วันเวลาปัจจุบัน 19 ก.ค. 2025, 03:32  



เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง




กลับไปยังกระทู้  [ 40 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1, 2, 3  ต่อไป  Bookmark and Share
เจ้าของ ข้อความ
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 09 ก.ค. 2016, 08:02 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


โฮฮับ เขียน:
กรัชกาย เขียน:
ดีไม่ดีนักธรรมะบ้านเรา คงต้องกลับไปเรียนอนุบาล ให้ครูสอนอะไร คน บุคคล มนุษย์ กันใหม่ คิกๆๆๆ

เลอะเทอะเพี้ยน :b32: ถึงว่าไงว่า ศาสนาโฮฮับอุบัติขึ้นแล้วในลานแห่งนี้


รัฐบาลท่านปลดกัญชาออกจากบัญชียาเสพติดเมื่อไร แนะนำให้กรัชกายลองซักบ้อง
จะได้หายบ้า หายเพ้อ เพราะตัวเองบ้าไง ถึงได้เถียงแทนคนบ้า :b32:


เพ้อเจ้อละถนัดนัก หลักการไม่มี :b32:

คน ใช้กับคนบ้า อยู่บ้านหลังคาแดง คนทั่วๆไป คือ ไม่บ้า ไม่ใช่คน อิอิ โฮฮับเอ้ย ไอ้บ้า :b32:

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 09 ก.ค. 2016, 08:08 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 13 ก.พ. 2010, 17:53
โพสต์: 4999

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


รูปภาพ

ตอบข้อ๒. ที่ถามว่า นิโรธคือนิพพาน......ตอบว่าไม่ใช่
ก็ตามที่บอก นิโรธ คือ อสังขตะ นิพพาน คือ วิสังขาร

อรหันต์ต้องทำวิสังขารก่อน นิโรธจึงจะเกิดได้...นี่หมายถึง สอุปาทิเสสนิพพานธาตุ

ตอบข้อ๓. ที่ถามว่านิโรธ ต่างจากนิโรธสมาบัติอย่างไร ตอบว่า......
นิโรธ หมายถึง สภาวธรรมอันมีเหตุปัจจัยมาจาก วิสังขาร นั้นก็คือ อสังขตะ
นิโรธสมาบัติ หมายถึง กระบวนการของอสังขตะเพื่อการเข้าถึงองค์ฌาน(๙)

สรุปมันต่างกันที่กระบวนการ พูดให้ชัดก็คือ.....การต่อยอด :b13:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 09 ก.ค. 2016, 08:11 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


อ้างคำพูด:
โฮฮับ
นิพพาน เป็นลักษณะของกายใจที่ทรงไว้ซึ่งอินทรีย์ ๕ เมื่อมีสังขตะมากระทบ
..........อินทรีย์ ๕ คือสภาวธรรมที่ปล่อยวางสังขาร (ปฏิจจฯ)
เหตุนี้จึงเรียกนิพพานที่เป็นลักษณะของสภาวธรรมว่า ....วิสังขาร

ดูความต่าง ......

นิพพาน คือ วิสังขาร (อินทรีย์๕)

นิโรธ คือ อสังขตะ


ปนกันมั่ว

อ้างคำพูด:
กายใจ


กายใจ กับ รูปนาม เหมือนกันหรือต่างกัน

อินทรีย์ ๕ อะไร เป็นนิพพานได้

อ้างคำพูด:
นิพพาน คือ วิสังขาร (อินทรีย์๕)

นิโรธ คือ อสังขตะ


นิพพาน คือ วิสังขาร นี่ฟังได้ แต่ดันห่าไปวงเล็บ (อินทรีย์ ๕ คิกๆๆ)

อ้างคำพูด:
นิโรธ คือ อสังขตะ


ศาสดาโฮฮับ บอกความหมาย คำว่า วิสังขาร กับ อสังขตะ สิ

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 09 ก.ค. 2016, 08:34 
 
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 2
สมาชิก ระดับ 2
ลงทะเบียนเมื่อ: 27 ม.ค. 2014, 11:29
โพสต์: 64

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


โฮฮับ เขียน:
Duangrat เขียน:
กรัชกาย เขียน:
ขออนุญาตถาม คุณ Duangrat หน่อย พระอรหันต์นี่เป็นคน,ใช่คนมั้ยครับ :b14: :b10:



ขอถามกลับนะว่า มีข้อความของเราตรงไหน ที่อ่านแล้ว สงสัยว่า พระอรหันค์ เป็นหรือไม่เป็นคน


คุณ"Duangratพูดกับไอ้หนูคนนี้ ต้องตระหนักให้ดีก่อนว่า สีซอให้ควายฟังกับมานั่งตอบคำถามนายกรัชกาย
อย่างไหนจะเกิดประโยชน์กว่ากัน....

