัง) ผู้ที่เคยปฏิบัติสังเกตดูก่อน



ขอบคุณมากสำหรับทุกๆ ความเห็นค่ะ

แต่ว่า ถ้าการฝึกสมาธิมันเสี่ยงกับการเป็นบ้า ทำไมเราถึงสนับสนุนคนให้ฝึกกันละคะ เพราะก็ไม่มีใครรู้หรอกว่าตัวเองมีเชื้อบ้าอยู่ในตัวไหม น่าจะสนับสนุนให้ศึกษาธรรมมะให้เข้าใจก็พอแล้ว คนที่เข้าใจธรรมมะจากการศึกษาก็พ้นทุกข์ได้ ไม่เห็นต้องมาเสี่ยงปฏิบัติ

ดิฉันไม่รู้ว่าตัวเองมีเชื้อมาก่อนไหม แต่รู้ว่าตัวเองสุขภาพจิตดีก่อนเกิดเหตุ

แต่เคยได้ยินว่าฝึกแล้วอาจจะบ้าได้ แต่เสียดายไม่เคยคิดเลยว่ามันใกล้ตัวไป ก็ไม่ได้เคร่งเครียดอะไรในการฝึก ทำไปตามปกติสบายสบาย จนมันผิดปกติถึงได้พยายามแก้ไขเอง นี่เองจุดหักเข้าสู่ความตาย

พอเห็นอาการทางกายหายไป แล้วดิฉันเริ่มหลง เพราะเห็นพระที่ดิฉันนับถือที่สุดในชีวิตเอาพระองค์เล็กๆใส่มาในตัวเรา ต่อจากนั้นก็รู้สึกไปว่าติดต่อทางจิตกับท่านตลอดเวลา... เจอมุขนี้ มือใหม่จะรับมือไหวได้ยังไง

หมอยังทำให้เบาใจได้ระดับหนึ่งคือเขาคิดว่ามันเป็น Bipolar มากกว่า schizophrenia
(ข้อแตกต่างของสองอันคือ schizophrenia จะไม่มีทางหาย แต่ bipolar หายได้)

ไม่ได้เห็นคนมาคุยด้วย เคยเห็นแค่ธง นกบินไปมา ตอนที่คิดว่าเรากำลังรับข่าวสารตอบโต้ไปมานานเลย ส่วนใหญ่จะเห็นอะไรที่ดีๆไม่น่ากลัวค่ะ แต่มีเสียงคนมาคุยด้วยตลอดหลายคน พลัดกันไปมา เป็นอยู่หลายอาทิตย์จนเขาต้องพาไปโรงพยาบาล

ตอนนี้หายไปหมดแล้วค่ะ เพียงแต่ยังมีเสียงมาจากใจ แต่เหมือนเป็นคนอื่นพูดเท่านั้น ดิฉันคิดว่ามันคงเป็นจิตเราเอง แค่แปลกใจทำไมพูดเหมือนเป็นคนอื่น แสดงว่ามันผิดปกติ แสดงว่ายังเป็น แสดงว่ายังต้องพึ่งยา

http://topicstock.pantip.com/religious/ ... 85609.html

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 02 ต.ค. 2016, 00:53 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 27 เม.ย. 2010, 08:10
โพสต์: 2830

แนวปฏิบัติ: ขันธ์5ด้วยการสังเกตุ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ และอินทรีย์22
สิ่งที่ชื่นชอบ: พระสุตตันตปิฎก
อายุ: 0
ที่อยู่: ระยอง อุบลราชธานี

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
student เขียน:
กรัชกาย เขียน:
อ้างคำพูด:
student
ใช่ครับเป็นชีวิตของคนๆหนึ่งเฉพาะไป


ครับขอบคุณมากๆ

ต่อไป กรัชกายจะสงเคราะห์ (ชีวิต) ที่ท่านแจกแจงใช้ในแง่ปฏิบัติเช่น สติปัฏฐาน 4 เป็นต้น กับ ชีวิตสำหรับเรียนรู้คือหลักขันธ์ 5 เป็นต้น (จำแนกโดยความเป็นอายตนะ...ได้อีก) เท่าที่จัดลงกันได้

