วันเวลาปัจจุบัน 18 ก.ค. 2025, 22:30  



เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง




กลับไปยังกระทู้  [ 542 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1 ... 10, 11, 12, 13, 14, 15, 16 ... 37  ต่อไป  Bookmark and Share
เจ้าของ ข้อความ
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 25 พ.ค. 2011, 18:35 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 25 เม.ย. 2009, 02:43
โพสต์: 12232


 ข้อมูลส่วนตัว


eragon_joe เขียน:
นั่นเพราะ ดวงตา ของท่านที่จ้องไปที่อรรถ ถูกบิดเบือนด้วย สัญญา ไปเรียบร้อยแล้ว

นี่คือ ผลของสัญญา ที่ทำไม สัญญาก็คือ สัญญาเป็นกองหนึ่งในขันธ์ห้า
.....


:b3: :b3: :b3:

อ้างคำพูด:

:b1: พูดมากแล้ว และคงไม่พูดแล้ว
เพราะอาจารย์เตือน ๆ แล้ว ที่มัวแต่มาไหลไปกับกระทู้ ครับป๋ม

:b8: :b12: :b12:


:b12: :b12: :b12:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 25 พ.ค. 2011, 18:40 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 3
สมาชิก ระดับ 3
ลงทะเบียนเมื่อ: 05 ม.ค. 2011, 09:16
โพสต์: 158

แนวปฏิบัติ: พุธโท
งานอดิเรก: นั่งสมาธิ
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปรัชญา
ชื่อเล่น: T^^T
อายุ: 23
ที่อยู่: ลำปาง

 ข้อมูลส่วนตัว


พระอริยสงฆ์ถึงแม้ท่านจะอยู่เหนือศีลแต่ท่านก็ยังสำรวมอยู่ในศีล :b22: :b22:

.....................................................
ดูก่อu!!!ภิกษุทั้งหลาย!!!คนพาลเขากลัวยากจนจึงไม่รู้จักขวนขวายในการให้ทาน!!!ส่วนบัณฑิตชนเขากลัวยากจนจึงรู้ขวนขวายในการให้ทาน!!!


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 25 พ.ค. 2011, 19:04 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 11 ต.ค. 2010, 12:11
โพสต์: 5019


 ข้อมูลส่วนตัว


กบนอกกะลา เขียน:
eragon_joe เขียน:
นั่นเพราะ ดวงตา ของท่านที่จ้องไปที่อรรถ ถูกบิดเบือนด้วย สัญญา ไปเรียบร้อยแล้ว

นี่คือ ผลของสัญญา ที่ทำไม สัญญาก็คือ สัญญาเป็นกองหนึ่งในขันธ์ห้า
.....


:b3: :b3: :b3:

อ้างคำพูด:

:b1: พูดมากแล้ว และคงไม่พูดแล้ว
เพราะอาจารย์เตือน ๆ แล้ว ที่มัวแต่มาไหลไปกับกระทู้ ครับป๋ม

:b8: :b12: :b12:


:b12: :b12: :b12:


:b6: :b6: อะไรวะ กินแรงเพื่อนนี่หว่าาาาา


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 25 พ.ค. 2011, 19:08 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 25 เม.ย. 2009, 02:43
โพสต์: 12232


 ข้อมูลส่วนตัว


เอิ้ก...เอิ้ก...เอิ้ก...

:b32: :b32: :b32:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 25 พ.ค. 2011, 19:10 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 13 ก.พ. 2010, 17:53
โพสต์: 4999

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


Supareak Mulpong เขียน:
อ้างคำพูด:
ท่านลองพิจารณาดูให้ดีครับว่า คำพูดของท่านมันเป็นการยกตนข่มท่านหรือเปล่า
กับอีกคนที่รู้และพิสูจน์มาเหมือนกัน แต่มันติดตรงที่เขาไม่อวดอ้างว่าได้โน้นมาได้นี่มา
เพียงแค่แสดงความเห็นไปตามสิ่งที่ได้มา ทุกอย่างนี้ก็เพื่อให้ผู้อื่นพิจารณาเอาเอง
ว่ามันใช่ไม่ใช่ สมควรเชื่อหรือเปล่า
ความจริงมันขัีดกับความเชื่อ ถ้าการแสดงความจริงเป็นการยกตนข่มท่าน ก็คงไม่มีการแสดงธรรม

มันจะเป็นไรไปครับถ้าเป็นการแสดงธรรม แต่ไม่ใช่เวลาเขามีเหตุผลมาแย้ง
ท่านเล่นเฉไฉ แสดงอาการปิดบังซ่อนเร้น โดยใช้คำพูดเหมือนการดูถูก
เพื่อให้อีกฝ่ายยอมสยบครับ
Supareak Mulpong เขียน:
อ้างคำพูด:
จิตที่มีตัณหาเขายังไม่เรียกว่าผิดศีลนะครับ ตัณหามันเกิดตามเหตุปัจจัยตามหลักของ
อิทัปฯกับปฏิจจ์ฯ ต่อเมื่อเราเอาสติมาดับกิเลสในใจได้ ไม่ส่งผลไปยังกาย มันก็ยัง
ไม่ผิดศีล ต่อให้เราคิดเรื่องอกุศลกี่ร้อยครั้งมันก็ไม่ผิดศีล
กรรมแปลว่าการกระทำ มีผลเป็นบุญเป็นบาป กรรมมีกายกรรม วจีกรรม มโนกรรม .... แปลว่า แค่คิดก็ผิดแล้ว