ไอ้คำถามที่มันเอามาถามคุณDuangratนั้นนะ ผมอธิบายให้มันฟังจนเมื่อยปาก มันก็ยังไม่เข้าใจ
เอาอย่างนี้ ผมถามDuangratดีกว่าว่า.......

ผมบอกว่าจะเอาคำว่า"คน"มาใช้ในกับผู้ที่กำลังศึกษาและปฏิบัติธรรมไม่ได้
เราต้องใช้คำว่า "บุคคล"

เหตุที่ใช้คำว่า"คน"ไม่ได้นั้นก็เพราะ คนมีความหมายถึงมนุษย์หลายประเภท
คนบางประเภทก็ไม่สามารถศึกษาและเข้าใจธรรมได้ในชาตินี้ ตัวอย่างเช่น คนบ้า

ด้วยเหตุนี้จึงไม่สามารถเอาคำว่า"คน"มาใช้กับการปฏิบัติได้ ต้องใช้คำว่า "บุคคล"
มิเช่นนั้นอาจทำให้เข้าใจผิดคิดว่า คนบ้าก็สามารถปฏิบัติธรรมได้

ผมถามคุณDuangrat ครับว่าเข้าใจสิ่งที่ผมสื่อให้ฟังมั้ยครับ :b13:



เข้าใจเพราะอ่านคุณโฮฮับตั้งแต่กระทู้ก่อนหน้านี้แล้ว
แต่คุณกรัชกาย แกยังแยกไม่ออก เรื่อง โวหาร กะพุทธพจน์ น่ะซิ เลย วนซ้ำไปซ้ำมา


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 09 ก.ค. 2016, 08:50 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


Duangrat เขียน:
โฮฮับ เขียน:
Duangrat เขียน:
กรัชกาย เขียน:
ขออนุญาตถาม คุณ Duangrat หน่อย พระอรหันต์นี่เป็นคน,ใช่คนมั้ยครับ :b14: :b10:



ขอถามกลับนะว่า มีข้อความของเราตรงไหน ที่อ่านแล้ว สงสัยว่า พระอรหันค์ เป็นหรือไม่เป็นคน


คุณ"Duangratพูดกับไอ้หนูคนนี้ ต้องตระหนักให้ดีก่อนว่า สีซอให้ควายฟังกับมานั่งตอบคำถามนายกรัชกาย
อย่างไหนจะเกิดประโยชน์กว่ากัน....

ไอ้คำถามที่มันเอามาถามคุณDuangratนั้นนะ ผมอธิบายให้มันฟังจนเมื่อยปาก มันก็ยังไม่เข้าใจ
เอาอย่างนี้ ผมถามDuangratดีกว่าว่า.......

ผมบอกว่าจะเอาคำว่า"คน"มาใช้ในกับผู้ที่กำลังศึกษาและปฏิบัติธรรมไม่ได้
เราต้องใช้คำว่า "บุคคล"

เหตุที่ใช้คำว่า"คน"ไม่ได้นั้นก็เพราะ คนมีความหมายถึงมนุษย์หลายประเภท
คนบางประเภทก็ไม่สามารถศึกษาและเข้าใจธรรมได้ในชาตินี้ ตัวอย่างเช่น คนบ้า

ด้วยเหตุนี้จึงไม่สามารถเอาคำว่า"คน"มาใช้กับการปฏิบัติได้ ต้องใช้คำว่า "บุคคล"
มิเช่นนั้นอาจทำให้เข้าใจผิดคิดว่า คนบ้าก็สามารถปฏิบัติธรรมได้

ผมถามคุณDuangrat ครับว่าเข้าใจสิ่งที่ผมสื่อให้ฟังมั้ยครับ :b13:



เข้าใจเพราะอ่านคุณโฮฮับตั้งแต่กระทู้ก่อนหน้านี้แล้ว
แต่คุณกรัชกาย แกยังแยกไม่ออก เรื่อง โวหาร กะพุทธพจน์ น่ะซิ เลย วนซ้ำไปซ้ำมา


