วันเวลาปัจจุบัน 27 ก.ค. 2025, 16:02  



เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง




กลับไปยังกระทู้  [ 219 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1, 2, 3, 4, 5 ... 15  ต่อไป  Bookmark and Share
เจ้าของ ข้อความ
โพสต์ เมื่อ: 21 ก.ย. 2016, 02:49 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 27 เม.ย. 2010, 08:10
โพสต์: 2830

แนวปฏิบัติ: ขันธ์5ด้วยการสังเกตุ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ และอินทรีย์22
สิ่งที่ชื่นชอบ: พระสุตตันตปิฎก
อายุ: 0
ที่อยู่: ระยอง อุบลราชธานี

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
ชาวพุทธบ้านเรา ท่องติดปาก ประมาณว่า กายใจไม่ใช่เรา มันเป็นอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา บังคับบัญชาไม่ได้ ไม่ควรยึดมั่นถือมั่นว่า

ครั้นเผชิญกับอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา บังคับบัญชาไม่ได้เข้าจริงๆร้องเป็นเจ๊กขายขวด :b1:


เหตุที่เป็นเช่นนี้ เพราะผู้นั้นเพียงจำได้จากการอ่านบ้าง การฟังบ้าง ว่าเออ...ทุกสรรพสิ่งไม่เที่ยง เป็นอนิจจังเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอไม่คงที่ มันเป็นทุกข์ทนอยู่ในสภาพเดิมมิได้ นี่มันเป็นอนัตตามิใช่ตัวตน

เราฟังแล้วอ่านแล้วคิดตามด้วยเหตุด้วยผล เห็นจริงด้วยเชื่อเลย ว่าเออ...จริงๆนะ จำได้จำไว้ แต่ก็ยังขาดประสบการณ์ ต่อเมื่อไรประสบเหตุการณ์จริงต่อตาแล้ว ที่จำได้ลืมหมดเลยไปไม่เป็น ตัวอย่างเช่น แม่บ้านได้รับโทรศัพท์บอกแจ้งว่า สามีและลูกของคุณประสบอุบัติเหตุเสียชีวิต ตอนนี้ศพอยู่ที่โรงพยาบาลนี้ๆ เท่านั้นแหละ ช๊อค ทรุดเลย

หรืออย่างคนหนุ่มคนสาว ทะเลาะกันแฟนขอเลิก เสียใจร้องไห้นานเลยกว่าหาย บางรายถึงขั้นทำร้ายตนเองแขวนคอตาย


เขาเข้าใจดีว่าทุกข์
อนิจจัง
อนัตตา

แต่เขายังนึกเสียดายชีวิต
เพราะกิจความเพียรยังไม่ลุล่วง

.....................................................
อย่าท้อถอยต่อการปฏิบัติ อย่าปล่อยให้ความขุ่นเคืองเข้าแทรก สร้างพลังด้วยคำสอนของพระพุทธเจ้า รำลึกและตอบแทนพระคุณมารดา และบิดา มองโลกด้วยใจเป็นกลาง ระลึกเสมอว่าเรายังด้อยปัญญาหากยังไม่ได้ปัญญา


โพสต์ เมื่อ: 21 ก.ย. 2016, 03:01 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 27 เม.ย. 2010, 08:10
โพสต์: 2830

แนวปฏิบัติ: ขันธ์5ด้วยการสังเกตุ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ และอินทรีย์22
สิ่งที่ชื่นชอบ: พระสุตตันตปิฎก
อายุ: 0
ที่อยู่: ระยอง อุบลราชธานี

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
ดูชื่อกระทู้ แล้วดูตย.นี้อีก


ผมก็นั่งตามลมหายใจพุทโธไป

วันแรกๆก็ไม่เป็นอะไร พอวันที่สามนั่งไปซักพักประมาณสิบนาทีเริ่มมีอาการเหวี่ยงแบบเหวี่ยงหมุนจน เวียนหัวจึงนั่งต่อไม่ได้ ลืมตาขึ้นมานั่งดูพระรูปอื่น

เป็นอย่างนี้อยู่เกือบตลอด กลับมาที่กุฏิก่อนจะจำวัดก็นั่งก็เป็นอีก

จนมาถามพระพี่เลี้ยงท่านบอกเหมือนจิตกำลังจะได้เข้าสู่ความสงบให้ผ่านจุดนี้ไปให้ได้ แต่มันก็ได้แบบแปปๆแล้วก็หมุนอีกหมุนอีก

จนลาสิกขามาก็เริ่มมาหาอ่านเองจนได้อ่านบันทึกกรรมฐานของเจ้าพระคุณสมเด็จพระสังฆราช ให้พิจารณา กาย เวทนา จิต ธรรม

คราวนี้ก็ทำตามหนังสือ หายใจตอนแรกก็ยาว ก็ตามไปซักพัก เริ่มพิจารณาตามสติปัฐฐาน คราวนี้หมุนเร็วเลยหมุนแรงมากจนรู้สึกจะอาเจียนเลย

ผมก็พิจารณาว่าเป็นทุกขเวทนา ก็ดีขึ้นแปปก็หมุนอีกเรื่อยๆ จนตอนนี้ยังแก้ไม่ได้เลยครับ ไม่รู้ว่าจะทำยังไง ล่าสุดเมื่อคืนหมุนจนจะอ้วก จนถอนสมาธิออกมา ยังมีอาการเวียนหัวจะอ้วกมาอีก ซักสิบห้านาทีค่อยดีขึ้น

คำถามครับ


1. ผมควรแก้ปัญหานี้ยังไงดี ฝืนนั่งไปเรื่อยๆจนหายหรือต้องกำหนดอะไรยังไง

2. จุดมุ่งหมายจริงๆ คือวิปัสสนากรรมฐานคืออะไรครับ ไม่ได้โอ้อวดว่าตัวเองเก่งนะครับ พอดีผมเรียนแพทย์เลยเข้าใจพวกสรีระร่างกายมนุษย์อยู่แล้ว เมื่อมาเรียนรู้ทางธรรมพิจารณาตามขันธ์ 5 ก็เข้าใจว่ามันไม่ได้มีตัวตนจริงๆของเรา เหมือนเท่าที่อ่านการฝึกวิปัสสนาทำให้เราเข้าใจว่าทุกอย่างมีเกิดดับของมัน เป็นธรรมดา ไม่ให้เรายึดติด