แล้วไอ้มโนกรรมนี่ มันผิดศีลข้อไหนครับ เรากำลังพูดถึงเรื่องศีลกันอยู่นะครับ
กรุณาอย่าดันทุรังครับ มันเสียเวลา
Supareak Mulpong เขียน:
[
อ้างคำพูด:
แล้วการที่ท่าน เกิดผัสสะขึ้น ท่านกลับไปย้อนเนื้อหาในสิ่งที่ได้อ่านมา
มันเห็นจริงตามจริงหรือครับ ท่านอยู่กับปัจจุบันหรืออดีตครับ
ท่านอยู่กับอารมณ์ของผัสสะตัวที่กำลังวิปัสสนาหรือเปล่า
พิจารณาถึงความจริง ไม่ได้ย้อนไปหาสิ่งที่ได้อ่านมา เป็นการเห็นตามที่ได้รู้มาแล้ว เรียกว่า การกำหนดรู้ผัสสะด้วยปัญญา อยู่กับปัจจุบันอารมณ์

ท่านลองกลับไปดูความเห็นต้นๆของท่านซิครับว่าท่านพูดอะไรไว้บ้าง
ความสำคัญมันอยู่ที่ท่านบอกปัญญา มันใช่ปัญญาหรือเปล่า ดูแล้วลักษณะการอธิบาย
เหมือนกับท่องจำมา
ผมถามเลยครับ พิจารณาด้วยปัญญาท่านช่วยอธิบายส่วนนี้ให้ฟังหน่อยได้มั้ยครับ
ผมจะบอกให้จริงๆแล้วในส่วนนี้ ตัวที่ท่านบอกว่าปัญญาๆมันมีชื่อเรียกเฉพาะครับ
กรุณาบอกหน่อยได้มั้ยครับ จะได้เข้าใจคำที่ท่านชอบพูดว่าปัญญาๆ

Supareak Mulpong เขียน:
การพิจารณา จะเกิดขึ้นได้ทันที ต่อเมื่อฝึกฝนไปได้สักระยะหนึ่ง จึงเรียกว่า การภาวนา หรือ การฝึก
ลักษณะของการพิจารณาเสียงก็คือ เราจะรับรู้ทุกถ้อยคำของคำพูด เข้าใจความหมายของคำทุกคำ แต่ไม่มีเวทนา ถ้าเป็นการหลบผัสสะ จิตจะไม่รับรู้เสียง ไม่ได้ยิน ไม่เข้าใจ ฯ

อธิบายให้มันกระจ่างหน่อยครับ เห็นท่านเคยพูดเรื่องปฏิจจ์ฯกับเรื่องอิทัปปัจยตา
ท่านทำได้ด้วยหรือครับว่ามีผัสสะ แต่ไม่เวทนา ท่านแหกกฎเกณท์ของอิทัปปัจยตากับปฏิจจ์
ไปได้อย่างไรครับ
Supareak Mulpong เขียน:
อ้างคำพูด:
ฯ จะเห็นจริงยอมรับหรือเปล่า
มันเป็นวิสัยของพวกไม่เชื่ออะไรง่ายๆ พูดถึงจิต ก็อยากจะเห็นจิตก่อน ฯ พวกที่ไม่สนใจ เอาแต่เรื่องการดับทุกข์ พอปฏิบัติแล้วทุกข์ดับได้จริงๆ เรื่องอื่นๆ เขาไม่สนใจก็ยังได้

เอาอย่างท่านว่าถ้ามันดับได้จริงก็ดีครับ ผมกลัวแต่ว่า ความหลงมันครอบจน
มองกิเลสไม่ออกแค่นั้นครับ

แล้วเรื่องที่ยกมาเรื่องอยากเห็นจิตเนี่ย กรุณาอย่าทำเนียนมันคนละเรื่อง
ประเด็นมันอยู่ที่ท่านบอกว่า ท่านสามารถบอกถึงลักษณะสภาวะได้
ผมเลยให้ท่านบอกลักษณะของจิต


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 25 พ.ค. 2011, 19:45 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 13 ก.พ. 2010, 17:53
โพสต์: 4999

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


Supareak Mulpong เขียน:
อ้างคำพูด:
อันนี้ท่านไปรู้มาจริงหรือไปฟังใครเขาอุปมาครับ
ท่านจะพูดอย่างไร คนที่ไม่เคยเห็นก็จะไม่เข้าใจ ท่านบอกจิตเป็นธรรมชาติรู้และจำ
ถ้าคนฟังเขาแย้งล่ะครับว่า รู้และจำเกิดจากสมองและประสาทสัมผัส
สาวกคือผู้รู้ตาม คนที่ไม่รู้ไม่เข้าใจ ก็คือ ไม่รู้ไม่เข้าใจ เพราะเขารู้มาเท่านั้น ท่านจะไปทำอะไรเขาได้

ผมต้องการเหตุผลที่มันเกี่ยวกับเรื่องที่ผมถามครับ
ผมไม่อยากได้ สำนวนโวหารหรอกครับ มันก็แค่วิธีการกลบเกลื่อน
Supareak Mulpong เขียน:
นามธรรมไม่ได้แสดงได้ทุกเรื่อง แต่ก็ไม่ได้หมายความว่า จะต้องไปรู้เห็นเสียสั้งหมด เอาแค่ใบไม้ในกำมือของพระพุทธองค์ก็พอ

