วันเวลาปัจจุบัน 19 ก.ค. 2025, 04:20  



เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง




กลับไปยังกระทู้  [ 68 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1, 2, 3, 4, 5  ต่อไป  Bookmark and Share
เจ้าของ ข้อความ
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 18 ก.ค. 2016, 22:14 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 18 ก.ย. 2011, 21:51
โพสต์: 4941


 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
สาธุ ที่กระทู้เดินทางมาไกลมากกว่าที่คาด

อนุโมทนากับทุกๆท่านที่ร่วมแสดงความเห็น

ศรัทธา ก็ต้องอาศัยปัญญาเป็นปัจจัยให้เกิดนะครับ
ท่านที่ว่าศรัทธาต้องมาก่อน

:b38:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 18 ก.ค. 2016, 22:20 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 18 ก.ย. 2011, 21:51
โพสต์: 4941


 ข้อมูลส่วนตัว


กบนอกกะลา เขียน:
asoka เขียน:
onion
ดูให้ดี สังเกตพิจารณากันให้ลึกซึ้ง ปัญญานำหน้ามาก่อนเสมอ ศีล สมาธิจึงเกิดและดีตาม
แล้วจากนั้น ปัญญา ศีล สมาธิจึงเป็นเหตุปัจจัยเกื้อหนุนกัน สนับสนุนกันขึ้นไปจนถึงความวิมุติหลุดพ้น
:b38:
ปัญญามีอยู่ 3 ขั้นตอนคือ
1.สุตมยปัญญา ปัญญาที่ได้จากการฟังการศึกษา ปัญญาข้อนี้สำคัญเป็นบาทฐานให้ปัญญาที่เกิดตามมาอีก 2 อย่างและเจริญงอกงามตาม

2.จินตมยปัญญา ปัญญาที่ได้จากการค้นคิดพิจารณาข้อธรรมที่ได้สุตตะมา ปัญามรรค 2ข้อในมรรค 8 คือสัมมาทิฏฐิ = ดู เห็น รู้ กับสัมมาสังกัปปะ=สังเกต พิจารณา ก็เริ่มเจริญขึ้นในปัญญาหมวดนี้

3.ภานามยปัญญา ปัญญาที่ได้จากการภาวนา ทำจริงอย่างเช่นการเจริญสติปัฏฐาน 4 เป็นต้น

ดั้งนั้น ตื้นๆฟังง่าย คือ ศีล สมาธิ ปัญญา

แต่ลึกๆฟังยากแต่เป็นความจริงยิ่งคือ
ปัญญา ศีล สมาธิ
:b37:


ไม่เห็นต้องใช้ความลึกซึ่งอะไรเลย...ก็เห็นๆอยู่แล้วว่า..มรรคแปดนั้น..ปัญญานำ

ตรงที่ต้องใช้ความลึกซึ่ง..อโสกะกลับไม่ใช้..หรือใช้ไม่เป็น


นั้นคือ..การโยนิโสมนสิการ

อโสกะ...ครับ...การโยนิโสมนสิการ..นี้...เป็นงัยละคับ....เป็นอาการคิดอะป้าว?...

:b41:
ถามเรื่องโยนิโสมนสิการหรือกบ

โยนิโส=ฉลาดแยบคายมีปัญญาและสติพร้อม

มนสิการ = ตั้งใจ

ลองรวมกันดู จะเห็นว่าเอาปัญญานำหน้าในการทำงานหรือเจริญมรรค
onion


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 19 ก.ค. 2016, 05:28 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 13 ก.พ. 2010, 17:53
โพสต์: 4999

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


เช่นนั้น เขียน:
โฮฮับ เขียน:
เลอะเทอะครับ! ปัญญาเป็นอย่างเดียว มันไม่ใช่มีหลายสิ่งอย่างที่ลุงบ่นครับ


Quote Tipitaka:
ญาณเหล่านี้รวมเป็น ๗๓ ญาณ ในญาณทั้ง ๗๓ นี้ ญาณ ๖๗
[ข้างต้น] ทั่วไปแก่พระสาวก ญาณ ๖ [ในที่สุด] ไม่ทั่วไปด้วยพระสาวก
เป็นญาณเฉพาะพระตถาคตเท่านั้น ฉะนี้แล ฯ


อพิโธ่! ปัญญากับญานยังแยกไม่ออก เอามาผสมปนเปกันวะเละ
ปัญญาก็อย่างหนึ่ง ญานก็อย่างหนึ่ง วิชชาก็อย่าง ลุงเช่นนั้นรู้หรือเปล่าว่ามันไม่เหมือนกัน


ปัญญา.......คือลักษณะของธรรม๓ประการ(ไตรลักษณ์)

ญาน....คือผลของการที่บุคคลใช้ปัญญาลงไปพิจารณาหาเหตุปัจจัยแห่งธรรม

ทั้งญานและปัญญารวมเรียกว่า วิชชา
:b32:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 19 ก.ค. 2016, 05:42 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 13 ก.พ. 2010, 17:53
โพสต์: 4999

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


เช่นนั้น เขียน:
ที่เหลือคงไม่ต้องอธิบายมากความ เพราะเกินความฉลากของโฮฮับ
โฮฮับ กินยาคงอ่านเพียงฉลากยา โดยไม่ปรึกษาแพทย์หรือเภสัชกร
เลยกินยาผิดๆถูกๆ จึงมีอาการเบลอๆ สะเปะสะปะจับแพะชนแกะมั่วจนเลอะเทอะไปหมด


ใช้คำพูดแบบนี้แล้วรู้ทำให้ความดันโลหิดลดลง ผมก็ยินดีเป็นอาจารย์ใหญ่ให้ลุงเช่นนั้นรักษาโรคครับ

ลุงเช่นนั้นมีIQไล่เลี่ยกับนายกรัชกายเลยครับ ตัวหนึ่งอาจเป็นนกแก้วน่าจะเป็นนายกรัชกาย
แต่ลุงเช่นนั้นดูแล้วไม่ต่างจากนกเอี้ยงที่จำคำพูดของเด็กเลี้ยงควายมาพูด

ไอ้ความไม่รู้เรื่องไม่ต้องพูดถึง แต่นิสัยอันธพาลนี่ซิดูแล้วไม่ต่างจาก
ควายถึกที่ชอบอาละวาดไล่ขวิดชาวบ้าน :b32:

เช่นนั้น เขียน:
โฮฮับ
ภาษา คำ ถ้อยคำ ไวยากรณ์แห่งภาษา โวหาร บัญญัติ ล้วนต้องศึกษาให้ดี อย่าใช้ส่งเดชมั่วๆ เดี๋ยวจะอ่านจะศึกษาไม่สำเร็จสมดั่งเจตนาที่จะศึกษาพระธรรมคำสอนปฏิบัติตามพระธรรมคำสอน


ดีน่ะมันต้องอย่าดีแต่พูด ลุงเช่นนั้นดูแล้วก็เหมือนตาเฒ่าหัวรั้น
ผู้รู้มาบอกที่มาที่ไปของภาษาให้ฟัง เพราะความเป็นไม้แก่ดัดยาก ไม่ฟังแถมยังด่าผู้มีคุณ :b32:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 19 ก.ค. 2016, 06:09 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 13 ก.พ. 2010, 17:53
โพสต์: 4999

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


เช่นนั้น เขียน:
พูดถึงปัญญา : มีหลายสิ่ง
แต่หากเพื่อปัญญาอันเป็นมรรคญาณ เพื่อการทำให้สิ้นไปซี่งอาสวะ
ไปตลอดถึงผลญาณ
จะมีลำดับแน่นอน คือ ศีล - สมาธิ -ปัญญา
ดั่งปรากฏใน อุปนิสสสูตร
http://www.84000.org/tipitaka/pitaka2/v.php?B=16&A=704&Z=784

ศรัทธา มีทุกข์เป็นที่อิงอาศัย
สุข. ฯลฯ.....ปราโมทย์ มีศรัทธาเป็นที่อิงอาศัย
ศรัทธา>ปราโมทย์..ฯลฯ..สุข เพื่อความไม่ร้อนกายร้อนใจเกิดขึ้น (อวิปติสาร) เป็นคุณของศีล

จากนั้น ก็ไปสู่สมาธิ(ฌาน)>วิปัสสนาญาณ(ยถาภูตญาณทัสสนะ และนิพพิทานญาณ)

ตามลำดับไป จนถึงวิราคะ (มรรคญาณ) และวิมุตติญาณ(ผลญาณ)
ขมวดทั้งหมดเป็นอาสวะขยญาณ



เช่นนั้น เขียน:

Quote Tipitaka:
ญาณเหล่านี้รวมเป็น ๗๓ ญาณ ในญาณทั้ง ๗๓ นี้ ญาณ ๖๗
[ข้างต้น] ทั่วไปแก่พระสาวก ญาณ ๖ [ในที่สุด] ไม่ทั่วไปด้วยพระสาวก
เป็นญาณเฉพาะพระตถาคตเท่านั้น ฉะนี้แล ฯ


เช่นนั้นแรกเริ่มอ้างอุปนิสสสูตร พอมีคนมาแย้งในตอนท้ายของพระสูตรว่าไม่เกี่ยวกับสิ่งที่ตัวแสดงความเห็น
แทนที่จะแก้ประเด็นด้วยการให้เหตุผล ในสิ่งที่เขาคอมเม้น ดันไปดึงพระสูตรเรื่องใหม่มาทั้งๆที่ไม่เกี่ยวกัน

เชื่อไหมว่าถ้าผมคอมเม้นแย้งพระสูตรใหม่นี่ ลุงแกก็จะตอบไม่ได้แล้วก็จะแถไปเรื่องอื่น
ไอ้เรื่องญาน๖นี่ ลุงแกไม่รู้เรื่องแน่นอน


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 19 ก.ค. 2016, 06:14 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 25 เม.ย. 2009, 02:43
โพสต์: 12232


 ข้อมูลส่วนตัว


asoka เขียน:
onion
ดูให้ดี สังเกตพิจารณากันให้ลึกซึ้ง ปัญญานำหน้ามาก่อนเสมอ ศีล สมาธิจึงเกิดและดีตาม
แล้วจากนั้น ปัญญา ศีล สมาธิจึงเป็นเหตุปัจจัยเกื้อหนุนกัน สนับสนุนกันขึ้นไปจนถึงความวิมุติหลุดพ้น
:b38:
ปัญญามีอยู่ 3 ขั้นตอนคือ
1.สุตมยปัญญา ปัญญาที่ได้จากการฟังการศึกษา ปัญญาข้อนี้สำคัญเป็นบาทฐานให้ปัญญาที่เกิดตามมาอีก 2 อย่างและเจริญงอกงามตาม

2.จินตมยปัญญา ปัญญาที่ได้จากการค้นคิดพิจารณาข้อธรรมที่ได้สุตตะมา ปัญามรรค 2ข้อในมรรค 8 คือสัมมาทิฏฐิ = ดู เห็น รู้ กับสัมมาสังกัปปะ=สังเกต พิจารณา ก็เริ่มเจริญขึ้นในปัญญาหมวดนี้

3.ภานามยปัญญา ปัญญาที่ได้จากการภาวนา ทำจริงอย่างเช่นการเจริญสติปัฏฐาน 4 เป็นต้น

ดั้งนั้น ตื้นๆฟังง่าย คือ ศีล สมาธิ ปัญญา

แต่ลึกๆฟังยากแต่เป็นความจริงยิ่งคือ
ปัญญา ศีล สมาธิ
:b37:

กบนอกกะลา เขียน:
ไม่เห็นต้องใช้ความลึกซึ่งอะไรเลย...ก็เห็นๆอยู่แล้วว่า..มรรคแปดนั้น..ปัญญานำ

ตรงที่ต้องใช้ความลึกซึ่ง..อโสกะกลับไม่ใช้..หรือใช้ไม่เป็น


นั้นคือ..การโยนิโสมนสิการ

อโสกะ...ครับ...การโยนิโสมนสิการ..นี้...เป็นงัยละคับ....เป็นอาการคิดอะป้าว?...


asoka เขียน:

:b41:
ถามเรื่องโยนิโสมนสิการหรือกบ

โยนิโส=ฉลาดแยบคายมีปัญญาและสติพร้อม

มนสิการ = ตั้งใจ

ลองรวมกันดู จะเห็นว่าเอาปัญญานำหน้าในการทำงานหรือเจริญมรรค
onion


ถามว่า..ทำงัย..ใช่เป็นอาการใช้ความคิดรึเปล่า?..