พิจารณาดูครับ


สติปัฏฐาน มี 4

1. กายานุปัสสนา
2. เวทนานุปัสสนา
3. จิตตานุปัสสนา
4. ธัมมานุปัสสนา

ขันธ์ มี 5

1. รูปขันธ์ = กายานุปัสสนา

2. เวทนาขันธ์ = เวทนานุปัสสนา

3. สัญญาขันธ์

4. สังขารขันธ์ (2 ข้อที่เหลือ= ธัมมานุปัสสนา)

5. วิญญาณขันธ์ = จิตตานุปัสสนา

หนึ่งชีวิตของบุคคลของใครของมัน ซึ่งเขาต้องเรียนรู้ และนำไปปฏิบัติกันเอาเอง คุณ student เห็นด้วยไหม ไม่เห็นด้วยตรงไหน ค้านได้เต็มที่เลยครับ อย่าเกรงใจ :b1:


ผมเห็นด้วย

แต่ผมไม่กล้าที่จะออกความเห็น
เพราะมีความลึกซึ้งของธรรมอยู่ในนั้น
เกินสติปัญญาของผมที่จะบ่งชี้ลงไป



ขอบคุณนะครับ

ถามอีกนิดคุณ student ปฏิบัติสติปัฏฐาน (เป็นหลักธรรมหมวดหนึ่งในโพธิปักขิยธรรม) เพื่อประโยชน์ใดครับ :b10:


ประโยชน์ในการฝึกธรรมในหมวดใดหมวดหนึ่งในโพธิปักขิยธรรม ไม่เฉพาะสติปัฏฐาน ยังมีอีกหลายหมวดที่ศึกษาไปพร้อมๆกัน ก็เพื่อละความเห็นที่เข้าใจผิดเกี่ยวกับสัจธรรมความจริง เพื่อความสุขในปัจจุบัน ละความยึดติดในกิเลสทั้งหยาบและละเอียดตามลำดับ เพื่อขัดเกราศีลในชีวิตประจำวันของเราเอง

.....................................................
อย่าท้อถอยต่อการปฏิบัติ อย่าปล่อยให้ความขุ่นเคืองเข้าแทรก สร้างพลังด้วยคำสอนของพระพุทธเจ้า รำลึกและตอบแทนพระคุณมารดา และบิดา มองโลกด้วยใจเป็นกลาง ระลึกเสมอว่าเรายังด้อยปัญญาหากยังไม่ได้ปัญญา


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 02 ต.ค. 2016, 09:04 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


student เขียน:
กรัชกาย เขียน:
student เขียน:
กรัชกาย เขียน:
อ้างคำพูด:
student
ใช่ครับเป็นชีวิตของคนๆหนึ่งเฉพาะไป


ครับขอบคุณมากๆ

ต่อไป กรัชกายจะสงเคราะห์ (ชีวิต) ที่ท่านแจกแจงใช้ในแง่ปฏิบัติเช่น สติปัฏฐาน 4 เป็นต้น กับ ชีวิตสำหรับเรียนรู้คือหลักขันธ์ 5 เป็นต้น (จำแนกโดยความเป็นอายตนะ...ได้อีก) เท่าที่จัดลงกันได้

พิจารณาดูครับ


สติปัฏฐาน มี 4

1. กายานุปัสสนา
2. เวทนานุปัสสนา
3. จิตตานุปัสสนา
4. ธัมมานุปัสสนา

ขันธ์ มี 5

1. รูปขันธ์ = กายานุปัสสนา

2. เวทนาขันธ์ = เวทนานุปัสสนา

3. สัญญาขันธ์

4. สังขารขันธ์ (2 ข้อที่เหลือ= ธัมมานุปัสสนา)

5. วิญญาณขันธ์ = จิตตานุปัสสนา

หนึ่งชีวิตของบุคคลของใครของมัน ซึ่งเขาต้องเรียนรู้ และนำไปปฏิบัติกันเอาเอง คุณ student เห็นด้วยไหม ไม่เห็นด้วยตรงไหน ค้านได้เต็มที่เลยครับ อย่าเกรงใจ :b1:


ผมเห็นด้วย

แต่ผมไม่กล้าที่จะออกความเห็น
เพราะมีความลึกซึ้งของธรรมอยู่ในนั้น
เกินสติปัญญาของผมที่จะบ่งชี้ลงไป



ขอบคุณนะครับ

ถามอีกนิดคุณ student ปฏิบัติสติปัฏฐาน (เป็นหลักธรรมหมวดหนึ่งในโพธิปักขิยธรรม) เพื่อประโยชน์ใดครับ :b10:


ประโยชน์ในการฝึกธรรมในหมวดใดหมวดหนึ่งในโพธิปักขิยธรรม ไม่เฉพาะสติปัฏฐาน ยังมีอีกหลายหมวดที่ศึกษาไปพร้อมๆกัน ก็เพื่อละความเห็นที่เข้าใจผิดเกี่ยวกับสัจธรรมความจริง เพื่อความสุขในปัจจุบัน ละความยึดติดในกิเลสทั้งหยาบและละเอียดตามลำดับ เพื่อขัดเกราศีลในชีวิตประจำวันของเราเอง



จะยกตัวอย่างตามที่คุณ student อ้างบ่อยๆ คือ อินทรีย์ 5 ๆ เป็นสังขารเป็นนามธรรม (= ธัมมานุปัสสนา) สมมติว่า คุณ student ปฏิบัติสติปัฏฐาน 4 (ข้อ) คุณปฏิบัติแต่ละข้อๆอย่างไร เช่น

กายานุปัสสนา
เวทนานุปัสสนา
จิตตานุปัสสนา
ธัมมานุปัสสนา

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 02 ต.ค. 2016, 23:56 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 27 เม.ย. 2010, 08:10
โพสต์: 2830

แนวปฏิบัติ: ขันธ์5ด้วยการสังเกตุ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ และอินทรีย์22
สิ่งที่ชื่นชอบ: พระสุตตันตปิฎก
อายุ: 0
ที่อยู่: ระยอง อุบลราชธานี

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
student เขียน:
กรัชกาย เขียน:
student เขียน:
กรัชกาย เขียน:
อ้างคำพูด:
student
ใช่ครับเป็นชีวิตของคนๆหนึ่งเฉพาะไป


ครับขอบคุณมากๆ

ต่อไป กรัชกายจะสงเคราะห์ (ชีวิต) ที่ท่านแจกแจงใช้ในแง่ปฏิบัติเช่น สติปัฏฐาน 4 เป็นต้น กับ ชีวิตสำหรับเรียนรู้คือหลักขันธ์ 5 เป็นต้น (จำแนกโดยความเป็นอายตนะ...ได้อีก) เท่าที่จัดลงกันได้

พิจารณาดูครับ


สติปัฏฐาน มี 4

1. กายานุปัสสนา
2. เวทนานุปัสสนา
3. จิตตานุปัสสนา
4. ธัมมานุปัสสนา

ขันธ์ มี 5

1. รูปขันธ์ = กายานุปัสสนา

2. เวทนาขันธ์ = เวทนานุปัสสนา

3. สัญญาขันธ์

4. สังขารขันธ์ (2 ข้อที่เหลือ= ธัมมานุปัสสนา)

5. วิญญาณขันธ์ = จิตตานุปัสสนา

หนึ่งชีวิตของบุคคลของใครของมัน ซึ่งเขาต้องเรียนรู้ และนำไปปฏิบัติกันเอาเอง คุณ student เห็นด้วยไหม ไม่เห็นด้วยตรงไหน ค้านได้เต็มที่เลยครับ อย่าเกรงใจ :b1:


ผมเห็นด้วย

แต่ผมไม่กล้าที่จะออกความเห็น
เพราะมีความลึกซึ้งของธรรมอยู่ในนั้น
เกินสติปัญญาของผมที่จะบ่งชี้ลงไป



ขอบคุณนะครับ

ถามอีกนิดคุณ student ปฏิบัติสติปัฏฐาน (เป็นหลักธรรมหมวดหนึ่งในโพธิปักขิยธรรม) เพื่อประโยชน์ใดครับ :b10:


ประโยชน์ในการฝึกธรรมในหมวดใดหมวดหนึ่งในโพธิปักขิยธรรม ไม่เฉพาะสติปัฏฐาน ยังมีอีกหลายหมวดที่ศึกษาไปพร้อมๆกัน ก็เพื่อละความเห็นที่เข้าใจผิดเกี่ยวกับสัจธรรมความจริง เพื่อความสุขในปัจจุบัน ละความยึดติดในกิเลสทั้งหยาบและละเอียดตามลำดับ เพื่อขัดเกราศีลในชีวิตประจำวันของเราเอง