ถ้ายังงั้น ถามคุณ Duangrat นะ พระอรหันต์เป็นคน หรือเป็นบุคคล มีช้อยให้เลือก

1. เป็นคน

2. เป็นบุคคล

3 อื่นๆ

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 09 ก.ค. 2016, 08:58 
 
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 2
สมาชิก ระดับ 2
ลงทะเบียนเมื่อ: 27 ม.ค. 2014, 11:29
โพสต์: 64

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
ถ้ายังงั้น ถามคุณ Duangrat นะ พระอรหันต์เป็นคน หรือเป็นบุคคล มีช้อยให้เลือก

1. เป็นคน

2. เป็นบุคคล

3 อื่นๆ



เราไม่ตอบคำถามตามchoiceที่ตั้งมาผิดๆของคุณหรอก
เพราะคุณไม่รู้ว่า
อะไรคือ โวหาร ที่ชาวบ้านใช้
อะไรคือ พุทธบัญญัติ ที่ผู้ปฏิบัติใช้เมื่อกล่าวถึงการปฏิบัติ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 09 ก.ค. 2016, 09:07 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


Duangrat เขียน:
กรัชกาย เขียน:
ถ้ายังงั้น ถามคุณ Duangrat นะ พระอรหันต์เป็นคน หรือเป็นบุคคล มีช้อยให้เลือก

1. เป็นคน

2. เป็นบุคคล

3 อื่นๆ



เราไม่ตอบคำถามตามchoiceที่ตั้งมาผิดๆของคุณหรอก
เพราะคุณไม่รู้ว่า
อะไรคือ โวหาร ที่ชาวบ้านใช้
อะไรคือ พุทธบัญญัติ ที่ผู้ปฏิบัติใช้เมื่อกล่าวถึงการปฏิบัติ



มาอีกแหละพุทธบัญญัติ คิกๆๆ

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 09 ก.ค. 2016, 09:26 
 
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 2
สมาชิก ระดับ 2
ลงทะเบียนเมื่อ: 27 ม.ค. 2014, 11:29
โพสต์: 64

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


โฮฮับ เขียน:
ตอบข้อ๒. ที่ถามว่า นิโรธคือนิพพาน......ตอบว่าไม่ใช่
ก็ตามที่บอก นิโรธ คือ อสังขตะ นิพพาน คือ วิสังขาร

อรหันต์ต้องทำวิสังขารก่อน นิโรธจึงจะเกิดได้...นี่หมายถึง สอุปาทิเสสนิพพานธาตุ

ตอบข้อ๓. ที่ถามว่านิโรธ ต่างจากนิโรธสมาบัติอย่างไร ตอบว่า......
นิโรธ หมายถึง สภาวธรรมอันมีเหตุปัจจัยมาจาก วิสังขาร นั้นก็คือ อสังขตะ
นิโรธสมาบัติ หมายถึง กระบวนการของอสังขตะเพื่อการเข้าถึงองค์ฌาน(๙)

สรุปมันต่างกันที่กระบวนการ พูดให้ชัดก็คือ.....การต่อยอด :b13:




ดังนั้น
พระอนาคามีขณะที่กำลังทำนิโรธสมาบัตด้วยพละ๕ของท่านได้อยู่ แต่ ก็ยังไม่นิโรธ ถูกไหม?


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 09 ก.ค. 2016, 12:41 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 13 ก.พ. 2010, 17:53
โพสต์: 4999

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


Duangrat เขียน:
โฮฮับ เขียน:
ตอบข้อ๒. ที่ถามว่า นิโรธคือนิพพาน......ตอบว่าไม่ใช่
ก็ตามที่บอก นิโรธ คือ อสังขตะ นิพพาน คือ วิสังขาร

อรหันต์ต้องทำวิสังขารก่อน นิโรธจึงจะเกิดได้...นี่หมายถึง สอุปาทิเสสนิพพานธาตุ

ตอบข้อ๓. ที่ถามว่านิโรธ ต่างจากนิโรธสมาบัติอย่างไร ตอบว่า......
นิโรธ หมายถึง สภาวธรรมอันมีเหตุปัจจัยมาจาก วิสังขาร นั้นก็คือ อสังขตะ
นิโรธสมาบัติ หมายถึง กระบวนการของอสังขตะเพื่อการเข้าถึงองค์ฌาน(๙)

สรุปมันต่างกันที่กระบวนการ พูดให้ชัดก็คือ.....การต่อยอด :b13:




ดังนั้น
พระอนาคามีขณะที่กำลังทำนิโรธสมาบัตด้วยพละ๕ของท่านได้อยู่ แต่ ก็ยังไม่นิโรธ ถูกไหม?


