วันเวลาปัจจุบัน 27 ก.ค. 2025, 18:40  



เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง




กลับไปยังกระทู้  [ 219 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1 ... 8, 9, 10, 11, 12, 13, 14, 15  ต่อไป  Bookmark and Share
เจ้าของ ข้อความ
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 28 ก.ย. 2016, 19:52 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กบนอกกะลา เขียน:
กบนอกกะลา เขียน:
กรัชกาย เขียน:
กบนอกกะลา เขียน:
กรัชกาย เขียน:
กบนอกกะลา เขียน:
กรัชกาย เขียน:
กบนอกกะลา เขียน:
ไล่คนอื่นไปศึกษาเรื่องศีล....แล้วกักกาย..มีศีลสมบูรณ์ยัง?

เห็นผิดศีล..ปะจำ

:b32: :b32: :b32:



ถามเป็นร้อยหนแล้วว่าผิดข้อไหน :b32:

บอกให้ไปศึกษาๆๆๆ ให้เป็นเรื่องเป็นราว ไม่ใช่มั่วซั่ว กายอายแทนจริงๆ



กักกายถือศีล..กี่ข้อ..จะได้บอกข้อถูก..



ก็ถามว่าผิดข้อไหน เห็นพูดตลอดว่าผิดศีลๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆ อิอิ


บอกว่าผิดศีล....เพราะศีลของผมหมายถึง..ความเป็นปกติของใจ..

หากกักกาย..ถามว่าผิดศีลข้อไหน...แสดงว่า..กักกายถือศีลเป็นข้อๆ...

จึงถามกักกายว่า..กักกายถือศีลกี่ข้อ.?
.5.. 8...10... 227...311..

จักได้บอกข้อถูก...

กักกายถือศีลกี่ข้อ?..



ปกติของใจ :b1: ยังไงล่ะปกติของใจ พูดให้เห็นภาพสิปกติของใจ


ผมอยากจะตอบคำถามแรกของกักกายก่อน..นะว่า..ผิดศีลข้อไหน?

ไม่อยากได้คำตอบก่อนรึ?...

ตกลงกักกายถือศีลกี่ข้อ...จะได้ตอบได้.
.



อิอิ ศีลตามความหมายของกบมีกี่ข้อล่ะ :b32:

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 28 ก.ย. 2016, 20:35 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 25 เม.ย. 2009, 02:43
โพสต์: 12232


 ข้อมูลส่วนตัว


กบนอกกะลา เขียน:

ผมอยากจะตอบคำถามแรกของกักกายก่อน..นะว่า..ผิดศีลข้อไหน?

ไม่อยากได้คำตอบก่อนรึ?...

ตกลงกักกายถือศีลกี่ข้อ...จะได้ตอบได้.
.


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 28 ก.ย. 2016, 20:52 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กบนอกกะลา เขียน:
กบนอกกะลา เขียน:

ผมอยากจะตอบคำถามแรกของกักกายก่อน..นะว่า..ผิดศีลข้อไหน?

ไม่อยากได้คำตอบก่อนรึ?...

ตกลงกักกายถือศีลกี่ข้อ...จะได้ตอบได้.
.


กบเอ้ย จะถือทำไมหนักเปล่าๆ :b1:

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 28 ก.ย. 2016, 23:39 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 27 เม.ย. 2010, 08:10
โพสต์: 2830

แนวปฏิบัติ: ขันธ์5ด้วยการสังเกตุ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ และอินทรีย์22
สิ่งที่ชื่นชอบ: พระสุตตันตปิฎก
อายุ: 0
ที่อยู่: ระยอง อุบลราชธานี

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
student เขียน:
ที่คุณกรัธกายถามๆ
ผมก็ตอบไปทุกข้อ
ไม่เว้นแม้แต่ข้อเดียว
ลองพิจารณาดูครับ

คำตอบทั้งหมดคือ การที่ผมเรียนๆมาแล้วทำให้เกิดความคิดเห็นแบบนี้
ไม่ใช่ว่ารู้หมดรู้ลึก แต่ตอบเท่าที่พิจารณา


ขอบคุณนะขอรับ จะได้ว่ากันต่อไป

เรื่อง "จงกรม" (เดินไปมาโดยมีสติกำกับการเดิน ซึ่งต่างจากเดินไปมาทั่วๆไป) เป็นกายานุปัสสนานะ ฝ่ายรูปธรรม มองเห็นด้วยตาเนื้อนะ :b1:


เรามาว่ากันต่อไป

ที่เหลือจะมองไม่เห็นด้วยตาเนื้อเพราะเป็นฝ่ายนามธรรม

1. กายานุปัสสนา (ข้อนี้ผ่านไป)

2. เวทนานุปัสสนา

3.จิตตานุปัสสนา

4. ธัมมานุปัสสนา

สามข้อที่เหลือเป็นโพธิปักขิยธรรมไหม

1. เป็น

2. ไม่เป็น

3.อื่นๆ


ถ้ากายานุปัสสนามีโพธิปักขิยธรรมเป็นฐานแล้ว
ที่เป็นฝ่ายนาม ก็ถือว่าเป็นโพธิปักขิยธรรมครับ

เพราะนามธรรมคือปัจจัยแห่งขันธ์5 มี เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ
เป็นสังขตะธรรม

.....................................................
อย่าท้อถอยต่อการปฏิบัติ อย่าปล่อยให้ความขุ่นเคืองเข้าแทรก สร้างพลังด้วยคำสอนของพระพุทธเจ้า รำลึกและตอบแทนพระคุณมารดา และบิดา มองโลกด้วยใจเป็นกลาง ระลึกเสมอว่าเรายังด้อยปัญญาหากยังไม่ได้ปัญญา


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 29 ก.ย. 2016, 00:31 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 27 เม.ย. 2010, 08:10
โพสต์: 2830

แนวปฏิบัติ: ขันธ์5ด้วยการสังเกตุ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ และอินทรีย์22
สิ่งที่ชื่นชอบ: พระสุตตันตปิฎก
อายุ: 0
ที่อยู่: ระยอง อุบลราชธานี

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
ตย.นี้ไม่มีใครบังคับ แต่อยากพ้นทุกข์ (ตัดๆมา)



ก่อนหน้านี้ไม่เคยปฏิบัติธรรมจริงๆจังๆเลย จนกระทั่งไม่นานมานี้ วาสนาพาให้ได้พบกับพระสงฆ์ไทยรูปหนึ่งที่ญี่ปุ่นนี่ ทราบว่าท่านน่าจะมาโปรดสัตว์

ผมได้ถามท่านว่า ทำอย่างไรจึงจะพ้นทุกข์

ท่านก็ไม่ตอบอะไร ยื่นหนังสือของท่านให้สามเล่ม เป็นหนังสือเกี่ยวกับการปฏิบัติตามแนวทางในอานาปานสติสูตร