กลับตอบว่า..แปลว่าอะไร.. :b32: :b32:

นี้ก็ไม่รู้ว่า..ที่ตัวเองแปล...นั้นนะ...ถูกหรือผิด?..แล้วทำจริงเขาทำยังงัย... :b9: :b9:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 19 ก.ค. 2016, 08:29 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กบนอกกะลา เขียน:
asoka เขียน:
onion
ดูให้ดี สังเกตพิจารณากันให้ลึกซึ้ง ปัญญานำหน้ามาก่อนเสมอ ศีล สมาธิจึงเกิดและดีตาม
แล้วจากนั้น ปัญญา ศีล สมาธิจึงเป็นเหตุปัจจัยเกื้อหนุนกัน สนับสนุนกันขึ้นไปจนถึงความวิมุติหลุดพ้น
:b38:
ปัญญามีอยู่ 3 ขั้นตอนคือ
1.สุตมยปัญญา ปัญญาที่ได้จากการฟังการศึกษา ปัญญาข้อนี้สำคัญเป็นบาทฐานให้ปัญญาที่เกิดตามมาอีก 2 อย่างและเจริญงอกงามตาม

2.จินตมยปัญญา ปัญญาที่ได้จากการค้นคิดพิจารณาข้อธรรมที่ได้สุตตะมา ปัญามรรค 2ข้อในมรรค 8 คือสัมมาทิฏฐิ = ดู เห็น รู้ กับสัมมาสังกัปปะ=สังเกต พิจารณา ก็เริ่มเจริญขึ้นในปัญญาหมวดนี้

3.ภานามยปัญญา ปัญญาที่ได้จากการภาวนา ทำจริงอย่างเช่นการเจริญสติปัฏฐาน 4 เป็นต้น

ดั้งนั้น ตื้นๆฟังง่าย คือ ศีล สมาธิ ปัญญา

แต่ลึกๆฟังยากแต่เป็นความจริงยิ่งคือ
ปัญญา ศีล สมาธิ
:b37:

กบนอกกะลา เขียน:
ไม่เห็นต้องใช้ความลึกซึ่งอะไรเลย...ก็เห็นๆอยู่แล้วว่า..มรรคแปดนั้น..ปัญญานำ

ตรงที่ต้องใช้ความลึกซึ่ง..อโสกะกลับไม่ใช้..หรือใช้ไม่เป็น


นั้นคือ..การโยนิโสมนสิการ

อโสกะ...ครับ...การโยนิโสมนสิการ..นี้...เป็นงัยละคับ....เป็นอาการคิดอะป้าว?...


asoka เขียน:

:b41:
ถามเรื่องโยนิโสมนสิการหรือกบ

โยนิโส=ฉลาดแยบคายมีปัญญาและสติพร้อม

มนสิการ = ตั้งใจ

ลองรวมกันดู จะเห็นว่าเอาปัญญานำหน้าในการทำงานหรือเจริญมรรค
onion


ถามว่า..ทำงัย..ใช่เป็นอาการใช้ความคิดรึเปล่า?..

กลับตอบว่า..แปลว่าอะไร.. :b32: :b32:

นี้ก็ไม่รู้ว่า..ที่ตัวเองแปล...นั้นนะ...ถูกหรือผิด?..แล้วทำจริงเขาทำยังงัย... :b9: :b9:



กบรู้ก็บอกเค้าไปซี่ จะได้จบๆ คิกๆๆ :b32: :b32:

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 19 ก.ค. 2016, 14:18 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 14 ก.ค. 2008, 21:56
โพสต์: 3925

ชื่อเล่น: เช่นนั้น
อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


โฮฮับ เขียน:
เช่นนั้น เขียน:
โฮฮับ เขียน:
เลอะเทอะครับ! ปัญญาเป็นอย่างเดียว มันไม่ใช่มีหลายสิ่งอย่างที่ลุงบ่นครับ


Quote Tipitaka:
ญาณเหล่านี้รวมเป็น ๗๓ ญาณ ในญาณทั้ง ๗๓ นี้ ญาณ ๖๗
[ข้างต้น] ทั่วไปแก่พระสาวก ญาณ ๖ [ในที่สุด] ไม่ทั่วไปด้วยพระสาวก
เป็นญาณเฉพาะพระตถาคตเท่านั้น ฉะนี้แล ฯ


อพิโธ่! ปัญญากับญานยังแยกไม่ออก เอามาผสมปนเปกันวะเละ
ปัญญาก็อย่างหนึ่ง ญานก็อย่างหนึ่ง วิชชาก็อย่าง ลุงเช่นนั้นรู้หรือเปล่าว่ามันไม่เหมือนกัน


ปัญญา.......คือลักษณะของธรรม๓ประการ(ไตรลักษณ์)

ญาน....คือผลของการที่บุคคลใช้ปัญญาลงไปพิจารณาหาเหตุปัจจัยแห่งธรรม

ทั้งญานและปัญญารวมเรียกว่า วิชชา
:b32:

Quote Tipitaka:
ปัญญาในการทรงจำธรรมที่ได้ฟังมาแล้ว เป็นสุตมยญาณ [ญาณอันสำเร็จ
มาแต่การฟัง] ๑ ปัญญาในการฟังธรรมแล้ว สังวรไว้ เป็นสีลมยญาณ [ญาณ
อันสำเร็จมาแต่ศีล] ๑ ปัญญาในการสำรวมแล้วตั้งไว้ดี เป็นภาวนามยญาณ
[ญาณอันสำเร็จมาแต่การเจริญสมาธิ] ๑ ปัญญาในการกำหนดปัจจัย เป็นธรรม
ฐิติญาณ [ญาณในเหตุธรรม] ๑ ปัญญาในการย่อธรรมทั้งหลาย ทั้งส่วนอดีต
ส่วนอนาคตและส่วนปัจจุบันแล้วกำหนดไว้ เป็นสัมมสนญาณ [ญาณในการ
พิจารณา] ๑ ปัญญาในการพิจารณาเห็นความแปรปรวนแห่งธรรมส่วนปัจจุบัน
เป็นอุทยัพพยานุปัสนาญาณ [ญาณในการพิจารณาเห็นความเกิดขึ้นและความเสื่อม]
๑ ปัญญาในการพิจารณาอารมณ์แล้วพิจารณาเห็นความแตกไป เป็นวิปัสสนาญาณ
[ญาณในความเห็นแจ้ง] ๑ ปัญญาในการปรากฏโดยความเป็นภัย เป็นอาทีนวญาณ
[ญาณในการเห็นโทษ] ๑ ปัญญาในความปรารถนาจะพ้นไปทั้งพิจารณาและวางเฉย
อยู่ เป็นสังขารุเบกขาญาณ ๑ ปัญญาในการออกและหลีกไปจากสังขารนิมิต
ภายนอก เป็นโคตรภูญาณ ๑ ปัญญาในการออกและหลีกไปจากกิเลส ขันธ์
และสังขารนิมิตภายนอกทั้งสอง เป็นมรรคญาณ ๑ ปัญญาในการระงับประโยค
เป็นผลญาณ ๑ ปัญญาในการพิจารณาเห็นอุปกิเลสนั้นๆ อันอริยมรรคนั้นๆ
ตัดเสียแล้ว เป็นวิมุติญาณ ๑ ปัญญาในการพิจารณาเห็นธรรมที่เข้ามาประชุม
ในขณะนั้น เป็นปัจจเวกขณญาณ ๑ ปัญญาในการกำหนดธรรมภายใน เป็น
วัตถุนานัตตญาณ [ญาณในความต่างแห่งวัตถุ] ๑ ปัญญาในการกำหนดธรรม
ภายนอก เป็นโคจรนานัตตญาณ [ญาณในความต่างแห่งโคจร] ๑ ปัญญาในการ
กำหนดจริยา เป็นจริยานานัตตญาณ [ญาณในความต่างแห่งจริยา] ๑ ปัญญา
ในการกำหนดธรรม ๔ เป็นภูมินานัตตญาณ [ญาณในความต่างแห่งภูมิ] ๑
ปัญญาในการกำหนดธรรม ๙ เป็นธรรมนานัตตญาณ [ญาณในความต่างแห่งธรรม]
๑ ปัญญาที่รู้ยิ่ง เป็นญาตัฏฐญาณ [ญาณในความว่ารู้] ๑ ปัญญาเครื่องกำหนดรู้
เป็นตีรณัฏฐญาณ [ญาณในความว่าพิจารณา] ๑ ปัญญาในการละ เป็น
ปริจจาคัฏฐญาณ [ญาณในความว่าสละ] ๑ ปัญญาเครื่องเจริญ เป็นเอกรสัฏฐญาณ
[ญาณในความว่ามีกิจเป็นอันเดียว] ๑ ปัญญาเครื่องทำให้แจ้ง เป็นผัสสนัฏฐญาณ
[ญาณในความว่าถูกต้อง] ๑ ปัญญาในความต่างแห่งอรรถ เป็นอัตถปฏิสัมภิทา-
*ญาณ ๑ ปัญญาในความต่างแห่งธรรม เป็นธรรมปฏิสัมภิทาญาณ ๑ ปัญญา
ในความต่างแห่งนิรุติ เป็นนิรุตติปฏิสัมภิทาญาณ ๑ ปัญญาในความต่างแห่ง
ปฏิภาณ เป็นปฏิภาณปฏิสัมภิทาญาณ ๑ ปัญญาในความต่างแห่งวิหารธรรม เป็น
วิหารัฏฐญาณ [ญาณในความว่าธรรมเครื่องอยู่] ๑ ปัญญาในความต่างแห่งสมาบัติ
เป็นสมาปัตตัฏฐญาณ [ญาณในความว่าสมาบัติ] ๑ ปัญญาในความต่างแห่งวิหาร
สมาบัติ เป็นวิหารสมาปัตตัฏฐญาณ [ญาณในความว่าวิหารสมาบัติ] ๑ ปัญญา
ในการตัดอาสวะขาด เพราะความบริสุทธิ์แห่งสมาธิอันเป็นเหตุไม่ให้ฟุ้งซ่าน เป็น
อานันตริกสมาธิญาณ [ญาณในสมาธิอันมีในลำดับ] ๑ ทัสนาธิปไตย ทัสนะมี
ความเป็นอธิบดี วิหาราธิคม คุณเครื่องบรรลุ คือวิหารธรรมอันสงบ และปัญญา
ในความที่จิตเป็นธรรมชาติน้อมไปในผลสมาบัติอันประณีต เป็นอรณวิหารญาณ
[ญาณในวิหารธรรมอันไม่มีกิเลสเป็นข้าศึก] ๑ ปัญญาในความเป็นผู้มีความชำนาญ
ด้วยความเป็นผู้ประกอบด้วยพละ ๒ ด้วยความระงับสังขาร ๓ ด้วยญาณจริยา ๑๖
และด้วยสมาธิจริยา ๙ เป็นนิโรธสมาปัตติญาณ [ญาณในนิโรธสมาบัติ] ๑ ปัญญา
ในความสิ้นไปแห่งความเป็นไปแห่งกิเลสและขันธ์ของบุคคลผู้รู้สึกตัว เป็น
ปรินิพพานญาณ ๑ ปัญญาในความไม่ปรากฏแห่งธรรมทั้งปวง ในการตัดขาด
โดยชอบและในนิโรธ เป็นสมสีสัฏฐญาณ [ญาณในความว่าธรรมอันสงบและธรรม