อย่าลืมว่า อนาคามียังไม่ได้นิพพาน กายใจท่านยังเป็นติดในสังขาร
เหตุนี้ นิโรธก็ยังไม่เกิด

นิพพานธาตุนั้นมีสองลักษณะ นอกจากสอุปาทิเสสนิพพานธาตุแล้ว
ก็ยังมีอนุปาทิเสสนิพพานธาตุ
......
พระอนาคามีสามารถเจริญฌาน ซึ่งไม่ต้องอาศัยอินทรีย์๕ครับ

การเจริญฌานของอนาคามี จนถึงฌาน๙ จะไม่มีวิญญานรู้ รูป เวทนา สัญญา สังขาร
กายใจท่านก็จะเป็น อสังขตะ แต่ไม่ใช่ วิสังขาร ..นี่เรียกอนุปาทิเสสนิพพานธาตุ

ด้วยเหตุนี้ ท่านจึงแยกความเป็นนิพพานออกเป็นสองลักษณะ
อย่างหนึ่งคือรู้แล้วละ รู้ว่ามีสังขตะมากระทบ แล้วจึงละ
อีกอย่างก็คือ ไม่ยอมรับรู้สังขตะที่มากระทบนั้นเลย ด้วยการเจริญฌาน

แต่ต้องบอกว่า ถ้าอนาคามีออกจากฌานเมื่อไร ความเป็นอนุปาทิเสสฯของท่านก็จะหายไปด้วย
เว้นไว้แต่พระอรหันต์ ถ้าออกจากฌานท่านก็ยังเป็นพระอรหันต์(สอุปาทิเสสฯ)เหมือนเดิม


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 09 ก.ค. 2016, 14:19 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


โฮฮับ เขียน:
Duangrat เขียน:
โฮฮับ เขียน:
ตอบข้อ๒. ที่ถามว่า นิโรธคือนิพพาน......ตอบว่าไม่ใช่
ก็ตามที่บอก นิโรธ คือ อสังขตะ นิพพาน คือ วิสังขาร

อรหันต์ต้องทำวิสังขารก่อน นิโรธจึงจะเกิดได้...นี่หมายถึง สอุปาทิเสสนิพพานธาตุ

ตอบข้อ๓. ที่ถามว่านิโรธ ต่างจากนิโรธสมาบัติอย่างไร ตอบว่า......
นิโรธ หมายถึง สภาวธรรมอันมีเหตุปัจจัยมาจาก วิสังขาร นั้นก็คือ อสังขตะ
นิโรธสมาบัติ หมายถึง กระบวนการของอสังขตะเพื่อการเข้าถึงองค์ฌาน(๙)

สรุปมันต่างกันที่กระบวนการ พูดให้ชัดก็คือ.....การต่อยอด :b13:




ดังนั้น
พระอนาคามีขณะที่กำลังทำนิโรธสมาบัตด้วยพละ๕ของท่านได้อยู่ แต่ ก็ยังไม่นิโรธ ถูกไหม?


อย่าลืมว่า อนาคามียังไม่ได้นิพพาน กายใจท่านยังเป็นติดในสังขาร
เหตุนี้ นิโรธก็ยังไม่เกิด

นิพพานธาตุนั้นมีสองลักษณะ นอกจากสอุปาทิเสสนิพพานธาตุแล้ว
ก็ยังมีอนุปาทิเสสนิพพานธาตุ
......
พระอนาคามีสามารถเจริญฌาน ซึ่งไม่ต้องอาศัยอินทรีย์๕ครับ

การเจริญฌานของอนาคามี จนถึงฌาน๙ จะไม่มีวิญญานรู้ รูป เวทนา สัญญา สังขาร
กายใจท่านก็จะเป็น อสังขตะ แต่ไม่ใช่ วิสังขาร ..นี่เรียกอนุปาทิเสสนิพพานธาตุ

ด้วยเหตุนี้ ท่านจึงแยกความเป็นนิพพานออกเป็นสองลักษณะ
อย่างหนึ่งคือรู้แล้วละ รู้ว่ามีสังขตะมากระทบ แล้วจึงละ
อีกอย่างก็คือ ไม่ยอมรับรู้สังขตะที่มากระทบนั้นเลย ด้วยการเจริญฌาน