แต่

ถ้าผมอ่านแล้วเข้าใจแล้วจะทำไปเพื่ออะไร หรือว่าให้จิตเราแข็งแกร่ง จะได้มีสติรู้เท่าทันทุกการ กระทำ

หลังสึกออกมาทุกวันนี้ เวลาจะโกรธใครก็เหมือนมีสติมาห้ามทัน แต่ก็ยังมีหลุดบ้าง ซึ่งก่อนหน้านี้จะตอบโต้แทบจะทันทีเพราะเป็นคนใจร้อน


ความกลัวต่อสภาวะธรรมเพราะลังเลสงสัย

อินทรีย์5ไม่มีกำลังที่จะยอมรับสภาวะนั้นๆ

.....................................................
อย่าท้อถอยต่อการปฏิบัติ อย่าปล่อยให้ความขุ่นเคืองเข้าแทรก สร้างพลังด้วยคำสอนของพระพุทธเจ้า รำลึกและตอบแทนพระคุณมารดา และบิดา มองโลกด้วยใจเป็นกลาง ระลึกเสมอว่าเรายังด้อยปัญญาหากยังไม่ได้ปัญญา


โพสต์ เมื่อ: 21 ก.ย. 2016, 03:06 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 27 เม.ย. 2010, 08:10
โพสต์: 2830

แนวปฏิบัติ: ขันธ์5ด้วยการสังเกตุ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ และอินทรีย์22
สิ่งที่ชื่นชอบ: พระสุตตันตปิฎก
อายุ: 0
ที่อยู่: ระยอง อุบลราชธานี

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
อีกสัก ตย.

ขณะกำลังทำสมาธิอยู่ จู่ๆร่างของเราก็เหมือนถูกดึง เราก็ปล่อยตามสะบายแค่ตามดู คิดว่าเป็นนิมิตธรรมดา แต่ไม่ใช่ค่ะ เพราะนิมิตธรรมดา เรากำหนดรู้มักจะหายไปได้เอง แต่นี้ไม่ใช่ เขาวิ่งผ่านตัวเราไปค่ะ กระแสของเขาตอนที่ผ่านร่าง เหมือนจิตกับกายเราจะแยกออกจากกัน ความเจ็บปวดที่เราเคยปวด (เวทนา) ที่นั่งสมาธิตอนแรกไม่เจ็บเท่านี้ เหมือนร่างกายเราถูกฉีก เหมือนเส้นเลือดจะระเบิดประมาณนั้นจริง ๆ ค่ะ เราแผ่เมตตาให้เขา เขาก็ไม่ยอม แรงเหวี่ยงเยอะมาก ๆ ทั้งที่ห้องปิดหมดเปิดแอร์นะ แต่มีกระแสลมหมุนตลอดเวลา


เรากำลังสร้างความเชื่อให้กับตนเอง
เวลาปฎิบัติ ต้องทิ้งทุกอย่าง ทิ้งความเห็น ให้เหลือแต่สัมมาทิฎฐิเกี่ยวกับธรรมตรงหน้า

.....................................................
อย่าท้อถอยต่อการปฏิบัติ อย่าปล่อยให้ความขุ่นเคืองเข้าแทรก สร้างพลังด้วยคำสอนของพระพุทธเจ้า รำลึกและตอบแทนพระคุณมารดา และบิดา มองโลกด้วยใจเป็นกลาง ระลึกเสมอว่าเรายังด้อยปัญญาหากยังไม่ได้ปัญญา


โพสต์ เมื่อ: 21 ก.ย. 2016, 05:56 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


student เขียน:
กรัชกาย เขียน:
ดูชื่อกระทู้ แล้วดูตย.นี้อีก


ผมก็นั่งตามลมหายใจพุทโธไป

วันแรกๆก็ไม่เป็นอะไร พอวันที่สามนั่งไปซักพักประมาณสิบนาทีเริ่มมีอาการเหวี่ยงแบบเหวี่ยงหมุนจน เวียนหัวจึงนั่งต่อไม่ได้ ลืมตาขึ้นมานั่งดูพระรูปอื่น

เป็นอย่างนี้อยู่เกือบตลอด กลับมาที่กุฏิก่อนจะจำวัดก็นั่งก็เป็นอีก

จนมาถามพระพี่เลี้ยงท่านบอกเหมือนจิตกำลังจะได้เข้าสู่ความสงบให้ผ่านจุดนี้ไปให้ได้ แต่มันก็ได้แบบแปปๆแล้วก็หมุนอีกหมุนอีก

จนลาสิกขามาก็เริ่มมาหาอ่านเองจนได้อ่านบันทึกกรรมฐานของเจ้าพระคุณสมเด็จพระสังฆราช ให้พิจารณา กาย เวทนา จิต ธรรม

คราวนี้ก็ทำตามหนังสือ หายใจตอนแรกก็ยาว ก็ตามไปซักพัก เริ่มพิจารณาตามสติปัฐฐาน คราวนี้หมุนเร็วเลยหมุนแรงมากจนรู้สึกจะอาเจียนเลย

ผมก็พิจารณาว่าเป็นทุกขเวทนา ก็ดีขึ้นแปปก็หมุนอีกเรื่อยๆ จนตอนนี้ยังแก้ไม่ได้เลยครับ ไม่รู้ว่าจะทำยังไง ล่าสุดเมื่อคืนหมุนจนจะอ้วก จนถอนสมาธิออกมา ยังมีอาการเวียนหัวจะอ้วกมาอีก ซักสิบห้านาทีค่อยดีขึ้น

คำถามครับ


1. ผมควรแก้ปัญหานี้ยังไงดี ฝืนนั่งไปเรื่อยๆจนหายหรือต้องกำหนดอะไรยังไง

2. จุดมุ่งหมายจริงๆ คือวิปัสสนากรรมฐานคืออะไรครับ ไม่ได้โอ้อวดว่าตัวเองเก่งนะครับ พอดีผมเรียนแพทย์เลยเข้าใจพวกสรีระร่างกายมนุษย์อยู่แล้ว เมื่อมาเรียนรู้ทางธรรมพิจารณาตามขันธ์ 5 ก็เข้าใจว่ามันไม่ได้มีตัวตนจริงๆของเรา เหมือนเท่าที่อ่านการฝึกวิปัสสนาทำให้เราเข้าใจว่าทุกอย่างมีเกิดดับของมัน เป็นธรรมดา ไม่ให้เรายึดติด