ก็ท่านบอกเองว่า อุปมาได้ ตกลงผมฟังไม่รู้เรื่องหรือท่านพูดไม่รู้เรื่องครับ

แล้วประโยคที่ว่า"ใบไม้ในกำมือ" มันก็เป็นทำนองเดียวกับ "ลองทำดูหรือยัง"
ท่านว่ามันสมควรพูดหรือครับ
Supareak Mulpong เขียน:
อ้างคำพูด:
ถ้าใครไปหลงเชื่อคำพูดคนอื่นโดยไม่พิสูจน์
มันก็ไม่พ้นพวกหลงงมงาย เฉกเช่น
พวกทรงเจ้าเข้าผีหรือพวกสแกนกรรมนั้นแหล่ะครับ
ถึงให้ลองวิปัสสนาดูเองไง ว่ามันเป็นอย่างที่พูดมั้ย? กลามสูตรท่านก็สรุปไว้ว่า ลองทำตามที่เราบอกแล้วจิตเป็นกุศลได้ จริงตามนั้นหรือไม่

ตลกดีครับ ที่เถียงกันมาตั้งนานไม่ใช่ คำว่า วิปัสสนากับคำว่าปัญญาของท่านหรือครับ
Supareak Mulpong เขียน:
อ้างคำพูด:
ธรรมทุกอย่างล้วนจบลงที่ไตรลักษณ์
หมายถึง ธรรมทุกอย่างล้วนมีลักษณะ เกิดขึ้น ตั้งอยู่ ดับไป ฯ หรือความจริงที่ว่า มีเกิดแล้วก็ต้องมีดับ ไม่รู้เรียกว่า จบที่ไตรลักษณ์หรือเปล่า?
ไตรลักษณ์ ไม่ได้เป็นสภาวะ ไม่ได้เป็นธรรม ไม่ได้เป็นการตั้งขึ้นมาหรือไม่ได้เป็นบัญญัติ แต่เป็นความจริงของธรรม หรือ เป็นลักษณะร่วมของทุกสิ่งในธรรมชาติ หรือ เป็นความจริงของโลกและชีวิต

ธรรมทุกอย่างมันจบลงที่ไตรลักษณ์ แม้กระทั้งตัวไตรลักษณ์เอง
ธรรมเก่าดับไปธรรมใหม่ย่อมเกิดมา
ไตรลักษณ์เป็นสภาวะ การเกิดขึ้น ตั้งอยู่และดับไปรวมสามสิ่งนี้เรียกว่า สภาวะแห่งไตรลักษณ์
แต่แยกไตรลักษณ์ออกเป็นส่วนย่อย เรียกสภาวะการเกิด การตั้งอยู่และดับไป ธรรมทุกอย่างที่เกิด
ขึ้นที่จิตหรือนาม เขาเรียกสภาวะ

ไตรลักษณ์เป็นธรรมชาติอย่างหนึ่ง แต่ไม่ได้ร่วมถึงทุกอย่างในธรรมชาติ
ไตรลักษณ์เป็นสภาวะหรือนามมันเกิดขึ้นที่จิตของตนเอง ไม่เกี่ยวกับสิ่งอื่น


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 26 พ.ค. 2011, 14:31 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 27 เม.ย. 2010, 08:10
โพสต์: 2830

แนวปฏิบัติ: ขันธ์5ด้วยการสังเกตุ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ และอินทรีย์22
สิ่งที่ชื่นชอบ: พระสุตตันตปิฎก
อายุ: 0
ที่อยู่: ระยอง อุบลราชธานี

 ข้อมูลส่วนตัว


พูดเรื่องพระไตรลักษณ์ เป็นความเสมอกันของสิ่งทั้งหลายทั้งปวง คือ ตั้งอยู่ในสภาพเดิมไม่ได้ หาตัวตนไม่ได้ และไม่มีใครเป็นเจ้าของ หรือทุกขัง อนิจจัง อนัตตา สิ่งเดียวที่เที่ยงคือพระนิพพาน

.....................................................
อย่าท้อถอยต่อการปฏิบัติ อย่าปล่อยให้ความขุ่นเคืองเข้าแทรก สร้างพลังด้วยคำสอนของพระพุทธเจ้า รำลึกและตอบแทนพระคุณมารดา และบิดา มองโลกด้วยใจเป็นกลาง ระลึกเสมอว่าเรายังด้อยปัญญาหากยังไม่ได้ปัญญา


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 26 พ.ค. 2011, 18:57 
 
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 5
สมาชิก ระดับ 5
ลงทะเบียนเมื่อ: 17 มี.ค. 2011, 21:46
โพสต์: 373

ชื่อเล่น: ฮานะ ธรรมอาสา
อายุ: 28

 ข้อมูลส่วนตัว


eragon_joe เขียน:
:b1: พูดมากแล้ว และคงไม่พูดแล้ว
เพราะอาจารย์เตือน ๆ แล้ว ที่มัวแต่มาไหลไปกับกระทู้ ครับป๋ม

:b8: :b12: :b12:


ฮานะ มี สัญญา กับ อาจารย์

.....................................................
ผู้ใดประพฤติธรรม ผู้นั้นชื่อว่าบูชาตถาคตอย่างยิ่ง


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 26 พ.ค. 2011, 22:54 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 11 ต.ค. 2010, 12:11
โพสต์: 5019


 ข้อมูลส่วนตัว


Hana เขียน:
eragon_joe เขียน:
:b1: พูดมากแล้ว และคงไม่พูดแล้ว
เพราะอาจารย์เตือน ๆ แล้ว ที่มัวแต่มาไหลไปกับกระทู้ ครับป๋ม

:b8: :b12: :b12:


ฮานะ มี สัญญา กับ อาจารย์


มีสัญญา กับ อาจารย์ เป็นสิ่งที่ดี
แต่ถ้ามี กามสัญญา ก็ลงนรกไปเยยยยย

อิอิ

:b13: :b13:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 26 พ.ค. 2011, 23:39 
 
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 5
สมาชิก ระดับ 5
ลงทะเบียนเมื่อ: 17 มี.ค. 2011, 21:46
โพสต์: 373

ชื่อเล่น: ฮานะ ธรรมอาสา
อายุ: 28

 ข้อมูลส่วนตัว


eragon_joe เขียน:

มีสัญญา กับ อาจารย์ เป็นสิ่งที่ดี
แต่ถ้ามี กามสัญญา ก็ลงนรกไปเยยยยย

อิอิ

:b13: :b13:


ไม่มี อะไร กับ อะไร
ลงนรก ก็เป็น สิ่งที่ดีที่สุด

:b4: :b4:

.....................................................
ผู้ใดประพฤติธรรม ผู้นั้นชื่อว่าบูชาตถาคตอย่างยิ่ง


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 27 พ.ค. 2011, 00:58 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 25 เม.ย. 2009, 02:43
โพสต์: 12232


 ข้อมูลส่วนตัว


ลงนรก..เป็นสิ่งดีที่สุด...นี้ก็ฮานะ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 27 พ.ค. 2011, 00:59 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 18 ก.ค. 2009, 09:26
โพสต์: 1517

แนวปฏิบัติ: วิปัสสนาภาวนา
อายุ: 39
ที่อยู่: ลำพูน

 ข้อมูลส่วนตัว


โฮฮับ เขียน:
ส่วนการปฏิบัติตามอธิจิต เขาเรียกสมาธิ ถ้าผลที่ได้ออกมาตามอธิปัญญาหรือปฏิเวธเขาเรียก ปัญญา
ก็ไปทำตามนี้นะสิ ถึงหาปัญญาไม่เจอซักที ...

คนธรรมดาๆ เขียน:
ชาวบ้านอยากเป็นหมอ ไม่มีความรู้เรื่องหมอ มันก็ต้องอ่านตำราหมอใช่ไหมครับ?
ไม่มีพื้นฐานแล้วไปอ่านตำราหมอคงจะไม่รู้เรื่องมั้งครับ ไปฟังอาจารย์หมอบรรยายก่อนดีกว่ามั้ย?

โฮฮับ เขียน:
ถามจริงท่านอ่านพระไตรปิฎก มันผิดคนผิดธรรมหรือเปล่า
การอ่านพระไตรปิฏกเป็นการศึกษาให้รู้จักพระธรรมคำสั่งสอน ถ้าเอาปัญญาของปุถุชนไปคิดตาม ถึงจะเรียกว่าผิด สิ่งที่ปุถุชนทำได้ตอนอ่านพระไตรปิฏก ก็คือ อ่านให้จบ อ่านให้รู้ว่ามีอะไรบันทึกไว้บ้าง ห้ามคิดตาม เพราะปุถุชนยังไม่มีความจริงอะไรที่จะเอาไปคิดเรื่องความจริงทีี่แท้จริงได้

ผิดบุคคลผิดธรรม หมายถึง การปฏิบัติ ไม่ได้หมายถึงการศึกษาเรียนรู้ เช่น ปุถุชนไปเอาวิธีการปฏิบัติของพระโสดาบันเพื่อที่จะบรรลุอรหันต์ไปปฏิบัติ แบบนี้ไม่ถูกธรรม เป็นปุถุชนต้องก้าวข้ามฝั่งให้ได้เป็นโสดาบันก่อน หรือ ปฏิบัติมรรคเบื้องล่างก่อน จึงจะไปปฏิบัติอรหันตมรรค

โฮฮับ เขียน:
เอางี้นะครับ ท่านจะบอกว่าการฟังการอ่านเป็นปัญญาก็ได้ตามใจท่าน
ผมไม่ได้ว่า ธรรมวินัย หรือ พระพุทธเจ้าว่า ผมไม่ได้ไปเอาแต่คำใครเขาว่ามา ... รู้ตาม เห็นตาม เป็นวิสัยของสาวก ... เดรัจฉานคิดไม่ได้เหมือนคน เพราะไม่มีโสภณจิต ฝึกคนเองเกินกว่าสัญชาติญานไม่ได้ แต่คนฝึกได้ คนประเสริฐได้ด้วยการฝึก

โฮฮับ เขียน:
จะบอกให้ครับที่ดับทุกข์ได้ มันไม่ใช่ปัญญาที่ทำให้งอกเงยขึ้นเพิ่มพูน
ปัญญานั้นการดับทุกมันมีของมันอยู่ในตัวของเราทุกคน แต่เรามองไม่เห็นเอง
เราเลยต้องปฏิบัติเพื่อไปหาปัญญาตัวที่ว่านี้ มันไม่ใช่ปัญญาที่พอกพูนแข็งแรง
ปัญญาที่พอกพูนมันก็คือกิเลสดีๆนี้เอง เป็นเป็นตัวเหนี่ยวรั้งให้อยู่ในวัฎสงสาร
มันก็ถูกของท่าน ... แต่ไม่ถูกตามความเป็นจริงที่แท้จริง ไม่ถูกต้องตามธรรมวินัย ไม่มีในคำสอนของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า