อันเป็นประธาน] ๑ ปัญญาในความสิ้นไปแห่งกิเลสอันหนา สภาพต่างๆ และเดช
เป็นสัลเลขัฏฐญาณ [ญาณในความว่าธรรมเครื่องขัดเกลา] ๑ ปัญญาในความ
ประคองไว้ซึ่งจิตอันไม่หดหู่และจิตที่ส่งไป เป็นวิริยารัมภญาณ ๑ ปัญญาในการ
ประกาศธรรมต่างๆ เป็นอรรถสันทัสนญาณ [ญาณในการเห็นชัดซึ่งอรรถธรรม] ๑
ปัญญาในการสงเคราะห์ธรรมทั้งปวงเป็นหมวดเดียวกันในการแทงตลอดธรรมต่างกัน
และธรรมเป็นอันเดียวกัน เป็นทัสนวิสุทธิญาณ ๑ ปัญญาในความที่ธรรมปรากฏ
โดยความเป็นของไม่เที่ยงเป็นต้น เป็นขันติญาณ ๑ ปัญญาในความถูกต้องธรรม
เป็นปริโยคาหนญาณ [ญาณในความย่างเข้าไป] ๑ ปัญญาในการรวมธรรม
เป็นปเทสวิหารญาณ [ญาณในวิหารธรรมส่วนหนึ่ง] ๑ ปัญญาในความมีกุศลธรรม
เป็นอธิบดีเป็นสัญญาวิวัฏฏญาณ [ญาณในความหลีกไปด้วยปัญญาที่รู้ดี] ๑ ปัญญา
ในธรรมเป็นเหตุละความเป็นต่างๆ เป็นเจโตวิวัฏฏญาณ [ญาณในการหลีกออก
จากนิวรณ์ด้วยใจ] ๑ ปัญญาในการอธิษฐาน เป็นจิตตวิวัฏฏญาณ [ญาณในความ
หลีกไปแห่งจิต] ๑ ปัญญาในธรรมอันว่างเปล่า เป็นญาณวิวัฏฏญาณ [ญาณใน
ความหลีกไปด้วยญาณ] ๑ ปัญญาในความสลัดออก เป็นวิโมกขวิวัฏฏญาณ
[ญาณในความหลีกไปแห่งจิตด้วยวิโมกข์] ๑ ปัญญาในความว่าธรรมจริง
เป็นสัจจวิวัฏฏญาณ [ญาณในความหลีกไปด้วยสัจจะ] ๑ ปัญญาในความ
สำเร็จด้วยการกำหนดกาย [รูปกายของตน] และจิต [จิตมีญาณเป็นบาท]
เข้าด้วยกัน และด้วยสามารถแห่งความตั้งไว้ซึ่งสุขสัญญา [สัญญาประกอบด้วย
อุเบกขาในจตุตถฌานเป็นสุขละเอียด] และลหุสัญญา [สัญญาเบาเพราะพ้นจาก
นิวรณ์และปฏิปักขธรรม] เป็นอิทธิวิธญาณ [ญาณในการแสดงฤทธิ์ได้ต่างๆ]
๑ ปัญญาในการกำหนดเสียงเป็นนิมิตหลายอย่างหรืออย่างเดียวด้วยสามารถการ
แผ่วิตกไป เป็นโสตธาตุวิสุทธิญาณ [ญาณอันหมดจดแห่งโสตธาตุ] ๑ ปัญญา
ในการกำหนดจริยาคือ วิญญาณหลายอย่างหรืออย่างเดียว ด้วยความแผ่ไปแห่งจิต
๓ ประเภท และด้วยสามารถแห่งความผ่องใสแห่งอินทรีย์ทั้งหลาย เป็น
เจโตปริยญาณ [ญาณในความกำหนดรู้จิตผู้อื่นด้วยจิตของตน] ๑ ปัญญาในการ
กำหนดธรรมทั้งหลายอันเป็นไปตามปัจจัย ด้วยสามารถความแผ่ไปแห่งกรรม
หลายอย่างหรืออย่างเดียว เป็นบุพเพนิวาสานุสสติญาณ [ญาณเป็นเครื่อง
ระลึกถึงชาติก่อนๆ ได้] ๑ ปัญญาในความเห็นรูปเป็นนิมิตหลายอย่าง
หรืออย่างเดียว ด้วยสามารถแสงสว่าง เป็นทิพจักขุญาณ ๑ ปัญญาในความ
เป็นผู้มีความชำนาญในอินทรีย์ ๓ ประการ โดยอาการ ๖๔ เป็นอาสวักขยญาณ
[ญาณในความสิ้นไปแห่งอาสวะทั้งหลาย] ๑ ปัญญาในความกำหนดรู้ เป็น-
*ทุกขญาณ ๑ ปัญญาในความละ เป็นสมุทยญาณ ๑ ปัญญาในความทำให้แจ้ง เป็น
นิโรธญาณ ๑ ปัญญาในความเจริญ เป็นมรรคญาณ ๑ ทุกขญาณ [ญาณ
ในทุกข์] ๑ ทุกขสมุทยญาณ [ญาณในเหตุให้เกิดทุกข์] ๑ ทุกขนิโรธญาณ
[ญาณในความดับทุกข์] ๑ ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาญาณ [ญาณในข้อปฏิบัติ
เครื่องให้ถึงความดับทุกข์] ๑ อรรถปฏิสัมภิทาญาณ ๑ ธรรมปฏิสัมภิทาญาณ
๑ นิรุตติปฏิสัมภิทาญาณ ๑ ปฏิภาณปฏิสัมภิทาญาณ ๑ อินทริยปโรปริยัติญาณ
[ญาณในความยิ่งและหย่อนแห่งอินทรีย์ของสัตว์ทั้งหลาย] ๑ อาสยานุสยญาณ
[ญาณในฉันทะเป็นที่มานอนและกิเลสอันนอนเนื่องของสัตว์ทั้งหลาย] ๑ ยมก
ปาฏิหิรญาณ [ญาณในยมกปาฏิหาริย์] ๑ มหากรุณาสมาปัตติญาณ ๑
สัพพัญญุตญาณ ๑ อนาวรณญาณ ๑
ญาณเหล่านี้รวมเป็น ๗๓ ญาณ ในญาณทั้ง ๗๓ นี้ ญาณ ๖๗
[ข้างต้น] ทั่วไปแก่พระสาวก ญาณ ๖ [ในที่สุด] ไม่ทั่วไปด้วยพระสาวก
เป็นญาณเฉพาะพระตถาคตเท่านั้น ฉะนี้แล ฯ