จะยกตัวอย่างตามที่คุณ student อ้างบ่อยๆ คือ อินทรีย์ 5 ๆ เป็นสังขารเป็นนามธรรม (= ธัมมานุปัสสนา) สมมติว่า คุณ student ปฏิบัติสติปัฏฐาน 4 (ข้อ) คุณปฏิบัติแต่ละข้อๆอย่างไร เช่น

กายานุปัสสนา
เวทนานุปัสสนา
จิตตานุปัสสนา
ธัมมานุปัสสนา


สติปัฏฐานทั้ง4 สามารถที่จะเข้าไปพิจารณาถึงเหตุปัจจัย
ธรรมที่ปรากฏคือเหตุปัจจัยแห่งการตั้งอยู่ คือสังขตะธรรม
เหตุปัจจัยเหล่านี้คือความเป็นสามัญลักษณะ คือทุกข์ ไม่เที่ยง เป็นอนัตตา

การปฎิบัติแต่ละข้อ ก็คือเหมือนกันหมดในเรื่องของการตั้งสติพิจารณาความเป็นสามัญลักษณะและสังขตะธรรม คือความเป็นเหตุปัจจัยในเรื่องภพ หรือกรรม ต่อลักษณะของการพิจารณาจะมีการพิจารณาในหมวดของขันธ์5 เช่น กายานุปัสสนาสติปัฏฐานพิจารณากายในกายนอก กายนอกคือสิ่งที่เรามองเห็นทุกวัน แขนขา ความหนุ่มความแก่ ความเจ็บความตาย กายในก็คือตับใต ใส้พุง หัวใจ เลือด ที่ประกอบกันต่างๆ ให้เห็นถึงโทษเหล่านั้น เช่น โทษของการเกิดมา(ภพ) แล้วพิจารณาไม่ให้เกิดความยึดถือเป็นโลภะ โทสะ โมหะ และมีความเห็นที่ผิดจากความจริงคือโทษของมิจฉาทิฏฐิ

ในหมวดเวทนานุปัสสนาก็จะตั้งสติพิจารณาความเป็นปัจจัยแห่งความทุกข์กายทุกข์ใจความบีบคั้นทางจิตใจความบีบคั้นทางร่างกายว่าเป็นเพียงเหตุปัจจัย เป็นสามัญลักษณะ เป็นสังขตะธรรม ให้เห็นโทษในเวทนาเหล่านั้นและละความยึดถือไม่ให้เกิดโลภะโทสะโมหะ และละความเป็นมิจฉาทิฏฐิ

จิตตานุปัสสนาคือตั้งสติรู้ความหมายแห่งการตื่น คือการไม่ตกภวังค์ การรู้ว่าตื่นรู้ การไม่สับสนระหว่างสภาวะที่ตื่นอยู่กับสภาวะของการตกภวังค์ ให้ลงในเหตุปัจจัยแห่งสามัญลักษณะและเป็นสังขตะธรรม

ธรรมานุปัสสนาสติปัฏฐาน คือมีสติพิจารณาธรรมทั้งปวงเช่นอารมณ์ต่างๆรักโลภโกรธหลงเป็นโทษไม่ควรยึดถือเพราะเป็นเหตุแห่งการสานต่อเชื้อของโลภะโทสะโมหะ เป็นทุกข์ ไม่เที่ยง เป็นอนิจจัง คือสังขตะธรรมครับ

.....................................................
อย่าท้อถอยต่อการปฏิบัติ อย่าปล่อยให้ความขุ่นเคืองเข้าแทรก สร้างพลังด้วยคำสอนของพระพุทธเจ้า รำลึกและตอบแทนพระคุณมารดา และบิดา มองโลกด้วยใจเป็นกลาง ระลึกเสมอว่าเรายังด้อยปัญญาหากยังไม่ได้ปัญญา


แสดงโพสต์จาก:  เรียงตาม  
กลับไปยังกระทู้  [ 219 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1 ... 11, 12, 13, 14, 15  ต่อไป

เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


 ผู้ใช้งานขณะนี้

่กำลังดูบอร์ดนี้: ไม่มีสมาชิก และ บุคคลทั่วไป 1 ท่าน


ท่าน ไม่สามารถ โพสต์กระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ตอบกระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แก้ไขโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ลบโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แนบไฟล์ในบอร์ดนี้ได้

ค้นหาสำหรับ:
ไปที่:  
Google
ทั่วไป เว็บธรรมจักร