พระพุทธองค์ตรัสไว้ว่า ปุถุชนคือผู้ไม่ได้สดับฯ กับสาวกคือผู้ที่ได้สดับฯ แล้ว ปัญญาเกิดแล้ว จากนั้นให้ปฏบัติ วิปัสสนาภาวนา คือ เจริญปัญญา

eragon_joe เขียน:
ป็นอุบายเครื่องสลัดออก แห่งรูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ ... เพราะท่านได้เสพคุณแห่งสัญญาไว้มาก และแถมผนวกเอาคุณแห่งปัญญามาเป็นสัญญาอีก
บทนี้แปลง่ายๆ ว่า อุบายในการสลัดออกจากขันธ์ ๕

ผมเสพ อนิจสัญญา ทุกขสัญญา อนัตสัญญา เพราะอาศัยสิ่งที่เรียนรู้มาที่เก็บเอาไว้ในสัญญา ที่ว่าอะไรๆ ก็ไม่เที่ยงฯ

รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ หรือ ขันธ์ ๕ เป็นลำดับการเกิดปกติของกองทุกข์ คือ เมื่อเกิดตาเห็นรูป เกิดเป็นเวทนา เวทนานั้นก็จะถูกเก็บเป็นสัญญา สัญญาที่เกิดจากเวทนานั้นก็จะกลายมาเป็นสังขาร กลายเป็นความรู้ได้หมายจำ ... ท่านแสดงตามเหตุปัจจัย ไม่ได้เอามาเรียงกันโดยไม่มีที่มาที่ไป ไม่ได้ให้ไปแยกออกมาเป็นตัวๆ

eragon_joe เขียน:
ท่านคิดว่าพระสูตรใดที่ควรคงไว้ พระสูตรใดที่ควรชำระ-ตีความใหม่
พระสูตรใดที่ควรตัดทิ้ง และพระสูตรใดควรเพิ่มเติมเข้ามา
แก้ไขเพิ่มธรามธรรมวินัยนี่บาปหนักนะครับ ที่จะทำกันได้ ก็คือ หาฉบับที่เก่าแก่ที่สุดมาเทียบว่า สูตรใหนถูกแก้ไข สูตรใหนหายไป สูตรใหนเพิ่มเข้ามา

โฮฮับ เขียน:
ความพยายามเป็น เรื่องของความเพียร
ทิฐิเป็นเหตุเป็นปัจจัยให้เกิดสังกัปปะ สังกัปปะเป็นเหตุเป็นปัจจัยให้เกิดวาจา วาจาเป็นเหตุเป็นปัจจัยให้เกิดกัมันตะ กัมมันตะเป็นเหตุเป็นปัจจัยให้เกิดอาชีวะ อาชีวะเป็นเหตุเป็นปัจจัยให้เกิดวายามะ วายามะเป็นเหตุเป็นปัจจัยให้เกิดสติ สติเป็นเหตุเป็นปัจจัยให้เกิดสมาธิ .... พระพุทธองค์แสดงการเกิดตามเหตุปัจจัยตามนี้

โฮฮับ เขียน:
คำว่าไตรลักษณ์นั้นแหล่ะคือสมมุติบัญญัติ
ตัวคำ เป็นเรื่องของการสื่อสาร แต่คนเรามีลักษณะ เกิด แก่ เจ็บ ตาย เป็นความจริง

อ้างคำพูด:
="โฮฮับ"ลักษณะสมาธิตัวนี้ให้ฟังหน่อย สมาธิตัวที่ใช้งานนี่แหล่ะดูซิว่าจะเหมือนของผมมั้ย
สมาธิที่เราใช้ประกอบกับการทำกิจกรรมปกติของคนเราทั่วไป เป็นสมาธิที่เกิดตามธรรมชาติ หรือเรียกง่ายๆ ว่า ความตั้งใจทั่วไป ... เมื่อมีปัญญา รู้จักความจริงของโลกและชีวิต ความตั้งใจทำส่ิงที่ผิดก็จะลดน้อยลงจนไม่มีในที่สุด เมื่อปกติ ไม่คิดผิดทำผิด เพราะไม่เห็นผิด จิตปกติก็ไม่เกิดความฟุ้งซ่าน ไม่ทุกข์ร้อน ใจก็สงบเป็นสมาธิ เมื่อไม่ฟุ่งซ่าน ตั้งใจทำอะไรก็จะจดจ่อกับสิ่งที่ทำได้นาน เมื่อกลับไปฝึกฝนเพิ่มเติมปัญญา ปัญญาก็เกิดได้มากขึ้น เรียกว่า สมาธิหนุนปัญญา

โฮฮับ เขียน:
เราก็ต้องดูซิว่า อะไรนำมาดับทุกข์ได้นั้นแหล่ะความจริง
ก็ปัญญาที่ผมได้สดับฯ มานี่แหละ ดับทุกข์ได้

โฮฮับ เขียน:
ท่านพูดจาขัดแย้งกันเองรู้ตัวมั้ย ท่านบอกว่า"ความจริงต้องได้ฟังจากผู้รู้ความจริง"
แล้วประโยคต่อมา บอกในทำนองว่า อย่าไปเชื่อ ผมงงจริงๆครับ ไม่รู้ท่านเอาไงกันแน่

สรุปความเห็นผม ที่ท่านบอกความจริงต้องฟังจากผู้รู้ความจริง
แล้วเราจะแน่ใจได้ไงว่าเขารู้จริง แล้วเราจะเข้าใจในสิ่งที่เขาบอก
หรือเข้าใจไปแนวเดียวกับเขา