ปัญญา มาก่อน ญาณมาภายหลัง
ปัญญามีหลายสิ่ง ญาณจึงมีหลายสิ่ง

.....................................................
ธรรมะอันยิ่งใหญ่ ไม่อาจเอื้อนเอ่ย
บัญญัติ เป็นเพียงสิ่งต่ำต้อยแบกรับความยิ่งใหญ่


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 20 ก.ค. 2016, 07:30 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 25 เม.ย. 2009, 02:43
โพสต์: 12232


 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
กบนอกกะลา เขียน:
asoka เขียน:
onion
ดูให้ดี สังเกตพิจารณากันให้ลึกซึ้ง ปัญญานำหน้ามาก่อนเสมอ ศีล สมาธิจึงเกิดและดีตาม
แล้วจากนั้น ปัญญา ศีล สมาธิจึงเป็นเหตุปัจจัยเกื้อหนุนกัน สนับสนุนกันขึ้นไปจนถึงความวิมุติหลุดพ้น
:b38:
ปัญญามีอยู่ 3 ขั้นตอนคือ
1.สุตมยปัญญา ปัญญาที่ได้จากการฟังการศึกษา ปัญญาข้อนี้สำคัญเป็นบาทฐานให้ปัญญาที่เกิดตามมาอีก 2 อย่างและเจริญงอกงามตาม

2.จินตมยปัญญา ปัญญาที่ได้จากการค้นคิดพิจารณาข้อธรรมที่ได้สุตตะมา ปัญามรรค 2ข้อในมรรค 8 คือสัมมาทิฏฐิ = ดู เห็น รู้ กับสัมมาสังกัปปะ=สังเกต พิจารณา ก็เริ่มเจริญขึ้นในปัญญาหมวดนี้

3.ภานามยปัญญา ปัญญาที่ได้จากการภาวนา ทำจริงอย่างเช่นการเจริญสติปัฏฐาน 4 เป็นต้น

ดั้งนั้น ตื้นๆฟังง่าย คือ ศีล สมาธิ ปัญญา

แต่ลึกๆฟังยากแต่เป็นความจริงยิ่งคือ
ปัญญา ศีล สมาธิ
:b37:

กบนอกกะลา เขียน:
ไม่เห็นต้องใช้ความลึกซึ่งอะไรเลย...ก็เห็นๆอยู่แล้วว่า..มรรคแปดนั้น..ปัญญานำ

ตรงที่ต้องใช้ความลึกซึ่ง..อโสกะกลับไม่ใช้..หรือใช้ไม่เป็น


นั้นคือ..การโยนิโสมนสิการ

อโสกะ...ครับ...การโยนิโสมนสิการ..นี้...เป็นงัยละคับ....เป็นอาการคิดอะป้าว?...


asoka เขียน:

:b41:
ถามเรื่องโยนิโสมนสิการหรือกบ

โยนิโส=ฉลาดแยบคายมีปัญญาและสติพร้อม

มนสิการ = ตั้งใจ

ลองรวมกันดู จะเห็นว่าเอาปัญญานำหน้าในการทำงานหรือเจริญมรรค
onion


ถามว่า..ทำงัย..ใช่เป็นอาการใช้ความคิดรึเปล่า?..

กลับตอบว่า..แปลว่าอะไร.. :b32: :b32:

นี้ก็ไม่รู้ว่า..ที่ตัวเองแปล...นั้นนะ...ถูกหรือผิด?..แล้วทำจริงเขาทำยังงัย... :b9: :b9:



กบรู้ก็บอกเค้าไปซี่ จะได้จบๆ คิกๆๆ :b32: :b32:


ถามกรัชกายด้วยก็แล้วกัน..

ให้ความรู้การทำกับเพื่อนๆหน่อย...อย่าเอาแต่หลักการคำแปลอย่างเดียวซี..


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 20 ก.ค. 2016, 09:45 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 13 ก.พ. 2010, 17:53
โพสต์: 4999

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


เช่นนั้น เขียน:
Quote Tipitaka:
ญาณเหล่านี้รวมเป็น ๗๓ ญาณ ในญาณทั้ง ๗๓ นี้ ญาณ ๖๗
[ข้างต้น] ทั่วไปแก่พระสาวก ญาณ ๖ [ในที่สุด] ไม่ทั่วไปด้วยพระสาวก
เป็นญาณเฉพาะพระตถาคตเท่านั้น ฉะนี้แล ฯ


ปัญญา มาก่อน ญาณมาภายหลัง
ปัญญามีหลายสิ่ง ญาณจึงมีหลายสิ่ง


ปัญญาจะเกิดได้ต้องอาศัยวิปัสสนาญาน เหตุนี้ญานจึงเกิดก่อนปัญญา

ปัญญามีอย่างเดียวคือไตรลักษณ์


ญานก็คืออย่างเดียว.......ก็คือสภาวะที่รู้สภาพธรรมไปตามจริง

ส่วนที่มีหลายอย่างก็คือ................สภาพธรรม

ในพระสูตรที่ว่า ....ญานเหล่านี้รวมเป็น๗๓อย่าง ไม่ใช่หมายถึงญาน๗๓ญาน
แต่มันหมายถึงสภาพธรรมที่เป็นจริง๗๓อย่าง
ความรู้เรื่องวิปัสสนา ความรู้เรื่องญาน ปัญญา และสภาพธรรมที่เป็นจริง.......ก็คือ วิชชา


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 20 ก.ค. 2016, 10:56 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


โฮฮับ เขียน:
เช่นนั้น เขียน:
Quote Tipitaka:
ญาณเหล่านี้รวมเป็น ๗๓ ญาณ ในญาณทั้ง ๗๓ นี้ ญาณ ๖๗
[ข้างต้น] ทั่วไปแก่พระสาวก ญาณ ๖ [ในที่สุด] ไม่ทั่วไปด้วยพระสาวก
เป็นญาณเฉพาะพระตถาคตเท่านั้น ฉะนี้แล ฯ


ปัญญา มาก่อน ญาณมาภายหลัง
ปัญญามีหลายสิ่ง ญาณจึงมีหลายสิ่ง


ปัญญาจะเกิดได้ต้องอาศัยวิปัสสนาญาน เหตุนี้ญานจึงเกิดก่อนปัญญา

ปัญญามีอย่างเดียวคือไตรลักษณ์


ญานก็คืออย่างเดียว.......ก็คือสภาวะที่รู้สภาพธรรมไปตามจริง

ส่วนที่มีหลายอย่างก็คือ................สภาพธรรม

ในพระสูตรที่ว่า ....ญานเหล่านี้รวมเป็น๗๓อย่าง ไม่ใช่หมายถึงญาน๗๓ญาน
แต่มันหมายถึงสภาพธรรมที่เป็นจริง๗๓อย่าง
ความรู้เรื่องวิปัสสนา ความรู้เรื่องญาน ปัญญา และสภาพธรรมที่เป็นจริง.......ก็คือ วิชชา



เห็นโฮฮับว่าแล้วปวดขี้ คิกๆๆ โฮ่แล้วดื้ออีกต่างหาก :b1: :b1:

ปัญญา มีหลายชื่อ เช่น วิชชา วิปัสสนา ญาณ ฯลฯ เป็นปัญญาทั้งนั้น

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 20 ก.ค. 2016, 12:18 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 13 ก.พ. 2010, 17:53
โพสต์: 4999

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
โฮฮับ เขียน:
เช่นนั้น เขียน:
Quote Tipitaka:
ญาณเหล่านี้รวมเป็น ๗๓ ญาณ ในญาณทั้ง ๗๓ นี้ ญาณ ๖๗
[ข้างต้น] ทั่วไปแก่พระสาวก ญาณ ๖ [ในที่สุด] ไม่ทั่วไปด้วยพระสาวก
เป็นญาณเฉพาะพระตถาคตเท่านั้น ฉะนี้แล ฯ


ปัญญา มาก่อน ญาณมาภายหลัง
ปัญญามีหลายสิ่ง ญาณจึงมีหลายสิ่ง


ปัญญาจะเกิดได้ต้องอาศัยวิปัสสนาญาน เหตุนี้ญานจึงเกิดก่อนปัญญา

ปัญญามีอย่างเดียวคือไตรลักษณ์


ญานก็คืออย่างเดียว.......ก็คือสภาวะที่รู้สภาพธรรมไปตามจริง

ส่วนที่มีหลายอย่างก็คือ................สภาพธรรม

ในพระสูตรที่ว่า ....ญานเหล่านี้รวมเป็น๗๓อย่าง ไม่ใช่หมายถึงญาน๗๓ญาน
แต่มันหมายถึงสภาพธรรมที่เป็นจริง๗๓อย่าง
ความรู้เรื่องวิปัสสนา ความรู้เรื่องญาน ปัญญา และสภาพธรรมที่เป็นจริง.......ก็คือ วิชชา



เห็นโฮฮับว่าแล้วปวดขี้ คิกๆๆ โฮ่แล้วดื้ออีกต่างหาก :b1: :b1:

ปัญญา มีหลายชื่อ เช่น วิชชา วิปัสสนา ญาณ ฯลฯ เป็นปัญญาทั้งนั้น


พระพุทธองค์คงไม่บ้าจี้แบบเอ็งคิดหรอก ดูแล้วไม่ต่างจากตลกคาเฟ่

"เธอชื่อไรจ๊ะ"
"ชื่อเล่นหรือชื่อจริง"
"พ่อเรียกหรือแม่เรียก"
"ปากซอยหรือท้ายซอย"
"เรียกกลางวันหรือกลางคืน"

รูปภาพ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 20 ก.ค. 2016, 20:18 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


โฮฮับ เขียน:
กรัชกาย เขียน:
โฮฮับ เขียน:
เช่นนั้น เขียน:
Quote Tipitaka:
ญาณเหล่านี้รวมเป็น ๗๓ ญาณ ในญาณทั้ง ๗๓ นี้ ญาณ ๖๗
[ข้างต้น] ทั่วไปแก่พระสาวก ญาณ ๖ [ในที่สุด] ไม่ทั่วไปด้วยพระสาวก
เป็นญาณเฉพาะพระตถาคตเท่านั้น ฉะนี้แล ฯ


ปัญญา มาก่อน ญาณมาภายหลัง
ปัญญามีหลายสิ่ง ญาณจึงมีหลายสิ่ง


ปัญญาจะเกิดได้ต้องอาศัยวิปัสสนาญาน เหตุนี้ญานจึงเกิดก่อนปัญญา

ปัญญามีอย่างเดียวคือไตรลักษณ์


ญานก็คืออย่างเดียว.......ก็คือสภาวะที่รู้สภาพธรรมไปตามจริง

ส่วนที่มีหลายอย่างก็คือ................สภาพธรรม

ในพระสูตรที่ว่า ....ญานเหล่านี้รวมเป็น๗๓อย่าง ไม่ใช่หมายถึงญาน๗๓ญาน
แต่มันหมายถึงสภาพธรรมที่เป็นจริง๗๓อย่าง
ความรู้เรื่องวิปัสสนา ความรู้เรื่องญาน ปัญญา และสภาพธรรมที่เป็นจริง.......ก็คือ วิชชา



เห็นโฮฮับว่าแล้วปวดขี้ คิกๆๆ โฮ่แล้วดื้ออีกต่างหาก :b1: :b1:

ปัญญา มีหลายชื่อ เช่น วิชชา วิปัสสนา ญาณ ฯลฯ เป็นปัญญาทั้งนั้น


พระพุทธองค์คงไม่บ้าจี้แบบเอ็งคิดหรอก ดูแล้วไม่ต่างจากตลกคาเฟ่

"เธอชื่อไรจ๊ะ"
"ชื่อเล่นหรือชื่อจริง"
"พ่อเรียกหรือแม่เรียก"
"ปากซอยหรือท้ายซอย"
"เรียกกลางวันหรือกลางคืน"

รูปภาพ



ไร้สาระ ขยะเปียกรกลาน ปฏิกูลบอร์ด คิกๆๆ ตลบไปตลบมา ไม่หลักฐานอะไร :b1:

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 21 ก.ค. 2016, 08:54 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 18 ก.ย. 2011, 21:51
โพสต์: 4941


 ข้อมูลส่วนตัว


กบนอกกะลา เขียน:
asoka เขียน:
onion
ดูให้ดี สังเกตพิจารณากันให้ลึกซึ้ง ปัญญานำหน้ามาก่อนเสมอ ศีล สมาธิจึงเกิดและดีตาม
แล้วจากนั้น ปัญญา ศีล สมาธิจึงเป็นเหตุปัจจัยเกื้อหนุนกัน สนับสนุนกันขึ้นไปจนถึงความวิมุติหลุดพ้น
:b38:
ปัญญามีอยู่ 3 ขั้นตอนคือ
1.สุตมยปัญญา ปัญญาที่ได้จากการฟังการศึกษา ปัญญาข้อนี้สำคัญเป็นบาทฐานให้ปัญญาที่เกิดตามมาอีก 2 อย่างและเจริญงอกงามตาม

2.จินตมยปัญญา ปัญญาที่ได้จากการค้นคิดพิจารณาข้อธรรมที่ได้สุตตะมา ปัญามรรค 2ข้อในมรรค 8 คือสัมมาทิฏฐิ = ดู เห็น รู้ กับสัมมาสังกัปปะ=สังเกต พิจารณา ก็เริ่มเจริญขึ้นในปัญญาหมวดนี้