ผมก็อ่านแค่เล่มแรกก่อน ใจความในเล่มแรกคือ ให้กำหนดรู้ลมหายใจ

ท่านว่าให้กำหนดรู้ลมหายใจเสมือนว่าลมหายใจเป็นกัลยาณมิตร ให้เรายึดกัลยาณมิตรนี้ไว้

หลังจากนั้นมีวันหนึ่ง ผมเกิดนึกอยากนั่งสมาธิขึ้นมา ผมก็เลยนั่งสมาธิกำหนดลมหายใจ
ในการนั่งสมาธิครั้งนี้ ผมสามารถรับรู้ลมหายใจได้ตลอดสายเป็นเวลานาน

กำหนดแค่ครั้งเดียวเท่านั้น รู้สึกเหมือนกายขยายตามที่กำหนดแผ่เมตตาไปด้วย ขยายไปทุกทิศ

รู้สึกว่ากายหายไป ความรู้สึกเหมือนจุ่มอยู่ในปีติ มีแต่ความสุขไปหมด จากนั้นผมก็คิดขึ้นมาว่า

"มีความสุขขนาดนี้ในโลกด้วยหรือ ความสุขนี้ดีกว่าความสุขในโลกที่เราเคยพบมาทั้งหมด โอ ความสุขนี้แค่นั่งก็ได้แล้ว คนทั้งโลก มัวแต่วุ่นวายทำอะไรกันอยู่ บางคนทำทุจริตต่างๆเพื่อหาเงินมาสนองความสุขตน ทำไปทำไมนะ มันเทียบกับความสุขที่เกิดจากความสงบนี้ไม่ได้เลย ความสุขนี้ไม่ต้องไขว่คว้ามาก อยู่กับตัวเองแท้ๆ คนในโลกกลับไม่รู้"

จากนั้น ผมก็สังเกตลมหายใจ ก็รู้สึกว่าลมหายใจตอนนี้มันละเอียดมาก ถึงค่อยเข้าใจคำว่าลมหายใจหยาบลมหายใจละเอียดว่าเป็นยังไง ก่อนหน้านี้เข้าใจว่าคือลมหายใจแรงๆเบาๆซะอีก :)

ความรู้สึกจากการเกิดสมาธิครั้งแรกนี้ เหมือนจุ่มปีติเกิดค้างอยู่ แต่ไม่เห็นนิมิตอะไรทั้งสิ้น แต่รู้สึกจิตเวลานี้ไม่มีนิวรณ์เลย คือมีความรู้พร้อมอยู่

จากนั้นผมก็รู้สึกยินดีกับสิ่งที่เกิดขึ้นแล้วคิดไปเรื่อยว่า "นี่คือปฐมฌานหรือเปล่านี่ ปฐมฌานเกิดกับเราหรือ"

จนจิตเริ่มไม่เป็นสมาธิ เริ่มปั่นป่วน หลังจากนั้นก็ได้ยินเสียงห้องข้างๆตะโกนเสียงดัง ก็เลยหลุดออกมาจากสภาวะนั้น

http://larndham.org/index.php?/topic/27 ... ntry393770


ในตัวอย่างนี้ เป็นเรื่องของผู้ปฎิบัติมีความมุ่งหวังจะพ้นทุกข์ในเรื่องของจิตใจ

เพราะไม่ได้เกร่นในเรื่องสุขภาพแต่อย่างไร

จึงเป็นเรื่องของจิตใจที่ถูกบีบคั้นเพราะอำนาจของกิเลส

และมุ่งหวังเจาะจงลงไปที่อาการของจิต

สังเกตุเห็นว่า แสดงผลของการนั่งสมาธิในเรื่องของการดับนิวรณ์นั่นเองครับ

.....................................................
อย่าท้อถอยต่อการปฏิบัติ อย่าปล่อยให้ความขุ่นเคืองเข้าแทรก สร้างพลังด้วยคำสอนของพระพุทธเจ้า รำลึกและตอบแทนพระคุณมารดา และบิดา มองโลกด้วยใจเป็นกลาง ระลึกเสมอว่าเรายังด้อยปัญญาหากยังไม่ได้ปัญญา


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 29 ก.ย. 2016, 05:39 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


student เขียน:
กรัชกาย เขียน:
student เขียน:
ที่คุณกรัธกายถามๆ
ผมก็ตอบไปทุกข้อ
ไม่เว้นแม้แต่ข้อเดียว
ลองพิจารณาดูครับ

คำตอบทั้งหมดคือ การที่ผมเรียนๆมาแล้วทำให้เกิดความคิดเห็นแบบนี้
ไม่ใช่ว่ารู้หมดรู้ลึก แต่ตอบเท่าที่พิจารณา


ขอบคุณนะขอรับ จะได้ว่ากันต่อไป

เรื่อง "จงกรม" (เดินไปมาโดยมีสติกำกับการเดิน ซึ่งต่างจากเดินไปมาทั่วๆไป) เป็นกายานุปัสสนานะ ฝ่ายรูปธรรม มองเห็นด้วยตาเนื้อนะ :b1:


เรามาว่ากันต่อไป

ที่เหลือจะมองไม่เห็นด้วยตาเนื้อเพราะเป็นฝ่ายนามธรรม

1. กายานุปัสสนา (ข้อนี้ผ่านไป)

2. เวทนานุปัสสนา

3.จิตตานุปัสสนา

4. ธัมมานุปัสสนา

สามข้อที่เหลือเป็นโพธิปักขิยธรรมไหม

1. เป็น

2. ไม่เป็น

3.อื่นๆ


ถ้ากายานุปัสสนามีโพธิปักขิยธรรมเป็นฐานแล้ว
ที่เป็นฝ่ายนาม ก็ถือว่าเป็นโพธิปักขิยธรรมครับ

เพราะนามธรรมคือปัจจัยแห่งขันธ์ 5 มี เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ
เป็นสังขตะธรรม



คุณ student จัดขันธ์ ๕ เข้าใน รูปธรรม, นามธรรมสิครับ

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 29 ก.ย. 2016, 12:31 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 27 เม.ย. 2010, 08:10
โพสต์: 2830

แนวปฏิบัติ: ขันธ์5ด้วยการสังเกตุ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ และอินทรีย์22
สิ่งที่ชื่นชอบ: พระสุตตันตปิฎก
อายุ: 0
ที่อยู่: ระยอง อุบลราชธานี

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
student เขียน:
กรัชกาย เขียน:
student เขียน:
ที่คุณกรัธกายถามๆ
ผมก็ตอบไปทุกข้อ
ไม่เว้นแม้แต่ข้อเดียว
ลองพิจารณาดูครับ