ตัวอย่างก็เห็นๆอยู่ ท่านว่าคนอื่นทำผิดธรรมวินัย แล้วถ้าคนอื่นว่าท่านทำผิด
ธรรมวินัยบ้างล่ะ ใครก็ต้องคิดว่าของตัวเองถูกต้องตามธรรมทั้งนั้น ถ้าเป็นแบบนี้
จะเอาอะไรเป็นเครื่องพิสูจน์ นอกจากปฏิบัติให้เห็นความจริงนั้นๆ
เพราะไม่มีใครหน้าในรู้ว่าสิ่งที่ได้ยินได้ฟังมาเป็นความจริงหรือเปล่า ผู้ที่จะรู้ได้ว่า อะไรถูก อะไรผิด คือ ผู้ที่มีเฉลยในมือแล้ว เพราะฉะนั้น ท่านจึงกล่าวว่า อย่าเชื่อจนกว่าจะได้ทดลองด้วยตนเองจนเห็นผล

ถ้าได้ฟังมาจากผู้ที่ไม่ได้รู้ความจริง ถึงจะพยายามปฏิบัติอย่างไร ก็ไม่มีทางเห็นผล เพราะเป็นวิธีที่ผิด ต่อเมื่อได้ฟังคำจากสัตตบุรุษ จึงจะสามารถปฏิบัติจนเห็นผลได้ เพราะเป็นวิธีที่ถูก

แต่ในเมื่อไม่มีเครื่องมืออะไรที่จะไปวัดว่า สิ่งที่ได้ยินได้ฟังมา คือความจริงหรือเปล่า? เพราะฉะนั้น การได้พบสัตตบุรุษ การได้ฟังธรรมของสัตตบุรุษ จนประกอบด้วยธรรมของสัตตบุรุษ จึงเป็นเรื่องที่เกิดขึ้นได้ยากมาก เป็นวิสัยของบุญและบาป ... สัตว์ที่ถึงฝั่ง มีดวงตาเห็นธรรม จึงมีอยู่น้อย

mes เขียน:
อริยะมรรคที่มีองค์แปด
การปฏิบัติธรรมสมควรแก่ธรรม คือ ทำให้ถูกต้องตามเหตุปัจจัย เพราะธรรมชาติ เหตุตรงผลไม่เคยมีผิดเพี้ยน สุดทางของการหลุดพ้น (โพธิธรรม) คือ โพชงค์ มรรคนั้นเป็นบาทฐานขององค์ธรรมทุกๆ ประการในโพธิปักฯ

ปุถุชนศึกษาปฏิบัติธรรม ตามขั้นตอน ตั้งแต่ โสดาปัตติมรรค (ทางปฏิบัติเพื่อบรรลุโสดาปัตติผล) คือ การศึกษาพื้นฐานความจริงของโลกและชีวิต จากนั้นก็ฝึกสร้างปัญญาสัมมาทิฐิ

mes เขียน:
แล้วที่ซุปเป็นโสดาบัน

ใครเป็นคนแต่งตั้งจ๊ะ
ธรรมเป็นผู้แต่งตั้ง

โฮฮับ เขียน:
พระอริยสงฆ์ก้าวข้ามเรื่องศีลหรือพระวินัยแล้วครับ
ศีลหรือพระวินัย เขาเอาไว้ใช้กับพระสงฆ์ที่ยังเป็นปุถุชน ที่ยังไม่ได้เป็นพระอริยะ
ถึงให้ไปศึกษาพระวินัยใหม่ ศึกษาเรื่องพุทธประวัติด้วยก็จะดี

โฮฮับ เขียน:
แล้วใครเป็นผู้รู้จริงครับ ใครเป็นสัตตบุรุษครับ พระพุทธเจ้าก็ไม่อยู่แล้ว
หรือเอาแบบที่ท่านบอกว่าให้อ่านพระธรรม แล้วที่เถียงกันนี่ไม่ใช่จากการอ่านหรือครับ
มันอ่านแล้วเข้าใจกันไปคนละอย่าง แล้วที่อ้างเรื่องช้างมา นี่ขนาดพระพุทธเจ้ายังอยู่
ช้างมันยังไปฟังคำที่ผิดมา แล้วสัมหาอะไรกับตอนที่พระพุทธเจ้าทรงปรินิพพานไปแล้ว
ธรรมชาตินี่ก็เล่นตลกนะ ... ปุถุชนจริงๆ ไม่มีเครื่องมืออะไรที่จะเอาไปวัดว่า ใครเป็นสัตตบุรุษหรอก ในธรรมวินัยท่านก็วางแนวให้สังเกตุอยู่เหมือนกัน แต่ปุถุชนสะสมความเห็น ไม่รู้ความจริง เป็นปกติวิสัย จะรู้ตามได้นั้นยังยาก ... เพราะฉะนั้น เรื่องนี้ ยกไว้เป็นเรื่องของบุญบาปสถานเดียว ... พอจะรู้แล้วหรือยังละครับว่า ทำไมศาสนาพุทธถึงได้เสื่อมหลังจากการสิ้นไปของพระศาสดา ทำไมศานาพุทธถึงอายุได้สั้นนัก ทำไมท่านให้รู้ตามไม่ให้คิดตาม และทำไมชาวพุทธถึงได้มีน้อยนัก ...

.....................................................
"ธรรมและวินัยอันใด เราแสดงแล้ว บัญญัติแล้วแก่พวกเธอ ธรรมและวินัยอันนั้น จักเป็นศาสดาของพวกเธอ โดยกาลล่วงไปแห่งเรา..."
"... ไม่เที่ยง เกิดดับ ..."