3.ภานามยปัญญา ปัญญาที่ได้จากการภาวนา ทำจริงอย่างเช่นการเจริญสติปัฏฐาน 4 เป็นต้น

ดั้งนั้น ตื้นๆฟังง่าย คือ ศีล สมาธิ ปัญญา

แต่ลึกๆฟังยากแต่เป็นความจริงยิ่งคือ
ปัญญา ศีล สมาธิ
:b37:

กบนอกกะลา เขียน:
ไม่เห็นต้องใช้ความลึกซึ่งอะไรเลย...ก็เห็นๆอยู่แล้วว่า..มรรคแปดนั้น..ปัญญานำ

ตรงที่ต้องใช้ความลึกซึ่ง..อโสกะกลับไม่ใช้..หรือใช้ไม่เป็น


นั้นคือ..การโยนิโสมนสิการ

อโสกะ...ครับ...การโยนิโสมนสิการ..นี้...เป็นงัยละคับ....เป็นอาการคิดอะป้าว?...


asoka เขียน:

:b41:
ถามเรื่องโยนิโสมนสิการหรือกบ

โยนิโส=ฉลาดแยบคายมีปัญญาและสติพร้อม

มนสิการ = ตั้งใจ

ลองรวมกันดู จะเห็นว่าเอาปัญญานำหน้าในการทำงานหรือเจริญมรรค
onion


ถามว่า..ทำงัย..ใช่เป็นอาการใช้ความคิดรึเปล่า?..

กลับตอบว่า..แปลว่าอะไร.. :b32: :b32:

นี้ก็ไม่รู้ว่า..ที่ตัวเองแปล...นั้นนะ...ถูกหรือผิด?..แล้วทำจริงเขาทำยังงัย... :b9: :b9:

:b12:
อ้อ!....ต้องขออภัยตอบมาแค่โยนิโสมนสิการ แต่ไม่ได้ตอบข้อถัดไปเลยทำให้กบเครียดและเกิดอารมณ์ค้าง
:b13:
โยนิโสนี่มีทั้งใช้ความคิดและไม่ใช้ความคิดนะกบ
ถ้ามีแต่สังเกตอย่างเดียวนี่ไม่ต้องใช้ความคิด เป็นการเอาสติปัญญามาตามดูตามรู้สภาวธรรมที่เกิดขึ้นและปรวนแปรไปจนสภาวธรรมเหล่านั้นดับไปหมดไปเปลี่ยนไปหลังจากนั้นจึงค่อยใช้ความคิดนึกมาพิจารณา วิเคราะห์หาเหตุหาผลสรุปผลเป็นคำพูดคำอธิบายออกมา โยนิโส โดยสังเกตนี่แหละที่จะทำให้เกิดการบรรลุธรรมจริงๆ

ส่วนโยนิโสที่ใช้ความคิดนึกไปด้วยนั้น ท่านเรียกว่า "พิจารณา" เป็นการดูไปคิดไป คนส่วนใหญ่หรือนักปฏิบัติใหม่ๆมักจะทำอย่างนี้กันเพราะสำคัญผิดว่าปัญญาต้องเกิดจากการคิดนึกเอาอย่างเดียว
โยนิโสแบบนี้จะไม่ทำให้บรรลุธรรมได้ทันที แต่ก็เป็รเหตุปัจจัยส่งต่อขึ้นไปสู่ความบรรลุธรรม

โยนิโสแบบไม่คิดนึกนั่นเป็นวิปัสสนาแท้ๆ
ส่วนโยนิโสที่ต้องคิดนึกไปด้วยนั้นเป็นวิปัสสนาเทียมบางท่านก็เรียกว่า "วิปัสสนึก"

รู้รึยังกบทีนี้
onion


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 21 ก.ค. 2016, 10:18 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 29 ต.ค. 2009, 15:06
โพสต์: 7517

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


โฮฮับ เขียน:
เช่นนั้น เขียน:
Quote Tipitaka:
ญาณเหล่านี้รวมเป็น ๗๓ ญาณ ในญาณทั้ง ๗๓ นี้ ญาณ ๖๗
[ข้างต้น] ทั่วไปแก่พระสาวก ญาณ ๖ [ในที่สุด] ไม่ทั่วไปด้วยพระสาวก
เป็นญาณเฉพาะพระตถาคตเท่านั้น ฉะนี้แล ฯ


ปัญญา มาก่อน ญาณมาภายหลัง
ปัญญามีหลายสิ่ง ญาณจึงมีหลายสิ่ง


ปัญญาจะเกิดได้ต้องอาศัยวิปัสสนาญาน เหตุนี้ญานจึงเกิดก่อนปัญญา

ปัญญามีอย่างเดียวคือไตรลักษณ์


ญานก็คืออย่างเดียว.......ก็คือสภาวะที่รู้สภาพธรรมไปตามจริง

ส่วนที่มีหลายอย่างก็คือ................สภาพธรรม

ในพระสูตรที่ว่า ....ญานเหล่านี้รวมเป็น๗๓อย่าง ไม่ใช่หมายถึงญาน๗๓ญาน
แต่มันหมายถึงสภาพธรรมที่เป็นจริง๗๓อย่าง
ความรู้เรื่องวิปัสสนา ความรู้เรื่องญาน ปัญญา และสภาพธรรมที่เป็นจริง.......ก็คือ วิชชา

wink
:b14:
ขอคำอธิบายรายละเอียดสิว่าเป็นวิปัสสนาญาณเป็นแบบไหนรู้จริงหรือมั่วนิ่มที่บอกมาที่ว่าข้างล่างด้วย
อ้างคำพูด:
ปัญญามีอย่างเดียวคือไตรลักษณ์

:b17: :b17:


แสดงโพสต์จาก:  เรียงตาม  
กลับไปยังกระทู้  [ 68 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1, 2, 3, 4, 5  ต่อไป

เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


 ผู้ใช้งานขณะนี้

่กำลังดูบอร์ดนี้: Google [Bot] และ บุคคลทั่วไป 1 ท่าน


ท่าน ไม่สามารถ โพสต์กระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ตอบกระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แก้ไขโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ลบโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แนบไฟล์ในบอร์ดนี้ได้

ค้นหาสำหรับ:
ไปที่:  
Google
ทั่วไป เว็บธรรมจักร