แต่

ถ้าผมอ่านแล้วเข้าใจแล้วจะทำไปเพื่ออะไร หรือว่าให้จิตเราแข็งแกร่ง จะได้มีสติรู้เท่าทันทุกการ กระทำ

หลังสึกออกมาทุกวันนี้ เวลาจะโกรธใครก็เหมือนมีสติมาห้ามทัน แต่ก็ยังมีหลุดบ้าง ซึ่งก่อนหน้านี้จะตอบโต้แทบจะทันทีเพราะเป็นคนใจร้อน


ความกลัวต่อสภาวะธรรมเพราะลังเลสงสัย

อินทรีย์5ไม่มีกำลังที่จะยอมรับสภาวะนั้นๆ



คุณstudentแนะนำวิธีปฏิบัติเพื่อให้ยอมรับต่อสภาวะนั้นๆสิครับ

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสต์ เมื่อ: 21 ก.ย. 2016, 09:05 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 27 เม.ย. 2010, 08:10
โพสต์: 2830

แนวปฏิบัติ: ขันธ์5ด้วยการสังเกตุ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ และอินทรีย์22
สิ่งที่ชื่นชอบ: พระสุตตันตปิฎก
อายุ: 0
ที่อยู่: ระยอง อุบลราชธานี

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
student เขียน:
กรัชกาย เขียน:
ดูชื่อกระทู้ แล้วดูตย.นี้อีก


ผมก็นั่งตามลมหายใจพุทโธไป

วันแรกๆก็ไม่เป็นอะไร พอวันที่สามนั่งไปซักพักประมาณสิบนาทีเริ่มมีอาการเหวี่ยงแบบเหวี่ยงหมุนจน เวียนหัวจึงนั่งต่อไม่ได้ ลืมตาขึ้นมานั่งดูพระรูปอื่น

เป็นอย่างนี้อยู่เกือบตลอด กลับมาที่กุฏิก่อนจะจำวัดก็นั่งก็เป็นอีก

จนมาถามพระพี่เลี้ยงท่านบอกเหมือนจิตกำลังจะได้เข้าสู่ความสงบให้ผ่านจุดนี้ไปให้ได้ แต่มันก็ได้แบบแปปๆแล้วก็หมุนอีกหมุนอีก

จนลาสิกขามาก็เริ่มมาหาอ่านเองจนได้อ่านบันทึกกรรมฐานของเจ้าพระคุณสมเด็จพระสังฆราช ให้พิจารณา กาย เวทนา จิต ธรรม

คราวนี้ก็ทำตามหนังสือ หายใจตอนแรกก็ยาว ก็ตามไปซักพัก เริ่มพิจารณาตามสติปัฐฐาน คราวนี้หมุนเร็วเลยหมุนแรงมากจนรู้สึกจะอาเจียนเลย

ผมก็พิจารณาว่าเป็นทุกขเวทนา ก็ดีขึ้นแปปก็หมุนอีกเรื่อยๆ จนตอนนี้ยังแก้ไม่ได้เลยครับ ไม่รู้ว่าจะทำยังไง ล่าสุดเมื่อคืนหมุนจนจะอ้วก จนถอนสมาธิออกมา ยังมีอาการเวียนหัวจะอ้วกมาอีก ซักสิบห้านาทีค่อยดีขึ้น

คำถามครับ


1. ผมควรแก้ปัญหานี้ยังไงดี ฝืนนั่งไปเรื่อยๆจนหายหรือต้องกำหนดอะไรยังไง

2. จุดมุ่งหมายจริงๆ คือวิปัสสนากรรมฐานคืออะไรครับ ไม่ได้โอ้อวดว่าตัวเองเก่งนะครับ พอดีผมเรียนแพทย์เลยเข้าใจพวกสรีระร่างกายมนุษย์อยู่แล้ว เมื่อมาเรียนรู้ทางธรรมพิจารณาตามขันธ์ 5 ก็เข้าใจว่ามันไม่ได้มีตัวตนจริงๆของเรา เหมือนเท่าที่อ่านการฝึกวิปัสสนาทำให้เราเข้าใจว่าทุกอย่างมีเกิดดับของมัน เป็นธรรมดา ไม่ให้เรายึดติด

แต่

ถ้าผมอ่านแล้วเข้าใจแล้วจะทำไปเพื่ออะไร หรือว่าให้จิตเราแข็งแกร่ง จะได้มีสติรู้เท่าทันทุกการ กระทำ

หลังสึกออกมาทุกวันนี้ เวลาจะโกรธใครก็เหมือนมีสติมาห้ามทัน แต่ก็ยังมีหลุดบ้าง ซึ่งก่อนหน้านี้จะตอบโต้แทบจะทันทีเพราะเป็นคนใจร้อน


ความกลัวต่อสภาวะธรรมเพราะลังเลสงสัย

อินทรีย์5ไม่มีกำลังที่จะยอมรับสภาวะนั้นๆ



คุณstudentแนะนำวิธีปฏิบัติเพื่อให้ยอมรับต่อสภาวะนั้นๆสิครับ


ก่อนอื่น การปฎิบัติด้วยการยกเอาอินทรีย์5มาพิจารณา
เพื่อปรับความเห็นให้ยอมรับสภาวะธรรมที่เกิด ล้วนแล้วแต่เหตุปัจจัย หาใช่บุคคล ตัวเรา ตัวเขา สักแต่เกิดขึ้น ตั้งอยู่ ดับไป
สมมุติคุณยืนอยู่ในเวลากลางวัน มีคนบอกคุณว่า นี่คือเวลากลางคืน คุณจะมีความเห็นว่าอย่างไร?
คุณก็ต้องบอกว่า นี่คือเวลากลางวัน

แต่หากวันหนึ่งคุณถูกจองจำในคุกที่มืด ไม่รู้วันเวลาเป็นเวลานาน หากมีใครคนหนึ่งบอกว่า นี่เป็นเวลากลางวัน คุณจะมีความเห็นว่าอย่างไร?
คุณจะพิสูจน์อย่างไร?