แต่ต้องบอกว่า ถ้าอนาคามีออกจากฌานเมื่อไร ความเป็นอนุปาทิเสสฯของท่านก็จะหายไปด้วย
เว้นไว้แต่พระอรหันต์ ถ้าออกจากฌานท่านก็ยังเป็นพระอรหันต์(สอุปาทิเสสฯ)เหมือนเดิม


อย่าลืมว่า อนาคามียังไม่ได้นิพพาน กายใจท่านยังเป็นติดในสังขาร
เหตุนี้ นิโรธก็ยังไม่เกิด


สาระดีจริงๆนะ คุณ Duangrat

อนาคามียังไม่ได้นิพพาน คิกๆๆ กายใจท่านยังติดในสังขาร อิอิ

เจริญพวงอีกแล้วครับท่าน :b32:

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 09 ก.ค. 2016, 14:36 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 14 ก.ค. 2008, 21:56
โพสต์: 3925

ชื่อเล่น: เช่นนั้น
อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


รูปภาพ

โฮฮับ ...แปะรูปมาน่ะ อ่านออกไหม
หัวข้อขึ้นด้วย นิโรธสมาบัติ ......
ไม่ใช่ขึ้นด้วย นิพพาน
เขาถามเรื่อง นิโรธสมาบัติ .......... :b32: :b32:

.....................................................
ธรรมะอันยิ่งใหญ่ ไม่อาจเอื้อนเอ่ย
บัญญัติ เป็นเพียงสิ่งต่ำต้อยแบกรับความยิ่งใหญ่


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 09 ก.ค. 2016, 15:14 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 14 ก.ค. 2008, 21:56
โพสต์: 3925

ชื่อเล่น: เช่นนั้น
อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


1.นิโรธสมาบัติ คือนิพพาน หรือไม่ใช่นิพพาน
>นิโรธสมาบัติ เป็นชื่อเรียก การเข้าถึงการตั้งอยู่ ในความว่าสักว่าไม่มีเนวสัญญานาสัญญายตนะ เป็นเพียงบัญญัติชื่อว่า นิโรธ เพราะเหตุสักว่าไม่มี แต่ไม่ใช่นิพพาน.

2.นิโรธ คือนิพพาน?
นิโรธ ในอริยสัจจธรรม 4 คือความดับทุกข์.
เมื่อจิตดำเนินไปด้วยทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา จนสุดรอบ กิเลสเป็นของดับเย็นไม่ทำให้จิตเร่าร้อน ดิ้นรน กลับกลอก กระสับกระส่าย บังเกิดขึ้นได้อีก คือบรรลุนิพพาน ทุกข์ทั้งหลายทั้งปวงถึงความดับ คือนิโรธ.

3.นิโรธ ต่างจาก นิโรธสมาบัติอย่างไร
ดู คำตอบจาก 1 และ 2.

จาก 1. ผู้ที่จะถึงแล้วซึ่งความดับ หรือสักว่าไม่มีเนวสัญญานาสัญญายตนะ จำเป็นจะต้องเป็นผู้ที่ชำนาญใน ฌานสมาบัติ 8 มาก่อน จะต้องเป็นผู้ที่เคยเข้าอรูปสัญญาสมาบัติ เนวสัญญานาสัญญายตนะมาก่อน
ดังนั้นผู้ที่ ไม่สามารถเข้านิโรธสมาบัติได้ คือ ปุถุชนทั้งหมด พระโสดาบัน พระสกทาคามี และพระอนาคามี พระอรหันต์ผู้เป็นสุกขวิปปัสสก.
ผู้ที่สามารถเข้านิโรธสมาบัติได้ คือ พระอนาคามีผู้ได้สมาบัติ ๘ และพระขีณาสพ.