คำตอบทั้งหมดคือ การที่ผมเรียนๆมาแล้วทำให้เกิดความคิดเห็นแบบนี้
ไม่ใช่ว่ารู้หมดรู้ลึก แต่ตอบเท่าที่พิจารณา


ขอบคุณนะขอรับ จะได้ว่ากันต่อไป

เรื่อง "จงกรม" (เดินไปมาโดยมีสติกำกับการเดิน ซึ่งต่างจากเดินไปมาทั่วๆไป) เป็นกายานุปัสสนานะ ฝ่ายรูปธรรม มองเห็นด้วยตาเนื้อนะ :b1:


เรามาว่ากันต่อไป

ที่เหลือจะมองไม่เห็นด้วยตาเนื้อเพราะเป็นฝ่ายนามธรรม

1. กายานุปัสสนา (ข้อนี้ผ่านไป)

2. เวทนานุปัสสนา

3.จิตตานุปัสสนา

4. ธัมมานุปัสสนา

สามข้อที่เหลือเป็นโพธิปักขิยธรรมไหม

1. เป็น

2. ไม่เป็น

3.อื่นๆ


ถ้ากายานุปัสสนามีโพธิปักขิยธรรมเป็นฐานแล้ว
ที่เป็นฝ่ายนาม ก็ถือว่าเป็นโพธิปักขิยธรรมครับ

เพราะนามธรรมคือปัจจัยแห่งขันธ์ 5 มี เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ
เป็นสังขตะธรรม



คุณ student จัดขันธ์ ๕ เข้าใน รูปธรรม, นามธรรมสิครับ


ขันธ์5 รูปขันธ์คือรูปธรรม เวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์ วิญญาณขันธ์ คือนามธรรมครับ

.....................................................
อย่าท้อถอยต่อการปฏิบัติ อย่าปล่อยให้ความขุ่นเคืองเข้าแทรก สร้างพลังด้วยคำสอนของพระพุทธเจ้า รำลึกและตอบแทนพระคุณมารดา และบิดา มองโลกด้วยใจเป็นกลาง ระลึกเสมอว่าเรายังด้อยปัญญาหากยังไม่ได้ปัญญา


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 29 ก.ย. 2016, 16:39 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 29 ต.ค. 2009, 15:06
โพสต์: 7520

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


student เขียน:
Rosarin เขียน:
student เขียน:
Rosarin เขียน:
student เขียน:
กรัชกาย เขียน:
ลึกลงไปอีกหน่อย

เวลาผมนั่งสมาธิ พอภาวนาไปซักพัก เริ่มตัดภาวนาไปแล้วทีนี้ก็จะเกิดอาการขนลุกเย็นทั้งตัว แล้วหลังจากนั้นก็จะมีภาพ คน สัตว์ แมลง ที่เราเคยทำร้ายเคยทำให้เค้าตาย หรือเจ็บลอยมาให้เห็น คือ แปลกใจว่า บางเรื่องเป็นเรื่องที่นานมาก บางเรื่องเป็นเรื่องสมัยเด็กๆอยู่ด้วยซ้ำ ซึ่งบางทีนึกถึงยังนึกไม่ออกเลย เพราะนานมาก แต่พอมานั่งสมาธิ ก็ลอยมาให้เห็นเฉยเลย


สัญญาไม่เที่ยงครับ

บางทีก็จำได้
บางทีก็จำไม่ได้

ผ่านมาหลาย10ปี พอจำได้ก็นึกแปลกใจในสัญญานั้น

Kiss
:b32:
ขำสติวเด้น แปลกใจอะไร ธรรมดาตามภพภูมิอยู่แล้วนี่ เรื่องจำได้ หรือ จำไม่ได้คือลืมนะ
ที่สำคัญคือจำถูกตามคำสอนแค่ไหน เพราะเป็นปัญญา เป็นจิต เจตสิก รูปจำ ไม่ใช่ตัวตน
:b41: :b41: :b41: :b41: :b41:


สัญญา เป็นเจตสิกอยู่แล้วครับ
ไม่ใช่รูป
เป็นนาม
เกิดตามเหตุปัจจัย
นั่งสมาธิ อาจเป็นเหตุปัจจัยให้สัญญาในอดีตปรากฎชัด

Kiss
อันนี้...ที่สติวเด้นเขียนว่า...ผ่านมาหลาย10ปี พอจำได้ก็นึกแปลกใจในสัญญานั้น
จำสภาพที่กำลังปรากฏทีละ1ขณะหรือจำเป็นเรื่องราวคนสัตว์สิ่งของต้องตรงน๊าว่า
สัญญาจำได้หมายรู้ที่ตนกำลังมีขณะไหนเป็นกุศลจิตและขณะไหนเป็นอกุศลจิตเออ
แม้เดี๋ยวนี้กำลังมีสติรู้ตรงสภาพธรรมตามเป็นจริงตามเหตุปัจจัยว่าไม่ใช่เราของเรารึยัง
:b16:
:b4: :b4:


ความเป็นกุศลจิตหรือ อกุศลจิตไม่ใช่สัญญาครับ
ความเป็นกุศลจิต หรือ อกุศลจิต คือสังขาร
สัญญาคือเหตุปัจจัยที่ปรากฎขึ้นมาเพราะความเป็นขันธ์5

Kiss
:b12:
คุณสติวเด้นคะ...ทุกอย่างเป็นธรรมะ...รวมลงไปรู้ที่จิตอันเดียว...ไม่แยกส่วนเลยค่ะ...
เพราะเกิด-ดับเร็วสุดที่จะประมาณได้...พระพุทธเจ้าแยกส่วนให้เข้าใจความจริงนะคะ...
แต่ความจริงที่จิตคุณสติวเด้นรู้ตอนนี้เลยแยกไม่ออกค่ะ...และทั้งกุศลและอกุศลที่มี...
คือทุกสิ่งที่กำลังปรากฏว่ามีไม่ขาดสิ่งหนึ่งสิ่งใดที่เป็นขันธ์คือรูป เวทนา สัญญา สังขาร...
รวมลงมาที่วิญญาณก็คืิอคิดจำแต่ชื่อแต่เรื่องราวเป็นสัตว์บุคคลตัวตนแต่ไม่จำธัมมะ1ขณะ...
รู้ความจริงที่จิตตนเองว่าเป็นธัมมะทีละคำตรงสภาพธัมมะ1อย่างจึงจะตรงจริงค่ะจริงรึยังที่จิตตนรู้...
:b13: :b13: :b13: :b13: :b13:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 29 ก.ย. 2016, 16:45 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 29 ต.ค. 2009, 15:06
โพสต์: 7520

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


student เขียน:
Rosarin เขียน:
student เขียน:
Rosarin เขียน:
student เขียน:
กรัชกาย เขียน:
อีกสัก ตย.