.....................................................
อย่าท้อถอยต่อการปฏิบัติ อย่าปล่อยให้ความขุ่นเคืองเข้าแทรก สร้างพลังด้วยคำสอนของพระพุทธเจ้า รำลึกและตอบแทนพระคุณมารดา และบิดา มองโลกด้วยใจเป็นกลาง ระลึกเสมอว่าเรายังด้อยปัญญาหากยังไม่ได้ปัญญา


โพสต์ เมื่อ: 21 ก.ย. 2016, 10:50 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


student เขียน:
กรัชกาย เขียน:
student เขียน:
กรัชกาย เขียน:
ดูชื่อกระทู้ แล้วดูตย.นี้อีก


ผมก็นั่งตามลมหายใจพุทโธไป

วันแรกๆก็ไม่เป็นอะไร พอวันที่สามนั่งไปซักพักประมาณสิบนาทีเริ่มมีอาการเหวี่ยงแบบเหวี่ยงหมุนจน เวียนหัวจึงนั่งต่อไม่ได้ ลืมตาขึ้นมานั่งดูพระรูปอื่น

เป็นอย่างนี้อยู่เกือบตลอด กลับมาที่กุฏิก่อนจะจำวัดก็นั่งก็เป็นอีก

จนมาถามพระพี่เลี้ยงท่านบอกเหมือนจิตกำลังจะได้เข้าสู่ความสงบให้ผ่านจุดนี้ไปให้ได้ แต่มันก็ได้แบบแปปๆแล้วก็หมุนอีกหมุนอีก

จนลาสิกขามาก็เริ่มมาหาอ่านเองจนได้อ่านบันทึกกรรมฐานของเจ้าพระคุณสมเด็จพระสังฆราช ให้พิจารณา กาย เวทนา จิต ธรรม

คราวนี้ก็ทำตามหนังสือ หายใจตอนแรกก็ยาว ก็ตามไปซักพัก เริ่มพิจารณาตามสติปัฐฐาน คราวนี้หมุนเร็วเลยหมุนแรงมากจนรู้สึกจะอาเจียนเลย

ผมก็พิจารณาว่าเป็นทุกขเวทนา ก็ดีขึ้นแปปก็หมุนอีกเรื่อยๆ จนตอนนี้ยังแก้ไม่ได้เลยครับ ไม่รู้ว่าจะทำยังไง ล่าสุดเมื่อคืนหมุนจนจะอ้วก จนถอนสมาธิออกมา ยังมีอาการเวียนหัวจะอ้วกมาอีก ซักสิบห้านาทีค่อยดีขึ้น

คำถามครับ


1. ผมควรแก้ปัญหานี้ยังไงดี ฝืนนั่งไปเรื่อยๆจนหายหรือต้องกำหนดอะไรยังไง

2. จุดมุ่งหมายจริงๆ คือวิปัสสนากรรมฐานคืออะไรครับ ไม่ได้โอ้อวดว่าตัวเองเก่งนะครับ พอดีผมเรียนแพทย์เลยเข้าใจพวกสรีระร่างกายมนุษย์อยู่แล้ว เมื่อมาเรียนรู้ทางธรรมพิจารณาตามขันธ์ 5 ก็เข้าใจว่ามันไม่ได้มีตัวตนจริงๆของเรา เหมือนเท่าที่อ่านการฝึกวิปัสสนาทำให้เราเข้าใจว่าทุกอย่างมีเกิดดับของมัน เป็นธรรมดา ไม่ให้เรายึดติด

แต่

ถ้าผมอ่านแล้วเข้าใจแล้วจะทำไปเพื่ออะไร หรือว่าให้จิตเราแข็งแกร่ง จะได้มีสติรู้เท่าทันทุกการ กระทำ

หลังสึกออกมาทุกวันนี้ เวลาจะโกรธใครก็เหมือนมีสติมาห้ามทัน แต่ก็ยังมีหลุดบ้าง ซึ่งก่อนหน้านี้จะตอบโต้แทบจะทันทีเพราะเป็นคนใจร้อน


ความกลัวต่อสภาวะธรรมเพราะลังเลสงสัย

อินทรีย์5ไม่มีกำลังที่จะยอมรับสภาวะนั้นๆ



คุณstudentแนะนำวิธีปฏิบัติเพื่อให้ยอมรับต่อสภาวะนั้นๆสิครับ


ก่อนอื่น การปฎิบัติด้วยการยกเอาอินทรีย์5มาพิจารณา
เพื่อปรับความเห็นให้ยอมรับสภาวะธรรมที่เกิด ล้วนแล้วแต่เหตุปัจจัย หาใช่บุคคล ตัวเรา ตัวเขา สักแต่เกิดขึ้น ตั้งอยู่ ดับไป
สมมุติคุณยืนอยู่ในเวลากลางวัน มีคนบอกคุณว่า นี่คือเวลากลางคืน คุณจะมีความเห็นว่าอย่างไร?
คุณก็ต้องบอกว่า นี่คือเวลากลางวัน

แต่หากวันหนึ่งคุณถูกจองจำในคุกที่มืด ไม่รู้วันเวลาเป็นเวลานาน หากมีใครคนหนึ่งบอกว่า นี่เป็นเวลากลางวัน คุณจะมีความเห็นว่าอย่างไร?
คุณจะพิสูจน์อย่างไร?



อ้างคำพูด:
การปฎิบัติด้วยการยกเอา อินทรีย์ 5 มาพิจารณา


อินทรีย์ 5 ได้แก่

-ศรัทธา
-วิริยะ
-สติ
-สมาธิ
-ปัญญา

พิจารณายังไงครับ

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสต์ เมื่อ: 21 ก.ย. 2016, 13:41 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 27 เม.ย. 2010, 08:10
โพสต์: 2830

แนวปฏิบัติ: ขันธ์5ด้วยการสังเกตุ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ และอินทรีย์22
สิ่งที่ชื่นชอบ: พระสุตตันตปิฎก
อายุ: 0
ที่อยู่: ระยอง อุบลราชธานี

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
student เขียน:
กรัชกาย เขียน:
student เขียน:
กรัชกาย เขียน:
ดูชื่อกระทู้ แล้วดูตย.นี้อีก


ผมก็นั่งตามลมหายใจพุทโธไป

วันแรกๆก็ไม่เป็นอะไร พอวันที่สามนั่งไปซักพักประมาณสิบนาทีเริ่มมีอาการเหวี่ยงแบบเหวี่ยงหมุนจน เวียนหัวจึงนั่งต่อไม่ได้ ลืมตาขึ้นมานั่งดูพระรูปอื่น