สัตว์ที่มีขันธ์ 5 จึงสามารถเข้านิโรธสมาบัติได้ สัตว์ที่มีขันธ์ 4 ไม่สามารถเข้านิโรธสมาบัติได้ เพราะฉนั้น สัตว์ผู้บังเกิดด้วยอรูปสัญญาจึงไม่อาจเข้านิโรธสมาบัติได้

นิโรธสมาบัติ เป็นสังขตะ หรืออสังขตะ....
ไม่อาจกล่าวว่านิโรธสมาบัติเป็นสังขตะ หรืออสังขตะ เพราะไม่ใช่สภาพ แต่เป็นเพียงการเข้าถึงด้วยสักว่าไม่มีเนวสัญญานาสัญญายตนะ ด้วยอำนาจแห่งการเข้านิโรธ.
เมื่อไม่อาจกล่าวได้ว่า เป็นสังขตะ หรืออสังขตะ พึงกล่าวว่าเป็นเพียงนิปผันนะ คือสำเร็จแล้ว ไม่ควรกล่าวว่า เป็นอนิปผันนะ คือยังไม่สำเร็จ.

นิโรธสมาบัติ เป็นเพียงสมาบัติอันสงบแล้ว อันพระอริยะเสพแล้ว มิได้ชื่อว่านิพพานในทิฏฐธรรม.

.....................................................
ธรรมะอันยิ่งใหญ่ ไม่อาจเอื้อนเอ่ย
บัญญัติ เป็นเพียงสิ่งต่ำต้อยแบกรับความยิ่งใหญ่


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 09 ก.ค. 2016, 15:27 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


อนุปุพพวิหาร ธรรมเป็นเครื่องอยู่โดยลำดับ, ธรรมเครื่องอยู่ที่ประณีตต่อกันขึ้นไปโดยลำดับ มี ๙ คือ รูปฌาน ๔ อรูปฌาน ๔ และ สัญญาเวทยิตนิโรธ

นิโรธ ความดับทุกข์ คือ ดับตัณหาได้สิ้นเชิง, ภาวะปลอดทุกข์ เพราะไม่มีทุกข์ที่จะเกิดขึ้นได้ หมายถึงพระนิพพาน

นิโรธสมาบัติ การเข้านิโรธ คือ ดับสัญญาความจำได้หมายรู้ และเวทนา การเสวยอารมณ์ เรียกเต็มว่า เข้าสัญญาเวทยินนิโรธ, พระอรหันต์ และพระอนาคามีที่ได้สมาบัติ ๘ แล้วจึงจะเข้านิโรธสมาบัติได้ (ข้อ ๙ ในอนุปุพพวิหาร ๙)

นิโรธสัญญา ความสำคัญหมายในนิโรธ คือ กำหนดหมายการดับตัณหาอันเป็นอริยผลว่า เป็นธรรมละเอียดประณีต

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 09 ก.ค. 2016, 15:31 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


นำศัพท์ ความหมายขั้นสูงให้ดู ดูแล้วไม่ตรงความคิดโฮฮับเลย เพราะจิตใจต้องบริสุทธิ์จากกิเลส ของโฮฮับนี่จิตหมดกิเลสไม่ได้ จะทำให้จิตหมดไปด้วย เพราะกิเลสเป็นปัจจัยให้เกิดจิต ว่าเข้าไปนั่น



สอุปาทิเสสนิพพาน นิพพานยังมีอุปาทิเหลือ , ดับกิเลสแต่ยังมีเบญจขันธ์เหลือ คือ นิพพานของพระอรหันต์ผู้ยังมีชีวิตอยู่, นิพพานในแง่ที่เป็นภาวะดับกิเลส คือ โลภะ โทสะ โมหะ เทียบ อนุปาทิเสสนิพพาน

อนุปาทิเสสนิพพาน นิพพานไม่มีอุปาทิเหลือ , ดับกิเลสไม่มีเบญจขันธ์เหลือ คือ สิ้นทั้งกิเลส และชีวิต หมายถึงพระอรหันต์สิ้นชีวิต, นิพพานในแง่ที่เป็นภาวะดับภพ


สอุปาทิเสสบุคคล บุคคลผู้ยังมีเชื้อกิเลสเหลืออยู่, ผู้ยังไม่สิ้นอุปาทาน ได้แก่ พระเสขะคือพระอริยบุคคลทั้งหมด ยกเว้นพระอรหันต์ เทียบ อนุปาทิเสสบุคคล

อนุปาทิเสสบุคคล บุคคลผู้ไม่มีเชื้อกิเลสเหลือ, ผู้หมดอุปาทานสิ้นเชิง ได้แก่ พระอเสขะ คือ พระอรหันต์

อรหันต์ ผู้สำเร็จธรรมวิเศษสูงสุดในพระพุทธศาสนา, พระอริยบุคคลขั้นสูงสุด ผู้ได้บรรลุอรหัตผล