ขณะกำลังทำสมาธิอยู่ จู่ๆร่างของเราก็เหมือนถูกดึง เราก็ปล่อยตามสะบายแค่ตามดู คิดว่าเป็นนิมิตธรรมดา แต่ไม่ใช่ค่ะ เพราะนิมิตธรรมดา เรากำหนดรู้มักจะหายไปได้เอง แต่นี้ไม่ใช่ เขาวิ่งผ่านตัวเราไปค่ะ กระแสของเขาตอนที่ผ่านร่าง เหมือนจิตกับกายเราจะแยกออกจากกัน ความเจ็บปวดที่เราเคยปวด (เวทนา) ที่นั่งสมาธิตอนแรกไม่เจ็บเท่านี้ เหมือนร่างกายเราถูกฉีก เหมือนเส้นเลือดจะระเบิดประมาณนั้นจริง ๆ ค่ะ เราแผ่เมตตาให้เขา เขาก็ไม่ยอม แรงเหวี่ยงเยอะมาก ๆ ทั้งที่ห้องปิดหมดเปิดแอร์นะ แต่มีกระแสลมหมุนตลอดเวลา


เรากำลังสร้างความเชื่อให้กับตนเอง
เวลาปฎิบัติ ต้องทิ้งทุกอย่าง ทิ้งความเห็น ให้เหลือแต่สัมมาทิฎฐิเกี่ยวกับธรรมตรงหน้า

tongue
:b32:
ทิ้งความเห็นทำยังไง
ในเมื่อความเห็นผิด
ว่าเป็นเราทำมีตัวตน
แล้วจะทิ้งยังไงนะเออ
:b22: :b22: :b22:


เคยได้ยินพุทธคาถานี้ไหมครับ
"เราจะทำความเพียร แม้เทวดาก็ห้ามเราไม่ได้"
นั่นคือ เราไม่ต้องไปใส่ใจกับเรื่องต่างๆ ดำรงตนกับธรรมเฉพาะหน้า

Kiss
น่านะ
จะยังไงก็ทิ้งกิเลสคือความไม่รู้และความเห็นผิดไม่ได้เพราะดับและสะสมรอให้ผลแล้วค่ะ
มีแต่ต้องเป็นผู้ตรงต่อความจริงว่ายังเป็นเราที่มีอุปาทานขันธ์และไม่สามารถเพียรในกุศลได้
การทำความเห็นให้ถูกต้องต่อความจริงตามคำสอนเป็นหนทางเดียวที่จะเพิ่มความรู้เพื่อดับไม่รู้
กิเลสที่สะสมคือจิต+อกุศลเจตสิก+รูปเกิดได้ทุกเวลาที่มีความเห็นผิดว่าเป็นเราคิด พูด ทำ นะคะ
ปัญญาที่สะสมเพิ่มขึ้นทุกขณะที่เป็นจิต+โสภณเจตสิก+รูปใน1ขณะนั้นเองที่เริ่มเข้าใจถูกจึงละชั่วได้
:b13:
:b44: :b44:


แนวทางผมคือความเพียรนำหน้ากรรมครับ
ผมไม่ได้เฝ้า คร่ำครวญ ถึงอดีตที่ผ่านมาแล้ว
บางลัทธิ รอผลคือกรรม เป็นเครื่องชี้ชะตาชีวิต
แม้ขนาดนั่งสมาธิ ยังพะวงกับการปรากฎขึ้นมาของเจ้ากรรมนายเวร ผมจึงยกพระคาถาของพระพุทธเจ้าให้พิจารณาเอาครับ

เราจะทำความเพียร แม้เทวดาก็ห้ามเราไม่ได้

Kiss
ลืมแล้วค่ะคุณสติวเด้น...ธัมมะทั้งหลายเป็นอนัตตา
ไม่มีใครเปลี่ยนแปลงความจริงได้เพราะว่าไม่รู้ไงคะ
สิ่งที่ปรากฏเป็นนิมิตรต่างๆคือความทรงจำของอดีต
ที่ถูกต้องจำปัจจุบันที่กำลังปรากฏเป็นวิปัสสนาปัญญา
คือรู้ตรงคำจริง1คำตรงสภาพธรรมที่่กำลังมี1ลักษณะ
จึงจะเป็นผู้ตรงต่อความจริงที่กำลังมีและต้องรู้ที่กาย+จิตตน
อย่างอื่นคือไม่มี...แม้เดี๋ยวนี้เองกำลังมีสิ่งที่มีจริงแต่ปัญญาไม่พอ
:b55: :b55: :b55: :b55:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 29 ก.ย. 2016, 17:04 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 29 ต.ค. 2009, 15:06
โพสต์: 7520

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


student เขียน:
คำถามคุณกรัธกายที่ว่า
ดับอย่างไร อะไรดับ
ไม่ใช่คำถามที่พึ่งเกิดขึ้น
แต่เป็นคำถามที่เกิดขึ้นมาทุกยุคทุกสมัย
ผมมีความศัทธาในพุทธ ผมก็ต้องบอกว่า "โพธิปักขิยธรรม"
เป็นธรรมที่ดับกิเลสตัญหาทั้งหลาย

แต่ยังมีผู้สงสัยอีกเป็นจำนวนมาก เพราะความลังเลสงสัยเพราะทิฎฐิมานะก็ตามแต่
แต่ชาวพุทธที่ปฎิบัติ ต้องมีหลักธรรมที่พระพุทธเจ้าวางไว้แล้ว

ความลังเลสงสัยเป็นเรื่องปกติ แต่ก็ควรจะสิ้นสุดลงได้เมื่อเรามีความศรัทธาที่แน่วแน่

Kiss
คุณสติวเด้นคะ...สิ่งแรกที่จะดับได้คือ...ดับความเห็นผิดเมื่อถึงโสดาบันค่ะ
ที่ทำได้คือเพียรรู้ความจริงโดยไม่ขาดการฟังพระพุทธพจน์ที่เป็นวาจาสัจจะ
เพียรระลึกรู้ให้ตรงคำจริงเพื่อรู้ความจริงของสิ่งที่มีจริงจนกว่าจะรู้จริงจริงๆ
ไม่ใช่แค่จำคำทุกคำที่พระพุทธเจ้าทรงแสดงได้ทั้งหมดนั่นปัญญาพระองค์
แต่ปัญญาที่ตนมี...จำเป็นต้องระลึกรู้ให้ตรงสิ่งที่จิตตนรู้ไม่ใช่ไปรู้คำต่างๆ
จิตตนรู้จำได้ตรงความจริงที่กำลังปรากฏตรงคำ1คำที่พระพุทธเจ้าบอกน๊า
:b29: :b29: :b29:
:b44: :b44:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 29 ก.ย. 2016, 17:08 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 29 ต.ค. 2009, 15:06
โพสต์: 7520