เป็นอย่างนี้อยู่เกือบตลอด กลับมาที่กุฏิก่อนจะจำวัดก็นั่งก็เป็นอีก

จนมาถามพระพี่เลี้ยงท่านบอกเหมือนจิตกำลังจะได้เข้าสู่ความสงบให้ผ่านจุดนี้ไปให้ได้ แต่มันก็ได้แบบแปปๆแล้วก็หมุนอีกหมุนอีก

จนลาสิกขามาก็เริ่มมาหาอ่านเองจนได้อ่านบันทึกกรรมฐานของเจ้าพระคุณสมเด็จพระสังฆราช ให้พิจารณา กาย เวทนา จิต ธรรม

คราวนี้ก็ทำตามหนังสือ หายใจตอนแรกก็ยาว ก็ตามไปซักพัก เริ่มพิจารณาตามสติปัฐฐาน คราวนี้หมุนเร็วเลยหมุนแรงมากจนรู้สึกจะอาเจียนเลย

ผมก็พิจารณาว่าเป็นทุกขเวทนา ก็ดีขึ้นแปปก็หมุนอีกเรื่อยๆ จนตอนนี้ยังแก้ไม่ได้เลยครับ ไม่รู้ว่าจะทำยังไง ล่าสุดเมื่อคืนหมุนจนจะอ้วก จนถอนสมาธิออกมา ยังมีอาการเวียนหัวจะอ้วกมาอีก ซักสิบห้านาทีค่อยดีขึ้น

คำถามครับ


1. ผมควรแก้ปัญหานี้ยังไงดี ฝืนนั่งไปเรื่อยๆจนหายหรือต้องกำหนดอะไรยังไง

2. จุดมุ่งหมายจริงๆ คือวิปัสสนากรรมฐานคืออะไรครับ ไม่ได้โอ้อวดว่าตัวเองเก่งนะครับ พอดีผมเรียนแพทย์เลยเข้าใจพวกสรีระร่างกายมนุษย์อยู่แล้ว เมื่อมาเรียนรู้ทางธรรมพิจารณาตามขันธ์ 5 ก็เข้าใจว่ามันไม่ได้มีตัวตนจริงๆของเรา เหมือนเท่าที่อ่านการฝึกวิปัสสนาทำให้เราเข้าใจว่าทุกอย่างมีเกิดดับของมัน เป็นธรรมดา ไม่ให้เรายึดติด

แต่

ถ้าผมอ่านแล้วเข้าใจแล้วจะทำไปเพื่ออะไร หรือว่าให้จิตเราแข็งแกร่ง จะได้มีสติรู้เท่าทันทุกการ กระทำ

หลังสึกออกมาทุกวันนี้ เวลาจะโกรธใครก็เหมือนมีสติมาห้ามทัน แต่ก็ยังมีหลุดบ้าง ซึ่งก่อนหน้านี้จะตอบโต้แทบจะทันทีเพราะเป็นคนใจร้อน


ความกลัวต่อสภาวะธรรมเพราะลังเลสงสัย

อินทรีย์5ไม่มีกำลังที่จะยอมรับสภาวะนั้นๆ



คุณstudentแนะนำวิธีปฏิบัติเพื่อให้ยอมรับต่อสภาวะนั้นๆสิครับ


ก่อนอื่น การปฎิบัติด้วยการยกเอาอินทรีย์5มาพิจารณา
เพื่อปรับความเห็นให้ยอมรับสภาวะธรรมที่เกิด ล้วนแล้วแต่เหตุปัจจัย หาใช่บุคคล ตัวเรา ตัวเขา สักแต่เกิดขึ้น ตั้งอยู่ ดับไป
สมมุติคุณยืนอยู่ในเวลากลางวัน มีคนบอกคุณว่า นี่คือเวลากลางคืน คุณจะมีความเห็นว่าอย่างไร?
คุณก็ต้องบอกว่า นี่คือเวลากลางวัน

แต่หากวันหนึ่งคุณถูกจองจำในคุกที่มืด ไม่รู้วันเวลาเป็นเวลานาน หากมีใครคนหนึ่งบอกว่า นี่เป็นเวลากลางวัน คุณจะมีความเห็นว่าอย่างไร?
คุณจะพิสูจน์อย่างไร?



อ้างคำพูด:
การปฎิบัติด้วยการยกเอา อินทรีย์ 5 มาพิจารณา


อินทรีย์ 5 ได้แก่

-ศรัทธา
-วิริยะ
-สติ
-สมาธิ
-ปัญญา

พิจารณายังไงครับ


พิจารณาว่าความเป็นศรัทธานั้นเคียงคู่กับปัญญาครับ
ไม่งั้นจะกลายเป็นความเชื่องมงาย

วิริยะเคียงคู่กับสมาธิครับ ไม่งั้นจะกลายเป็นความสุดโต่ง

ส่วนสตินั้นควรทำให้เกิด ยิ่งมีสติ ยิ่งน้อมอินทรีย์ให้สมบูรณ์

.....................................................
อย่าท้อถอยต่อการปฏิบัติ อย่าปล่อยให้ความขุ่นเคืองเข้าแทรก สร้างพลังด้วยคำสอนของพระพุทธเจ้า รำลึกและตอบแทนพระคุณมารดา และบิดา มองโลกด้วยใจเป็นกลาง ระลึกเสมอว่าเรายังด้อยปัญญาหากยังไม่ได้ปัญญา


โพสต์ เมื่อ: 21 ก.ย. 2016, 18:17 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


student เขียน:
กรัชกาย เขียน:
student เขียน:
กรัชกาย เขียน:
student เขียน:
กรัชกาย เขียน:
ดูชื่อกระทู้ แล้วดูตย.นี้อีก


ผมก็นั่งตามลมหายใจพุทโธไป

วันแรกๆก็ไม่เป็นอะไร พอวันที่สามนั่งไปซักพักประมาณสิบนาทีเริ่มมีอาการเหวี่ยงแบบเหวี่ยงหมุนจน เวียนหัวจึงนั่งต่อไม่ได้ ลืมตาขึ้นมานั่งดูพระรูปอื่น