อรหันตขีณาสพ พระอรหันต์ผู้สิ้นอาสวะแล้ว ใช้สำหรับพระสาวก, สำหรับพระพุทธเจ้า ใช้คำว่า อรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า พระอรหันต์ผู้ตรัสรู้ชอบเอง

อรหัต ความเป็นพระอรหันต์, ชื่อมรรคผลขั้นสูงสุดในพระพุทธศาสนา ซึ่งตัดกิเลสในสันดานได้เด็ดขาด, เขียนอย่างคำเดิมเป็น อรหัตต์

อรหัตตผล ผลคือการสำเร็จเป็นพระอรหันต์, ผลคือความเป็นพระอรหันต์, ผลที่ได้จากการละสังโยชน์ทั้งหมดอันสืบเนื่องมาจากอรหัตมรรค ทำให้เป็นพระอรหันต์

อรหัตตมรรค ทางปฏิบัติเพื่อบรรลุผล คือ ความเป็น เป็นพระอรหันต์, ญาณคือความรู้เป็นเหตุละ สังโยชน์ได้ทั้ง ๑๐

อรหัตตวิโมกข์ ความพ้นจากกิเลสด้วยอรหัต หรือเพราะสำเร็จอรหัต คือหลุดพ้นขั้นละกิเลสได้สิ้นเชิงและเด็ดขาด สำเร็จเป็นพระอรหันต์

อรหันต์ ผู้สำเร็จธรรมวิเศษสูงสุดในพระพุทธศาสนา, พระอริยบุคคลขั้นสูงสุด ผู้ได้บรรลุอรหัตผล

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 09 ก.ค. 2016, 18:29 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 13 ก.พ. 2010, 17:53
โพสต์: 4999

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


เช่นนั้น เขียน:
1.นิโรธสมาบัติ คือนิพพาน หรือไม่ใช่นิพพาน
>นิโรธสมาบัติ เป็นชื่อเรียก การเข้าถึงการตั้งอยู่ ในความว่าสักว่าไม่มีเนวสัญญานาสัญญายตนะ เป็นเพียงบัญญัติชื่อว่า นิโรธ เพราะเหตุสักว่าไม่มี แต่ไม่ใช่นิพพาน.


นิโรธ เป็นพุทธพจน์ ความหมายก็คือกายใจที่ไม่ยึดมั่นในสังขตะ...เป็นอสังขตะ
สมาบัติเป็นโวหาร หมายถึงการเข้าถึง.....ในที่นี้คือองค์ฌาน(ชาน)

และสัญญานาสัญญายตนะ......ไม่ใช่นิโรธสมาบัติ แต่เป็น๑ในอรูปฌาน๔

ที่เป็นนิโรธสมาบัติก็คือ.......สัญญาเวทยิตนิโรธ
เช่นนั้น เขียน:

2.นิโรธ คือนิพพาน?
นิโรธ ในอริยสัจจธรรม 4 คือความดับทุกข์.
เมื่อจิตดำเนินไปด้วยทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา จนสุดรอบ กิเลสเป็นของดับเย็นไม่ทำให้จิตเร่าร้อน ดิ้นรน กลับกลอก กระสับกระส่าย บังเกิดขึ้นได้อีก คือบรรลุนิพพาน ทุกข์ทั้งหลายทั้งปวงถึงความดับ คือนิโรธ.


นิโรธไม่ได้แปลว่าความดับทุกข์ ทุกข์มันดับไม่ได้ พระพุทธองค์สอนให้ดับเหตุแห่งทุกข์(สมุทัย)
พระอรหันต์ก็ไม่สามารถดับทุกข์ได้ท่านจะต้องอยู่กับทุกข์ ไปจนกว่าจะปรินิพพาน
แต่ทุกข์ของพระอรหันต์จะหมดไปพร้อมกันการปรินิพพานของท่าน

เช่นนั้น เขียน:

3.นิโรธ ต่างจาก นิโรธสมาบัติอย่างไร
ดู คำตอบจาก 1 และ 2.