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


student เขียน:
โพธิปักขิยธรรม หรือ โพธิปักขิยธรรม 37 เป็นธรรมอันเป็นฝักฝ่ายแห่งความตรัสรู้ คือ เกื้อกูลแก่การตรัสรู้ เกื้อหนุนแก่อริยมรรค มี 37 ประการคือ

สติปัฏฐาน 4
สัมมัปปธาน 4
อิทธิบาท 4
อินทรีย์ 5
พละ 5
โพชฌงค์ 7
มรรคมีองค์ 8
โพธิปักขิยธรรม ในบางแห่งตรัสหมายถึงโพชฌงค์ 7[1] เช่น

"ภิกษุทั้งหลาย ก็โพธิปักขิยธรรมเป็นไฉน? คือ สัทธินทรีย์ เป็นโพธิปักขิยธรรมย่อมเป็นไปเพื่อความตรัสรู้ วิริยินทรีย์ ... สตินทรีย์ ... สมาธินทรีย์ ...ปัญญินทรีย์ เป็นโพธิปักขิยธรรม ย่อมเป็นไปเพื่อความตรัสรู้."

"ภิกษุทั้งหลาย บรรดาสัตว์ดิรัจฉานทุกจำพวก สีหมฤคราช โลกกล่าวว่า เป็นยอดของสัตว์เหล่านั้น เพราะมีกำลัง มีฝีเท้า มีความกล้า ฉันใด บรรดาโพธิปักขิยธรรม ทุกอย่าง ปัญญินทรีย์ เรากล่าวว่า เป็นยอดแห่งโพธิปักขิยธรรมเหล่านั้น เพราะเป็นไปเพื่อความ ตรัสรู้ ฉันนั้นเหมือนกัน."

ส่วนที่ตรัสถึงโพธิปักขิยธรรม 37 ประการโดยตรง เช่น

"ภิกษุเป็นผู้มีธรรมงามอย่างไร ภิกษุในธรรมวินัยนี้ เป็นผู้ประกอบด้วย ความเพียรในการเจริญโพธิปักขิยธรรม ๓๗ ประการเนืองๆ ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุเป็นผู้มีธรรมงามอย่างนี้แล ภิกษุเป็นผู้มีศีลงาม มีธรรมงาม ด้วยประการดังนี้[2] ฯ"

โพธิปักขิยธรรม เรียกอีกอย่างหนึ่งว่าสามัคคีธรรมมี ๓๗ ประการคือ

๑. สติปัฏฐาน ฐานเป็นที่กำหนดของสติ ๑.๑การตั้งสติกำหนดพิจารณากาย (กายานุปัสสนา) ๑.๒การตั้งสติกำหนดพิจารณาเวทนา(เวทนานุปัสสนา) ๑.๓การตั้งสติกำหนดพิจารณาจิต (จิตตานุปัสสนา) ๑.๔การตั้งสติกำหนดพิจารณาธรรม (ธรรมานุปัสสนา)

๒.สัมมัปปธาน หลักในการรักษากุศลธรรมไม่ให้เสื่อม ๒.๑การเพียรระวังไม่ให้บาปเกิดขึ้นในตน (สังวรปธาน) ๒.๒การเพียรละบาปที่เกิดขึ้นแล้ว(ปหานปธาน) ๒.๓การเพียรสร้างกุศลให้เกิดขึ้นในตน(ภาวนาปธาน) ๒.๔การเพียรรักษากุศลที่เกิดขึ้นแล้ว ไม้ให้เสื่อมไป(อนุรักขปธาน)

๓.อิทธิบาท เป้าหมายของความเจริญ ๓.๑ความชอบใจทำ พอใจรักใคร่ในสิ่งนั้น(ฉันทะ) ๓.๒ความแข็งใจทำ เพียรหมั่นประกอบในสิ่งนั้น(วิริยะ) ๓.๓ความตั้งใจทำ เอาใจฝักใฝ่ในสิ่งนั้น ไม่ทอดทิ้งธุระ(จิตตะ) ๓.๔ความเข้าใจทำ การใช้ปัญญาพิจารณาไตร่ตรองหาเหตุผลในสิ่งนั้น(วิมังสา)

๔.อินทรีย์ ๔.๑ให้เกิดความเชื่อ (ศรัทธา) ๔.๒ให้เกิดความเพียร (วิริยะ) ๔.๓ให้เกิดความระลึกได้ (สติ) ๔.๔ให้เกิดความตั้งมั่น (สมาธิ) ๔.๕ให้เกิดความรอบรู้ (ปัญญา)

๕.พละ กำลัง ๕.๑ความเชื่อ (ศรัทธา) ๕.๒ความเพียร (วิริยะ) ๕.๓ความระลึกได้ (สติ) ๕.๔ความตั้งมั่น (สมาธิ) ๕.๕ความรอบรู้ (ปัญญา)

๖.โพชฌงค์ องค์แห่งการตรัสรู้ ๖.๑มีความระลึกได้ (สติ) ๖.๒มีความพิจารณาในธรรม (ธัมมวิจยะ) ๖.๓มีความเพียร (วิริยะ) ๖.๔มีความอิ่มใจ (ปีติ) ๖.๕มีความสงบสบายใจ (ปัสสัทธิ) ๖.๖มีความตั้งมั่น (สมาธิ) ๖.๗มีความวางเฉย (อุเบกขา)

๗.มรรค หนทางดับทุกข์ ๗.๑ใช้เพื่อเห็นชอบ คือ เห็นอริยสัจ (สัมมาทิฏฐิ) ๗.๒ใช้เพื่อดำริชอบ คือ ดำริละเว้นในอกุศลวิตก (สัมมาสังกัปปะ) ๗.๓ใช้เพื่อเจรจาชอบ คือ เว้นจากวจีทุจริต(สัมมาวาจา) ๗.๔ใช้เพื่อทำการงานชอบ คือเว้นจากกายทุจริต (สัมมากัมมันตะ) ๗.๕ใช้เพื่อทำอาชีพชอบ คือ เว้นจาก การเลี้ยงชีพในทางที่ผิด(สัมมาอาชีวะ) ๗.๖ใช้เพื่อเพียรชอบ คือ สัมมัปปธาน (สัมมาวายามะ) ๗.๗ใช้เพื่อระลึกชอบ คือ ระลึกในสติปัฏฐาน ๔(สัมมาสติ) ๗.๘ใช้เพื่อตั้งใจมั่นชอบ คือ เจริญฌานทั้ง ๔ (สัมมาสมาธิ)