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 27 พ.ค. 2011, 01:24 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 25 ก.พ. 2011, 19:56
โพสต์: 1798


 ข้อมูลส่วนตัว


ผู้ใดเห็นธรรมผู้นั้นเห็นพระตถาคต ผู้ใดเห็นพระตถาคตผู้นั้นเห็นธรรม


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 27 พ.ค. 2011, 06:37 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 13 ก.พ. 2010, 17:53
โพสต์: 4999

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


Supareak Mulpong เขียน:
โฮฮับ เขียน:
ส่วนการปฏิบัติตามอธิจิต เขาเรียกสมาธิ ถ้าผลที่ได้ออกมาตามอธิปัญญาหรือปฏิเวธเขาเรียก ปัญญา
ก็ไปทำตามนี้นะสิ ถึงหาปัญญาไม่เจอซักที ....

ท่านเริ่มตีรวนแล้วนะครับรู้ตัวหรือเปล่า เอางี้ครับ ท่านไปตีความคำว่า
อธิให้ได้แล้วจะเข้าใจ
ไม่เอาบอกเลยดีกว่าเสียเวลา สมมุติว่า ปริญญาเอกเป็น อธิ นะครับ
แล้วเราต้องเรียนอะไรมาบ้าง กว่าจะถึงปริญญาเอกครับ
Supareak Mulpong เขียน:
คนธรรมดาๆ เขียน:
ชาวบ้านอยากเป็นหมอ ไม่มีความรู้เรื่องหมอ มันก็ต้องอ่านตำราหมอใช่ไหมครับ?
ไม่มีพื้นฐานแล้วไปอ่านตำราหมอคงจะไม่รู้เรื่องมั้งครับ ไปฟังอาจารย์หมอบรรยายก่อนดีกว่ามั้ย?

อันนี้ก็ตีรวน ส่วนคำอธิบายเหมือนอันแรกครับ
Supareak Mulpong เขียน:
โฮฮับ เขียน:
ถามจริงท่านอ่านพระไตรปิฎก มันผิดคนผิดธรรมหรือเปล่า
การอ่านพระไตรปิฏกเป็นการศึกษาให้รู้จักพระธรรมคำสั่งสอน ถ้าเอาปัญญาของปุถุชนไปคิดตาม ถึงจะเรียกว่าผิด สิ่งที่ปุถุชนทำได้ตอนอ่านพระไตรปิฏก ก็คือ อ่านให้จบ อ่านให้รู้ว่ามีอะไรบันทึกไว้บ้าง ห้ามคิดตาม เพราะปุถุชนยังไม่มีความจริงอะไรที่จะเอาไปคิดเรื่องความจริงทีี่แท้จริงได้.

ผมว่าท่านเริ่มจะสับสนกับความเห็นตัวเองแล้วนะครับ
แล้วการที่ท่านบอกว่า ย้อนไปพิจารณาธรรมของพระพุทธเจ้า มันต่างกับที่ท่านบอกตรงไหน
ประเด็นของผมคืออ่านแล้วทำตาม เพื่อให้เกิดปัญญา ถ้าไม่เข้าใจย้อนไปดูความเห็นแรก
Supareak Mulpong เขียน:
โฮฮับ เขียน:
เอางี้นะครับ ท่านจะบอกว่าการฟังการอ่านเป็นปัญญาก็ได้ตามใจท่าน
ผมไม่ได้ว่า ธรรมวินัย หรือ พระพุทธเจ้าว่า ผมไม่ได้ไปเอาแต่คำใครเขาว่ามา ... รู้ตาม เห็นตาม เป็นวิสัยของสาวก ... เดรัจฉานคิดไม่ได้เหมือนคน เพราะไม่มีโสภณจิต ฝึกคนเองเกินกว่าสัญชาติญานไม่ได้ แต่คนฝึกได้ คนประเสริฐได้ด้วยการฝึก

พูดไปเรื่อย พอไปไม่ได้ก็ยกภาษาลิเกมาพูด ทำไมสัตว์คิดไม่ได้ครับ
พูดผิดพูดใหม่นะครับ สิ่งที่สัตว์ไม่มีก็คือปัญญาครับ คนประเสริฐได้เพราะ
มีปัญญา ส่วนไอ้โสภณจิตอะไรเนี่ย ความกตัญญูรู้คุณเป็นโสภณจิตหรือเปล่า
หรือความกตัญญูมีได้เพาะคน สุนัขไม่มี


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 27 พ.ค. 2011, 07:36 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 13 ก.พ. 2010, 17:53
โพสต์: 4999

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


Supareak Mulpong เขียน:
พระพุทธองค์ตรัสไว้ว่า ปุถุชนคือผู้ไม่ได้สดับฯ กับสาวกคือผู้ที่ได้สดับฯ แล้ว ปัญญาเกิดแล้ว จากนั้นให้ปฏบัติ วิปัสสนาภาวนา คือ เจริญปัญญา

แบบนั้นหรอครับ แล้วทำไมพวกมหาเปรียญ เจ้าอาวาส
ทำไมยังทำผิดกันเต็มบ้านเต็มเมือง

ปุถุชนคือผู้ที่ไม่สดับและผู้ที่สดับแต่ไม่ทำตามครับ
Supareak Mulpong เขียน:
โฮฮับ เขียน:
ความพยายามเป็น เรื่องของความเพียร
ทิฐิเป็นเหตุเป็นปัจจัยให้เกิดสังกัปปะ สังกัปปะเป็นเหตุเป็นปัจจัยให้เกิดวาจา วาจาเป็นเหตุเป็นปัจจัยให้เกิดกัมันตะ กัมมันตะเป็นเหตุเป็นปัจจัยให้เกิดอาชีวะ อาชีวะเป็นเหตุเป็นปัจจัยให้เกิดวายามะ วายามะเป็นเหตุเป็นปัจจัยให้เกิดสติ สติเป็นเหตุเป็นปัจจัยให้เกิดสมาธิ .... พระพุทธองค์แสดงการเกิดตามเหตุปัจจัยตามนี้