จาก 1. ผู้ที่จะถึงแล้วซึ่งความดับ หรือสักว่าไม่มีเนวสัญญานาสัญญายตนะ จำเป็นจะต้องเป็นผู้ที่ชำนาญใน ฌานสมาบัติ 8 มาก่อน จะต้องเป็นผู้ที่เคยเข้าอรูปสัญญาสมาบัติ เนวสัญญานาสัญญายตนะมาก่อน
ดังนั้นผู้ที่ ไม่สามารถเข้านิโรธสมาบัติได้ คือ ปุถุชนทั้งหมด พระโสดาบัน พระสกทาคามี และพระอนาคามี พระอรหันต์ผู้เป็นสุกขวิปปัสสก.
ผู้ที่สามารถเข้านิโรธสมาบัติได้ คือ พระอนาคามีผู้ได้สมาบัติ ๘ และพระขีณาสพ.

สัตว์ที่มีขันธ์ 5 จึงสามารถเข้านิโรธสมาบัติได้ สัตว์ที่มีขันธ์ 4 ไม่สามารถเข้านิโรธสมาบัติได้ เพราะฉนั้น สัตว์ผู้บังเกิดด้วยอรูปสัญญาจึงไม่อาจเข้านิโรธสมาบัติได้


เช่นนั้นเมายานัตถ์แล้วครับ! เนวสัญญานาสัญญายตนะ เป็นอรูปฌานในฌาน๘
ฌาน๘ปุถุชนทั่วไปก็สามารถทำได้ ส่วนใหญ่พวกโยคีในอินเดียเขาก็ทำฌาน๘นี่กัน

ประเด็นมันอยู่ที่........ผู้ที่จะเข้านิโรธสมาบัติได้นั้นจะต้องเป็นผู้มีปัญญา(เน้นว่ามีปัญญา)
และดับกิเลสสังโยชน์เบื้องต่ำทั้งห้าแล้วเท่านั้น


ไอ้สมาบัติ๘ ใครๆก็สามารถทำได้ เพียงแต่จะเข้า สัญญาเวทยิทนิโรธไม่ได้เพราะขาดปัญญา
และยังไม่ดับกิเลสเบื้องต่ำทั้งห้านั้นเอง

เช่นนั้น เขียน:
นิโรธสมาบัติ เป็นสังขตะ หรืออสังขตะ....
ไม่อาจกล่าวว่านิโรธสมาบัติเป็นสังขตะ หรืออสังขตะ เพราะไม่ใช่สภาพ แต่เป็นเพียงการเข้าถึงด้วยสักว่าไม่มีเนวสัญญานาสัญญายตนะ ด้วยอำนาจแห่งการเข้านิโรธ.
เมื่อไม่อาจกล่าวได้ว่า เป็นสังขตะ หรืออสังขตะ พึงกล่าวว่าเป็นเพียงนิปผันนะ คือสำเร็จแล้ว ไม่ควรกล่าวว่า เป็นอนิปผันนะ คือยังไม่สำเร็จ.

นิโรธสมาบัติ เป็นเพียงสมาบัติอันสงบแล้ว อันพระอริยะเสพแล้ว มิได้ชื่อว่านิพพานในทิฏฐธรรม.

พูดแบบนี่ก็เพราะไม่เข้าใจว่าลักษณะของพุทธบัญญัติ ถ้ากายใจของผู้เข้าสัญญาเวทยิทนิโรธ
ยังทรงอยู่ ท่านเรียกว่า ธรรมทิฐิ ยังมีการตั้งอยู่ของธรรม ธรรมก็คือกายใจ
ถ้าธรรมหรือกายใจยังตั้งอยู่(มีชีวิต) ท่านกล่าวกายใจนั้นเป็นอสังขตะลักษณะ

ปล. เตือนเช่นนั้นว่าอย่าเคลิ้มเพราะที่พูดๆกันอยู่ มันเป็นเรื่องของสาวก
หาใช่คำสอนของพระพุทธองค์ ....จะพูดจะจามันต้องหัดรู้จักเปรียบพุทธพจน์
มิเช่นนั้นจะคิดว่าสาวกเป็นพระศาสดาไป


แสดงโพสต์จาก:  เรียงตาม  
กลับไปยังกระทู้  [ 40 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1, 2, 3  ต่อไป

เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


 ผู้ใช้งานขณะนี้

่กำลังดูบอร์ดนี้: ไม่มีสมาชิก และ บุคคลทั่วไป 1 ท่าน


ท่าน ไม่สามารถ โพสต์กระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ตอบกระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แก้ไขโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ลบโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แนบไฟล์ในบอร์ดนี้ได้

ค้นหาสำหรับ:
ไปที่:  
Google
ทั่วไป เว็บธรรมจักร