ที่มาWikipedia

Kiss
ที่อ่านทั้งหมดแล้วท่องจำได้เนี่ยเป็นปัญญาที่พระพุทธเจ้ารู้ความจริงและแสดงตรงความจริงด้วย
ส่วนผู้อ่านจำคลาดเคลื่อนจากความจริงที่จิตตนกำลังมีแล้วค่ะเพราะไม่จำความจริงจิตตนรู้ไงคะ
:b12:
:b13: :b13:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 29 ก.ย. 2016, 17:10 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 29 ต.ค. 2009, 15:06
โพสต์: 7520

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


student เขียน:
กรัชกาย เขียน:
student เขียน:
โพธิปักขิยธรรม หรือ โพธิปักขิยธรรม 37 เป็นธรรมอันเป็นฝักฝ่ายแห่งความตรัสรู้ คือ เกื้อกูลแก่การตรัสรู้ เกื้อหนุนแก่อริยมรรค มี 37 ประการคือ

สติปัฏฐาน 4
สัมมัปปธาน 4
อิทธิบาท 4
อินทรีย์ 5
พละ 5
โพชฌงค์ 7
มรรคมีองค์ 8
โพธิปักขิยธรรม ในบางแห่งตรัสหมายถึงโพชฌงค์ 7[1] เช่น

"ภิกษุทั้งหลาย ก็โพธิปักขิยธรรมเป็นไฉน? คือ สัทธินทรีย์ เป็นโพธิปักขิยธรรมย่อมเป็นไปเพื่อความตรัสรู้ วิริยินทรีย์ ... สตินทรีย์ ... สมาธินทรีย์ ...ปัญญินทรีย์ เป็นโพธิปักขิยธรรม ย่อมเป็นไปเพื่อความตรัสรู้."

"ภิกษุทั้งหลาย บรรดาสัตว์ดิรัจฉานทุกจำพวก สีหมฤคราช โลกกล่าวว่า เป็นยอดของสัตว์เหล่านั้น เพราะมีกำลัง มีฝีเท้า มีความกล้า ฉันใด บรรดาโพธิปักขิยธรรม ทุกอย่าง ปัญญินทรีย์ เรากล่าวว่า เป็นยอดแห่งโพธิปักขิยธรรมเหล่านั้น เพราะเป็นไปเพื่อความ ตรัสรู้ ฉันนั้นเหมือนกัน."

ส่วนที่ตรัสถึงโพธิปักขิยธรรม 37 ประการโดยตรง เช่น

"ภิกษุเป็นผู้มีธรรมงามอย่างไร ภิกษุในธรรมวินัยนี้ เป็นผู้ประกอบด้วย ความเพียรในการเจริญโพธิปักขิยธรรม ๓๗ ประการเนืองๆ ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุเป็นผู้มีธรรมงามอย่างนี้แล ภิกษุเป็นผู้มีศีลงาม มีธรรมงาม ด้วยประการดังนี้[2] ฯ"

โพธิปักขิยธรรม เรียกอีกอย่างหนึ่งว่าสามัคคีธรรมมี ๓๗ ประการคือ

๑. สติปัฏฐาน ฐานเป็นที่กำหนดของสติ ๑.๑การตั้งสติกำหนดพิจารณากาย (กายานุปัสสนา) ๑.๒การตั้งสติกำหนดพิจารณาเวทนา(เวทนานุปัสสนา) ๑.๓การตั้งสติกำหนดพิจารณาจิต (จิตตานุปัสสนา) ๑.๔การตั้งสติกำหนดพิจารณาธรรม (ธรรมานุปัสสนา)

๒.สัมมัปปธาน หลักในการรักษากุศลธรรมไม่ให้เสื่อม ๒.๑การเพียรระวังไม่ให้บาปเกิดขึ้นในตน (สังวรปธาน) ๒.๒การเพียรละบาปที่เกิดขึ้นแล้ว(ปหานปธาน) ๒.๓การเพียรสร้างกุศลให้เกิดขึ้นในตน(ภาวนาปธาน) ๒.๔การเพียรรักษากุศลที่เกิดขึ้นแล้ว ไม้ให้เสื่อมไป(อนุรักขปธาน)

๓.อิทธิบาท เป้าหมายของความเจริญ ๓.๑ความชอบใจทำ พอใจรักใคร่ในสิ่งนั้น(ฉันทะ) ๓.๒ความแข็งใจทำ เพียรหมั่นประกอบในสิ่งนั้น(วิริยะ) ๓.๓ความตั้งใจทำ เอาใจฝักใฝ่ในสิ่งนั้น ไม่ทอดทิ้งธุระ(จิตตะ) ๓.๔ความเข้าใจทำ การใช้ปัญญาพิจารณาไตร่ตรองหาเหตุผลในสิ่งนั้น(วิมังสา)

๔.อินทรีย์ ๔.๑ให้เกิดความเชื่อ (ศรัทธา) ๔.๒ให้เกิดความเพียร (วิริยะ) ๔.๓ให้เกิดความระลึกได้ (สติ) ๔.๔ให้เกิดความตั้งมั่น (สมาธิ) ๔.๕ให้เกิดความรอบรู้ (ปัญญา)

๕.พละ กำลัง ๕.๑ความเชื่อ (ศรัทธา) ๕.๒ความเพียร (วิริยะ) ๕.๓ความระลึกได้ (สติ) ๕.๔ความตั้งมั่น (สมาธิ) ๕.๕ความรอบรู้ (ปัญญา)

๖.โพชฌงค์ องค์แห่งการตรัสรู้ ๖.๑มีความระลึกได้ (สติ) ๖.๒มีความพิจารณาในธรรม (ธัมมวิจยะ) ๖.๓มีความเพียร (วิริยะ) ๖.๔มีความอิ่มใจ (ปีติ) ๖.๕มีความสงบสบายใจ (ปัสสัทธิ) ๖.๖มีความตั้งมั่น (สมาธิ) ๖.๗มีความวางเฉย (อุเบกขา)

๗.มรรค หนทางดับทุกข์ ๗.๑ใช้เพื่อเห็นชอบ คือ เห็นอริยสัจ (สัมมาทิฏฐิ) ๗.๒ใช้เพื่อดำริชอบ คือ ดำริละเว้นในอกุศลวิตก (สัมมาสังกัปปะ) ๗.๓ใช้เพื่อเจรจาชอบ คือ เว้นจากวจีทุจริต(สัมมาวาจา) ๗.๔ใช้เพื่อทำการงานชอบ คือเว้นจากกายทุจริต (สัมมากัมมันตะ) ๗.๕ใช้เพื่อทำอาชีพชอบ คือ เว้นจาก การเลี้ยงชีพในทางที่ผิด(สัมมาอาชีวะ) ๗.๖ใช้เพื่อเพียรชอบ คือ สัมมัปปธาน (สัมมาวายามะ) ๗.๗ใช้เพื่อระลึกชอบ คือ ระลึกในสติปัฏฐาน ๔(สัมมาสติ) ๗.๘ใช้เพื่อตั้งใจมั่นชอบ คือ เจริญฌานทั้ง ๔ (สัมมาสมาธิ)