จำได้เปล่าว่าท่านเคยบอกในทำนองว่า "ธรรมใครธรรมมัน "
ธรรมที่ท่านพูด มันเป็นธรรมของ อริยยะหรือเสขะ
Supareak Mulpong เขียน:
โฮฮับ เขียน:
คำว่าไตรลักษณ์นั้นแหล่ะคือสมมุติบัญญัติ
ตัวคำ เป็นเรื่องของการสื่อสาร แต่คนเรามีลักษณะ เกิด แก่ เจ็บ ตาย เป็นความจริ

ไตรลักษณ์ เขาให้ดูที่ตัวเราครับ ดูสภาวะที่เกิดขึ้น ซึ่งก็เป็นสภาวะของเราไม่เกี่ยวกับคนอื่น
เรื่องเกิด แก่เจ็บตายเป็นความจริง ก็จริงแต่มันยังไม่เกิด ดูไตรลักษณ์ไม่ได้
มันเป็นเรื่องการปลงเพื่อทำสมาธิ ไม่เกี่ยวกับไตรลักษณ์
Supareak Mulpong เขียน:
อ้างคำพูด:
="โฮฮับ"ลักษณะสมาธิตัวนี้ให้ฟังหน่อย สมาธิตัวที่ใช้งานนี่แหล่ะดูซิว่าจะเหมือนของผมมั้ย
สมาธิที่เราใช้ประกอบกับการทำกิจกรรมปกติของคนเราทั่วไป เป็นสมาธิที่เกิดตามธรรมชาติ หรือเรียกง่ายๆ ว่า ความตั้งใจทั่วไป ... เมื่อมีปัญญา รู้จักความจริงของโลกและชีวิต ความตั้งใจทำส่ิงที่ผิดก็จะลดน้อยลงจนไม่มีในที่สุด เมื่อปกติ ไม่คิดผิดทำผิด เพราะไม่เห็นผิด จิตปกติก็ไม่เกิดความฟุ้งซ่าน ไม่ทุกข์ร้อน ใจก็สงบเป็นสมาธิ เมื่อไม่ฟุ่งซ่าน ตั้งใจทำอะไรก็จะจดจ่อกับสิ่งที่ทำได้นาน เมื่อกลับไปฝึกฝนเพิ่มเติมปัญญา ปัญญาก็เกิดได้มากขึ้น เรียกว่า สมาธิหนุนปัญญา

ท่านลองเอาของผมไปพิจารณาครับ การได้รับผัสสะในปัจจุบันเช่นได้ยินเสียง
สติก็อยู่ที่เสียง ต่อมาได้กลิ่น สติก็มาอยูที่กลิ่น เมื่อปัจจุบันเป็นกลิ่น ต้องมีสติ
ไม่ให้หวลไปอยู่ที่เสียง เพราะมันเป็นอดีต ถ้าทำอย่างต่องเนื่องทันต่อผัสสะที่เข้ามา
แบบนี้ครับ เรียกสมาธิหรือจิตตั้งมั่น
Supareak Mulpong เขียน:
โฮฮับ เขียน:
เราก็ต้องดูซิว่า อะไรนำมาดับทุกข์ได้นั้นแหล่ะความจริง
ก็ปัญญาที่ผมได้สดับฯ มานี่แหละ ดับทุกข์ได้

ดับได้จริงก็ดีครับ ความหลงมันดับไปด้วยหรือครับ ดับเรื่องเก่าเกิดเรื่องใหม่
ท่านจะเรียกว่าดับก็ตามใจ สมุติครับ ท่านมีแฟนแล้วแฟนหักอกท่าน
ท่านก็มาพิจารณาว่าสักวันแฟนต้องแก่ สักวันแฟนต้องตายท่านรู้สึกสบายใจขึ้น
ต่อมาคุณเห็นแฟนคุณไปเดินกับชายอื่น ความทุกข์ที่หายไปหายไปจริงหรือเปล่า
แฟนตายหรือยัง แก่หรือยังมิหน่ำซ้ำมีแฟนใหม่มาเย้ย
ถามหน่อยทุกข์ใหม่ทุกข์เก่าท่านดูออกหรือเปล่าครับ เรื่องต่างๆมันเป็นจริงอย่างที่เราคิดมั้ย

ที่ว่าทุกข์เพิ่มขึ้นมันก็มาจาก การกระทำของท่านเอง
คือทุกข์ว่าสิ่งที่คิดไว้ไม่เป็นความจริงผิดหวังมั้ยครับ
แล้วมันดับได้จริงหรือครับ


แสดงโพสต์จาก:  เรียงตาม  
กลับไปยังกระทู้  [ 542 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1 ... 10, 11, 12, 13, 14, 15, 16 ... 37  ต่อไป

เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


 ผู้ใช้งานขณะนี้

่กำลังดูบอร์ดนี้: ไม่มีสมาชิก และ บุคคลทั่วไป 1 ท่าน


ท่าน ไม่สามารถ โพสต์กระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ตอบกระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แก้ไขโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ลบโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แนบไฟล์ในบอร์ดนี้ได้

ค้นหาสำหรับ:
ไปที่:  
Google
ทั่วไป เว็บธรรมจักร