เป็นอย่างนี้อยู่เกือบตลอด กลับมาที่กุฏิก่อนจะจำวัดก็นั่งก็เป็นอีก

จนมาถามพระพี่เลี้ยงท่านบอกเหมือนจิตกำลังจะได้เข้าสู่ความสงบให้ผ่านจุดนี้ไปให้ได้ แต่มันก็ได้แบบแปปๆแล้วก็หมุนอีกหมุนอีก

จนลาสิกขามาก็เริ่มมาหาอ่านเองจนได้อ่านบันทึกกรรมฐานของเจ้าพระคุณสมเด็จพระสังฆราช ให้พิจารณา กาย เวทนา จิต ธรรม

คราวนี้ก็ทำตามหนังสือ หายใจตอนแรกก็ยาว ก็ตามไปซักพัก เริ่มพิจารณาตามสติปัฐฐาน คราวนี้หมุนเร็วเลยหมุนแรงมากจนรู้สึกจะอาเจียนเลย

ผมก็พิจารณาว่าเป็นทุกขเวทนา ก็ดีขึ้นแปปก็หมุนอีกเรื่อยๆ จนตอนนี้ยังแก้ไม่ได้เลยครับ ไม่รู้ว่าจะทำยังไง ล่าสุดเมื่อคืนหมุนจนจะอ้วก จนถอนสมาธิออกมา ยังมีอาการเวียนหัวจะอ้วกมาอีก ซักสิบห้านาทีค่อยดีขึ้น

คำถามครับ


1. ผมควรแก้ปัญหานี้ยังไงดี ฝืนนั่งไปเรื่อยๆจนหายหรือต้องกำหนดอะไรยังไง

2. จุดมุ่งหมายจริงๆ คือวิปัสสนากรรมฐานคืออะไรครับ ไม่ได้โอ้อวดว่าตัวเองเก่งนะครับ พอดีผมเรียนแพทย์เลยเข้าใจพวกสรีระร่างกายมนุษย์อยู่แล้ว เมื่อมาเรียนรู้ทางธรรมพิจารณาตามขันธ์ 5 ก็เข้าใจว่ามันไม่ได้มีตัวตนจริงๆของเรา เหมือนเท่าที่อ่านการฝึกวิปัสสนาทำให้เราเข้าใจว่าทุกอย่างมีเกิดดับของมัน เป็นธรรมดา ไม่ให้เรายึดติด

แต่

ถ้าผมอ่านแล้วเข้าใจแล้วจะทำไปเพื่ออะไร หรือว่าให้จิตเราแข็งแกร่ง จะได้มีสติรู้เท่าทันทุกการ กระทำ

หลังสึกออกมาทุกวันนี้ เวลาจะโกรธใครก็เหมือนมีสติมาห้ามทัน แต่ก็ยังมีหลุดบ้าง ซึ่งก่อนหน้านี้จะตอบโต้แทบจะทันทีเพราะเป็นคนใจร้อน


ความกลัวต่อสภาวะธรรมเพราะลังเลสงสัย

อินทรีย์5ไม่มีกำลังที่จะยอมรับสภาวะนั้นๆ



คุณstudentแนะนำวิธีปฏิบัติเพื่อให้ยอมรับต่อสภาวะนั้นๆสิครับ


ก่อนอื่น การปฎิบัติด้วยการยกเอาอินทรีย์5มาพิจารณา
เพื่อปรับความเห็นให้ยอมรับสภาวะธรรมที่เกิด ล้วนแล้วแต่เหตุปัจจัย หาใช่บุคคล ตัวเรา ตัวเขา สักแต่เกิดขึ้น ตั้งอยู่ ดับไป
สมมุติคุณยืนอยู่ในเวลากลางวัน มีคนบอกคุณว่า นี่คือเวลากลางคืน คุณจะมีความเห็นว่าอย่างไร?
คุณก็ต้องบอกว่า นี่คือเวลากลางวัน

แต่หากวันหนึ่งคุณถูกจองจำในคุกที่มืด ไม่รู้วันเวลาเป็นเวลานาน หากมีใครคนหนึ่งบอกว่า นี่เป็นเวลากลางวัน คุณจะมีความเห็นว่าอย่างไร?
คุณจะพิสูจน์อย่างไร?



อ้างคำพูด:
การปฎิบัติด้วยการยกเอา อินทรีย์ 5 มาพิจารณา


อินทรีย์ 5 ได้แก่

-ศรัทธา
-วิริยะ
-สติ
-สมาธิ
-ปัญญา

พิจารณายังไงครับ


พิจารณาว่าความเป็นศรัทธานั้นเคียงคู่กับปัญญาครับ
ไม่งั้นจะกลายเป็นความเชื่องมงาย

วิริยะเคียงคู่กับสมาธิครับ ไม่งั้นจะกลายเป็นความสุดโต่ง

ส่วนสตินั้นควรทำให้เกิด ยิ่งมีสติ ยิ่งน้อมอินทรีย์ให้สมบูรณ์


ขอบคุณครับ :b14:

เมื่อพิจารณาดังว่านั้นแล้วแล้วนำไปแก้ปัญหาภาคปฏิบัติ ดังตย. เป็นต้นนี้
อ้างคำพูด:
วันแรกๆก็ไม่เป็นอะไร พอวันที่สามนั่งไปซักพักประมาณสิบนาทีเริ่มมีอาการเหวี่ยงแบบเหวี่ยงหมุนจน เวียนหัวจึงนั่งต่อไม่ได้ลืมตาขึ้นมานั่งดูพระรูปอื่น


ยังไงครับ

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสต์ เมื่อ: 21 ก.ย. 2016, 20:59 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


ปฏิปทา ทางดำเนิน, ข้อปฏิบัติ, ความประพฤติ

ปฏิปทา ๔ การปฏิบัติของท่านผู้ได้บรรลุธรรมพิเศษ มี ๔ ประเภท คือ

๑. ทุกฺขา ปฏิปทา ทนฺธาภิญฺญา ปฏิบัติลำบาก ทั้งรู้ได้ช้า

๒. ทุกฺขา ปฏิปทา ขิปฺปาภิญฺญา ปฏิบัติลำบาก แต่รู้ได้เร็ว

๓. สุขา ปฏิปทา ทนฺธาภิญฺญา ปฏิบัติสะดวก แต่รู้ได้ช้า

๔. สุขา ปฏิปทา ขิปฺปาภิญฺญา ปฏิบัติสะดวก ทั้งรู้ได้เร็ว

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


แก้ไขล่าสุดโดย กรัชกาย เมื่อ 21 ก.ย. 2016, 21:00, แก้ไขแล้ว 1 ครั้ง

โพสต์ เมื่อ: 21 ก.ย. 2016, 21:00 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 29 ต.ค. 2009, 15:06
โพสต์: 7520