ที่มาWikipedia



ย้ำคำพูดที่เคยพูดกับท่านอโศกอีกที ที่ว่ามานั่นน่า กรัชกายอ่านจนหัวร้อน จนผมจะร่วงหมดหัวแล้ว :b32:


อ่านจนผมร่วงก็ไม่ไปไหนหรอกครับหากยังสงสัยไม่มีที่สิ้นสุด

Kiss
ความจริงที่จิตตนกำลังมียังไม่ตรงปัจจุบันขณะก็คือสติปัญญาไม่เกิดค่ะ
:b17: :b17: :b17:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 29 ก.ย. 2016, 17:13 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 29 ต.ค. 2009, 15:06
โพสต์: 7520

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


student เขียน:
คุณจะอ่านจากพระไตรปิฎกก็ได้
อ่านจากwikipediaก็ได้
หากลงกันสมกัน

Wikipedia ก็เอาเนื้อหามาจากพระไตรปิฎกนั่นแหละครับ

ผิดตรงท่อนไหนในWikipedia

คุณกรัธกายชี้แจงมาครับ

Kiss
ผิดตรงที่ไม่รู้ความจริงที่จิตตนกำลังมีตรงปัจจุบันตรงเหตุปัจจัยที่กำลังปรากฏทีละ1คำ1สภาพรรม
:b12:
:b16: :b16:
onion onion onion


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 29 ก.ย. 2016, 17:17 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 29 ต.ค. 2009, 15:06
โพสต์: 7520

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กบนอกกะลา เขียน:
กรัชกาย เขียน:


ผู้รู้ช่วยบอกหน่อยค่ะ เป็นอันตรายหรือปฏิบัติผิดทางไหมค่ะ เพราะฝึกทำเองโดยไม่มีครูบาอาจารย์สอนค่ะ หนูฝึกดูจิตมาประมาณ 2 เดือนแล้วค่ะ แรกๆก็เห็นจิตฟุ้งซ่านมากช่วงหลังๆจิตเริ่มสงบ ไม่ไหลออกไปตามอารมณ์ข้างนอก แต่เริ่มเห็นจิต เฉยๆบ้าง สุขบ้าง บางครั้งรู้สึกหดหู่เป็นทุกข์เบื่อโลกมากๆเลยค่ะ มันเป็นของมันเอง ควบคุมอารมณ์นี้ไม่ได้ ได้แต่ตามดูเฉยๆรู้สึกว่ามันไม่ใช่ของเราเหมือนเราไม่มีตัวตนเลยค่ะ บางครั้งก็นอนดูจิตไปเรื่อยๆแล้วเหมือนว่าตัวเองจะเคลิ้มๆไป แต่ยังมีสติรู้สึกตัวค่ะ อยู่ดีๆ จิตก็พูดว่า ลองหยุดหายใจตายดูหน่อยสิ แล้วหนูก็หยุดหายใจตามไปด้วยบังคับร่างกายไม่ได้เลยค่ะ ตอนนั้นขยับร่างกายไม่ได้ด้วยค่ะ รู้สึกเริ่มกลัว ก็เลยพยายามฝืนจนหายใจได้ ตอนนั้นรู้สึกอึดอัด และรีบสูดลมหายใจเข้าปอดค่ะ ถ้าปล่อยไปนานกว่านี้คิดว่าตัวเองต้องตายจริงแน่ๆเลยค่ะ เกิดจากอะไรค่ะ หนูทำผิดทางไหมค่ะ ถ้าเกิดเป็นอีกจะทำอย่างไรดีค่ะ


จะแก้..ต้องแก้ที่เหตุ..ใช่มั้ย?

แล้ว..
"ลองหยุดหายใจตายดูหน่อยสิ " สาเหตุอะไรบ้างที่ทำให้จิตคิดอย่างนี้...ละกักกาย

:b12:
...สุดยอด...
:b1:
...สติระลึกได้ตรง...ปัญญารูู้...แล้วรู้นั้นจึงละที่เหตุปัจจัยที่ตนกำลังมี...รู้ตามคำของพระพุทธเจ้าด้วย...
:b39: :b39: :b39: :b39: :b39:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 29 ก.ย. 2016, 17:23 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 29 ต.ค. 2009, 15:06
โพสต์: 7520

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


student เขียน:
กรัชกาย เขียน:
student เขียน:
โพธิปักขิยธรรม หรือ โพธิปักขิยธรรม 37 เป็นธรรมอันเป็นฝักฝ่ายแห่งความตรัสรู้ คือ เกื้อกูลแก่การตรัสรู้ เกื้อหนุนแก่อริยมรรค มี 37 ประการคือ

สติปัฏฐาน 4
สัมมัปปธาน 4
อิทธิบาท 4
อินทรีย์ 5
พละ 5
โพชฌงค์ 7
มรรคมีองค์ 8
โพธิปักขิยธรรม ในบางแห่งตรัสหมายถึงโพชฌงค์ 7[1] เช่น

"ภิกษุทั้งหลาย ก็โพธิปักขิยธรรมเป็นไฉน? คือ สัทธินทรีย์ เป็นโพธิปักขิยธรรมย่อมเป็นไปเพื่อความตรัสรู้ วิริยินทรีย์ ... สตินทรีย์ ... สมาธินทรีย์ ...ปัญญินทรีย์ เป็นโพธิปักขิยธรรม ย่อมเป็นไปเพื่อความตรัสรู้."

"ภิกษุทั้งหลาย บรรดาสัตว์ดิรัจฉานทุกจำพวก สีหมฤคราช โลกกล่าวว่า เป็นยอดของสัตว์เหล่านั้น เพราะมีกำลัง มีฝีเท้า มีความกล้า ฉันใด บรรดาโพธิปักขิยธรรม ทุกอย่าง ปัญญินทรีย์ เรากล่าวว่า เป็นยอดแห่งโพธิปักขิยธรรมเหล่านั้น เพราะเป็นไปเพื่อความ ตรัสรู้ ฉันนั้นเหมือนกัน."