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


onion onion onion


แก้ไขล่าสุดโดย Rosarin เมื่อ 21 ก.ย. 2016, 21:06, แก้ไขแล้ว 1 ครั้ง

โพสต์ เมื่อ: 21 ก.ย. 2016, 21:02 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


สภาพ, สภาวะ ความเป็นเอง, สิ่งที่เป็นเอง, ธรรมดา

สภาวทุกข์ ทุกข์ที่เป็นเองตามคติแห่งธรรมดา ได้แก่ ทุกข์ประจำสังขาร คือ ชาติ ชรา มรณะ

สภาวธรรม หลักแห่งความเป็นเอง, สิ่งที่เป็นเองตามธรรมดาของเหตุปัจจัย

ปกิณณกทุกข์ ทุกข์เบ็ดเตล็ด, ทุกข์เรี่ยราย, ทุกข์จร ได้แก่ โสกะ ปริเทวะ ทุกข์ โทมนัส อุปายาส

ปฏิฆะ ความขัดใจ, แค้นเคือง, ความขึ้งเคียด, ความกระทบกระทั่งแห่งจิต ได้แก่ ความที่จิตหงุดหงิดด้วยอำนาจโทสะ

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสต์ เมื่อ: 21 ก.ย. 2016, 23:40 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 27 เม.ย. 2010, 08:10
โพสต์: 2830

แนวปฏิบัติ: ขันธ์5ด้วยการสังเกตุ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ และอินทรีย์22
สิ่งที่ชื่นชอบ: พระสุตตันตปิฎก
อายุ: 0
ที่อยู่: ระยอง อุบลราชธานี

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
student เขียน:
กรัชกาย เขียน:
student เขียน:
กรัชกาย เขียน:
student เขียน:
กรัชกาย เขียน:
ดูชื่อกระทู้ แล้วดูตย.นี้อีก


ผมก็นั่งตามลมหายใจพุทโธไป

วันแรกๆก็ไม่เป็นอะไร พอวันที่สามนั่งไปซักพักประมาณสิบนาทีเริ่มมีอาการเหวี่ยงแบบเหวี่ยงหมุนจน เวียนหัวจึงนั่งต่อไม่ได้ ลืมตาขึ้นมานั่งดูพระรูปอื่น

เป็นอย่างนี้อยู่เกือบตลอด กลับมาที่กุฏิก่อนจะจำวัดก็นั่งก็เป็นอีก

จนมาถามพระพี่เลี้ยงท่านบอกเหมือนจิตกำลังจะได้เข้าสู่ความสงบให้ผ่านจุดนี้ไปให้ได้ แต่มันก็ได้แบบแปปๆแล้วก็หมุนอีกหมุนอีก

จนลาสิกขามาก็เริ่มมาหาอ่านเองจนได้อ่านบันทึกกรรมฐานของเจ้าพระคุณสมเด็จพระสังฆราช ให้พิจารณา กาย เวทนา จิต ธรรม

คราวนี้ก็ทำตามหนังสือ หายใจตอนแรกก็ยาว ก็ตามไปซักพัก เริ่มพิจารณาตามสติปัฐฐาน คราวนี้หมุนเร็วเลยหมุนแรงมากจนรู้สึกจะอาเจียนเลย

ผมก็พิจารณาว่าเป็นทุกขเวทนา ก็ดีขึ้นแปปก็หมุนอีกเรื่อยๆ จนตอนนี้ยังแก้ไม่ได้เลยครับ ไม่รู้ว่าจะทำยังไง ล่าสุดเมื่อคืนหมุนจนจะอ้วก จนถอนสมาธิออกมา ยังมีอาการเวียนหัวจะอ้วกมาอีก ซักสิบห้านาทีค่อยดีขึ้น

คำถามครับ


1. ผมควรแก้ปัญหานี้ยังไงดี ฝืนนั่งไปเรื่อยๆจนหายหรือต้องกำหนดอะไรยังไง

2. จุดมุ่งหมายจริงๆ คือวิปัสสนากรรมฐานคืออะไรครับ ไม่ได้โอ้อวดว่าตัวเองเก่งนะครับ พอดีผมเรียนแพทย์เลยเข้าใจพวกสรีระร่างกายมนุษย์อยู่แล้ว เมื่อมาเรียนรู้ทางธรรมพิจารณาตามขันธ์ 5 ก็เข้าใจว่ามันไม่ได้มีตัวตนจริงๆของเรา เหมือนเท่าที่อ่านการฝึกวิปัสสนาทำให้เราเข้าใจว่าทุกอย่างมีเกิดดับของมัน เป็นธรรมดา ไม่ให้เรายึดติด

แต่

ถ้าผมอ่านแล้วเข้าใจแล้วจะทำไปเพื่ออะไร หรือว่าให้จิตเราแข็งแกร่ง จะได้มีสติรู้เท่าทันทุกการ กระทำ

หลังสึกออกมาทุกวันนี้ เวลาจะโกรธใครก็เหมือนมีสติมาห้ามทัน แต่ก็ยังมีหลุดบ้าง ซึ่งก่อนหน้านี้จะตอบโต้แทบจะทันทีเพราะเป็นคนใจร้อน


ความกลัวต่อสภาวะธรรมเพราะลังเลสงสัย

อินทรีย์5ไม่มีกำลังที่จะยอมรับสภาวะนั้นๆ



คุณstudentแนะนำวิธีปฏิบัติเพื่อให้ยอมรับต่อสภาวะนั้นๆสิครับ


ก่อนอื่น การปฎิบัติด้วยการยกเอาอินทรีย์5มาพิจารณา
เพื่อปรับความเห็นให้ยอมรับสภาวะธรรมที่เกิด ล้วนแล้วแต่เหตุปัจจัย หาใช่บุคคล ตัวเรา ตัวเขา สักแต่เกิดขึ้น ตั้งอยู่ ดับไป
สมมุติคุณยืนอยู่ในเวลากลางวัน มีคนบอกคุณว่า นี่คือเวลากลางคืน คุณจะมีความเห็นว่าอย่างไร?
คุณก็ต้องบอกว่า นี่คือเวลากลางวัน

แต่หากวันหนึ่งคุณถูกจองจำในคุกที่มืด ไม่รู้วันเวลาเป็นเวลานาน หากมีใครคนหนึ่งบอกว่า นี่เป็นเวลากลางวัน คุณจะมีความเห็นว่าอย่างไร?
คุณจะพิสูจน์อย่างไร?



อ้างคำพูด:
การปฎิบัติด้วยการยกเอา อินทรีย์ 5 มาพิจารณา


อินทรีย์ 5 ได้แก่

-ศรัทธา
-วิริยะ
-สติ
-สมาธิ
-ปัญญา

พิจารณายังไงครับ


พิจารณาว่าความเป็นศรัทธานั้นเคียงคู่กับปัญญาครับ
ไม่งั้นจะกลายเป็นความเชื่องมงาย

วิริยะเคียงคู่กับสมาธิครับ ไม่งั้นจะกลายเป็นความสุดโต่ง

ส่วนสตินั้นควรทำให้เกิด ยิ่งมีสติ ยิ่งน้อมอินทรีย์ให้สมบูรณ์


ขอบคุณครับ :b14:

เมื่อพิจารณาดังว่านั้นแล้วแล้วนำไปแก้ปัญหาภาคปฏิบัติ ดังตย. เป็นต้นนี้
อ้างคำพูด:
วันแรกๆก็ไม่เป็นอะไร พอวันที่สามนั่งไปซักพักประมาณสิบนาทีเริ่มมีอาการเหวี่ยงแบบเหวี่ยงหมุนจน เวียนหัวจึงนั่งต่อไม่ได้ลืมตาขึ้นมานั่งดูพระรูปอื่น


ยังไงครับ


อินทรีย์5ครับ

.....................................................
อย่าท้อถอยต่อการปฏิบัติ อย่าปล่อยให้ความขุ่นเคืองเข้าแทรก สร้างพลังด้วยคำสอนของพระพุทธเจ้า รำลึกและตอบแทนพระคุณมารดา และบิดา มองโลกด้วยใจเป็นกลาง ระลึกเสมอว่าเรายังด้อยปัญญาหากยังไม่ได้ปัญญา


โพสต์ เมื่อ: 21 ก.ย. 2016, 23:45 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 27 เม.ย. 2010, 08:10
โพสต์: 2830

แนวปฏิบัติ: ขันธ์5ด้วยการสังเกตุ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ และอินทรีย์22
สิ่งที่ชื่นชอบ: พระสุตตันตปิฎก
อายุ: 0
ที่อยู่: ระยอง อุบลราชธานี

 ข้อมูลส่วนตัว


การปฎิบัติที่ยกตัวอย่างมา

ไม่เกี่ยวข้องกับพุทธศาสนาในแง่ของโพธิปักขิยธรรมครับ

อ้างคำพูด:
วันแรกๆก็ไม่เป็นอะไร พอวันที่สามนั่งไปซักพักประมาณสิบนาทีเริ่มมีอาการเหวี่ยงแบบเหวี่ยงหมุนจน เวียนหัวจึงนั่งต่อไม่ได้ลืมตาขึ้นมานั่งดูพระรูปอื่น

.....................................................
อย่าท้อถอยต่อการปฏิบัติ อย่าปล่อยให้ความขุ่นเคืองเข้าแทรก สร้างพลังด้วยคำสอนของพระพุทธเจ้า รำลึกและตอบแทนพระคุณมารดา และบิดา มองโลกด้วยใจเป็นกลาง ระลึกเสมอว่าเรายังด้อยปัญญาหากยังไม่ได้ปัญญา


โพสต์ เมื่อ: 22 ก.ย. 2016, 08:27 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


student เขียน:
การปฎิบัติที่ยกตัวอย่างมา

ไม่เกี่ยวข้องกับพุทธศาสนาในแง่ของโพธิปักขิยธรรมครับ

อ้างคำพูด:
วันแรกๆก็ไม่เป็นอะไร พอวันที่สามนั่งไปซักพักประมาณสิบนาทีเริ่มมีอาการเหวี่ยงแบบเหวี่ยงหมุนจน เวียนหัวจึงนั่งต่อไม่ได้ลืมตาขึ้นมานั่งดูพระรูปอื่น


ถ้ายังงั้น โพธิปักขิยธรรม หมายถึงอะไรครับ แล้วจะทำจะปฏิบัติกันไปทำไมล่ะยังงั้น :b10:

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสต์ เมื่อ: 22 ก.ย. 2016, 08:53 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


เนี่ยเค้าถามๆกันเต็มไปหมด ทำไปทำไม ในเมื่อไม่เกี่ยวข้องกับพระพุทธศาสนา :b10:


อ้างคำพูด:
การกำหนดลมหายใจ พุท โท

1.อยากทราบว่าการกำหนดลมหายใจพุท โท ทำได้ตลอดเวลาใช่หรือไม่ครับ เเละถ้าหากเผลอลืมกำหนดไป ก็ดึงจิตมากำหนดใหม่ได้ใช่ไหมครับ

2.การนั่งสมาธิ พุท โท บางครั้ง เรายังอยู่ในที่ๆยังต้องเจอผู้คนหรือมีผู้คนมารบกวนขณะเราทำสมาธิ ได้ยินเสียงกระทบเข้ามาเราจะตกใจเเละสมาธิหลุดต้องมากำหนดใหม่ควรทำอย่างไรครับ

3.การนั่งสมาธิ เป้าหมายคือความสงบ ใช่ไหมครับ ไม่จำเป็นต้องกังวลเรื่องอะไรให้มาก เน้นทำทุกวันถูกไหมครับ


http://pantip.com/topic/35620502

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


แสดงโพสต์จาก:  เรียงตาม  
กลับไปยังกระทู้  [ 219 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1, 2, 3, 4, 5 ... 15  ต่อไป

เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


 ผู้ใช้งานขณะนี้

่กำลังดูบอร์ดนี้: ไม่มีสมาชิก และ บุคคลทั่วไป 1 ท่าน


ท่าน ไม่สามารถ โพสต์กระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ตอบกระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แก้ไขโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ลบโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แนบไฟล์ในบอร์ดนี้ได้

ค้นหาสำหรับ:
ไปที่:  
Google
ทั่วไป เว็บธรรมจักร