ส่วนที่ตรัสถึงโพธิปักขิยธรรม 37 ประการโดยตรง เช่น

"ภิกษุเป็นผู้มีธรรมงามอย่างไร ภิกษุในธรรมวินัยนี้ เป็นผู้ประกอบด้วย ความเพียรในการเจริญโพธิปักขิยธรรม ๓๗ ประการเนืองๆ ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุเป็นผู้มีธรรมงามอย่างนี้แล ภิกษุเป็นผู้มีศีลงาม มีธรรมงาม ด้วยประการดังนี้[2] ฯ"

โพธิปักขิยธรรม เรียกอีกอย่างหนึ่งว่าสามัคคีธรรมมี ๓๗ ประการคือ

๑. สติปัฏฐาน ฐานเป็นที่กำหนดของสติ ๑.๑การตั้งสติกำหนดพิจารณากาย (กายานุปัสสนา) ๑.๒การตั้งสติกำหนดพิจารณาเวทนา(เวทนานุปัสสนา) ๑.๓การตั้งสติกำหนดพิจารณาจิต (จิตตานุปัสสนา) ๑.๔การตั้งสติกำหนดพิจารณาธรรม (ธรรมานุปัสสนา)

๒.สัมมัปปธาน หลักในการรักษากุศลธรรมไม่ให้เสื่อม ๒.๑การเพียรระวังไม่ให้บาปเกิดขึ้นในตน (สังวรปธาน) ๒.๒การเพียรละบาปที่เกิดขึ้นแล้ว(ปหานปธาน) ๒.๓การเพียรสร้างกุศลให้เกิดขึ้นในตน(ภาวนาปธาน) ๒.๔การเพียรรักษากุศลที่เกิดขึ้นแล้ว ไม้ให้เสื่อมไป(อนุรักขปธาน)

๓.อิทธิบาท เป้าหมายของความเจริญ ๓.๑ความชอบใจทำ พอใจรักใคร่ในสิ่งนั้น(ฉันทะ) ๓.๒ความแข็งใจทำ เพียรหมั่นประกอบในสิ่งนั้น(วิริยะ) ๓.๓ความตั้งใจทำ เอาใจฝักใฝ่ในสิ่งนั้น ไม่ทอดทิ้งธุระ(จิตตะ) ๓.๔ความเข้าใจทำ การใช้ปัญญาพิจารณาไตร่ตรองหาเหตุผลในสิ่งนั้น(วิมังสา)

๔.อินทรีย์ ๔.๑ให้เกิดความเชื่อ (ศรัทธา) ๔.๒ให้เกิดความเพียร (วิริยะ) ๔.๓ให้เกิดความระลึกได้ (สติ) ๔.๔ให้เกิดความตั้งมั่น (สมาธิ) ๔.๕ให้เกิดความรอบรู้ (ปัญญา)

๕.พละ กำลัง ๕.๑ความเชื่อ (ศรัทธา) ๕.๒ความเพียร (วิริยะ) ๕.๓ความระลึกได้ (สติ) ๕.๔ความตั้งมั่น (สมาธิ) ๕.๕ความรอบรู้ (ปัญญา)

๖.โพชฌงค์ องค์แห่งการตรัสรู้ ๖.๑มีความระลึกได้ (สติ) ๖.๒มีความพิจารณาในธรรม (ธัมมวิจยะ) ๖.๓มีความเพียร (วิริยะ) ๖.๔มีความอิ่มใจ (ปีติ) ๖.๕มีความสงบสบายใจ (ปัสสัทธิ) ๖.๖มีความตั้งมั่น (สมาธิ) ๖.๗มีความวางเฉย (อุเบกขา)

๗.มรรค หนทางดับทุกข์ ๗.๑ใช้เพื่อเห็นชอบ คือ เห็นอริยสัจ (สัมมาทิฏฐิ) ๗.๒ใช้เพื่อดำริชอบ คือ ดำริละเว้นในอกุศลวิตก (สัมมาสังกัปปะ) ๗.๓ใช้เพื่อเจรจาชอบ คือ เว้นจากวจีทุจริต(สัมมาวาจา) ๗.๔ใช้เพื่อทำการงานชอบ คือเว้นจากกายทุจริต (สัมมากัมมันตะ) ๗.๕ใช้เพื่อทำอาชีพชอบ คือ เว้นจาก การเลี้ยงชีพในทางที่ผิด(สัมมาอาชีวะ) ๗.๖ใช้เพื่อเพียรชอบ คือ สัมมัปปธาน (สัมมาวายามะ) ๗.๗ใช้เพื่อระลึกชอบ คือ ระลึกในสติปัฏฐาน ๔(สัมมาสติ) ๗.๘ใช้เพื่อตั้งใจมั่นชอบ คือ เจริญฌานทั้ง ๔ (สัมมาสมาธิ)

ที่มาWikipedia



ที่ยกหัวข้อธรรม ภาษาพระเรียกว่า โพธิปักขิยธรรม (สิ่งที่เป็นฝักฝ่ายแห่งโพธิ,ธรรมเป็นฝักฝ่ายแห่งการตรัสรู้) 37 ข้อ นี่ๆพูดในแง่การเรียนรู้ (ในห้องเรียน)

ถ้าพูดในแง่ปฏิบัติคือลงมือทำฝึกหัดพัฒนาแล้ว มีแค่ สติปัฏฐาน 4 ข้อ (= ชีวิตๆหนึ่ง) กับข้อ มรรค (เรียกเต็ม ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา-ข้อปฏิบัติให้ถึงความดับทุกข์) ที่เหลือเป็นนามธรรมในใจ ซึ่งมันทำงานกันง่วนอยู่ขณะปฏิบัติ

พอเข้าใจไหมขอรับ


อ๋อ

คุณกรัธกายพยายามยกตัวอย่าง

นั่งสมาธิแล้วรู้สึกเวียนหัว เป็นสติปัฎฐาน4และมีโพธิปักขิยธรรมอยำแล้ว

อย่างนั้นเหรอครับ?

Kiss
:b12:
รู้ความจริงตรงปัจจุบันขณะผ่านอินทรีย์5ต้องกล้าแกร่งจึงจะตรงความจริงที่กำลังมี
หากการไปทำสิ่งอื่นใดที่ไม่สามารถรู้ความจริงตรงปัจจุบันขณะนั่นไม่ใช่สติปัญญา
onion onion onion


แสดงโพสต์จาก:  เรียงตาม  
กลับไปยังกระทู้  [ 219 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1 ... 8, 9, 10, 11, 12, 13, 14, 15  ต่อไป

เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


 ผู้ใช้งานขณะนี้

่กำลังดูบอร์ดนี้: ไม่มีสมาชิก และ บุคคลทั่วไป 1 ท่าน


ท่าน ไม่สามารถ โพสต์กระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ตอบกระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แก้ไขโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ลบโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แนบไฟล์ในบอร์ดนี้ได้

ค้นหาสำหรับ:
ไปที่:  
Google
ทั่วไป เว็บธรรมจักร