วันเวลาปัจจุบัน 17 ก.ค. 2025, 18:58  



เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง




กลับไปยังกระทู้  [ 132 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1, 2, 3, 4, 5 ... 9  ต่อไป  Bookmark and Share
เจ้าของ ข้อความ
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 10 มิ.ย. 2016, 16:02 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


Rosarin เขียน:
กรัชกาย เขียน:
ตย. ประมวลผลภวังคจิต (กิเลส กรรม วิบาก) ที่แสดงตัวออกมา

อ้างคำพูด:
เวลาผมนั่งสมาธิ พอภาวนาไปซักพัก .... จะเกิดอาการขนลุกเย็นทั้งตัว แล้วหลังจากนั้นก็จะมีภาพ คน สัตว์ แมลง ที่เราเคยทำร้ายเคยทำให้เค้าตาย หรือเจ็บลอยมาให้เห็น คือ แปลกใจว่า บางเรื่องเป็นเรื่องที่นานมากบางเรื่องเป็นเรื่องสมัยเด็กๆอยู่ด้วยซ้ำ ซึ่งบางทีนึกถึงยังนึกไม่ออกเลย เพราะนานมาก แต่พอมานั่งสมาธิ ก็ลอยมาให้เห็นเฉยเลย



วิบากของกุศลกรรมก็ทำนองเดียวกัน

:b32:
อย่างที่ยกตัวอย่างมาเขาไม่เรียกวิบากกรรมหรอกจ้ะ
:b1:
วิบากคือผลของเหตุปัจจัยที่รู้ผ่านอายตนะ6ใช่หรือไม่
เห็นเป็นผลของกรรม
ได้ยินเป็นผลของกรรม
ได้กลิ่นเป็นผลของกรรม
รู้รสเป็นผลของกรรม
รู้สึกกระทบสัมผัสเป็นผลของกรรม
:b12:
แล้วการนั่งหลับตามีจักขุปสาทะไหมคะตอบแทนเลยไม่มีก็แค่นั่งแล้วก็คิดปรุงแต่งกิเลสชัดๆ
:b16:
สภาวะที่เข้าสู่ภวังค์แบบมีสติรู้ตัวทั่วพร้อมน่ะโปร่งโล่งเบาเย็นสบายไม่ต้องคิดอะไรให้ปวดหมองน๊า



อ้างคำพูด:
จากนั้นก็จะมีภาพ ....สัตว์ แมลง ที่เราเคยทำร้ายเคยทำให้เค้าตาย หรือเจ็บลอยมาให้เห็น คือ แปลกใจว่า บางเรื่องเป็นเรื่องที่นานมาก บางเรื่องเป็นเรื่องสมัยเด็กๆอยู่ด้วยซ้ำ ซึ่งบางทีนึกถึงยังนึกไม่ออกเลย เพราะนานมาก


คุณโรสเสียเวลาเปล่า นั่นล่ะ คือ ผล (วิบาก) ของกรรม (กิเลส กรรม วิบาก = วัฏฏะ 3)

กรรม (การกระทำ) 3 อย่าง คือ กายกรรม (ทำทางกาย) วจีกรรม (ทำทางวาจา) มโนกรรม (ทำทางใจ = เจตนา)

ทางกาย ทางวาจา พอเห็นอยู่ แต่ทางใจนี่ละเอียดเห็นยาก แต่สำคัญที่สุด เป็นต้นเรื่องของกายกรรม วจีกรรม

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 10 มิ.ย. 2016, 16:08 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
โฮฮับ เขียน:
กรัชกาย เขียน:
อ้างคำพูด:
ก็เป็นนเรื่องลักษณะของสภาพธรรมไง



โฮฮับ ยกตัวอย่างลักษณะสภาพธรรมที่ว่าสิ


ภวังค์ เป็นชื่อของสภาพธรรม
ส่วนลักษณะของภวังค์ ก็คือ ลักษณะของสภาพธรรม
เช่น ในขณะที่กายใจไม่มีอะไรมากระทบที่ทวารทั้งหก(หลับสนิท)
นี่แหล่ะคือสภาพธรรมของ ภวังค์

กรัชกาย เขียน:

โฮฮับว่า พระพุทธเจ้าสอนคนด้วยภาษาอะไร ? :b14:


พระพุทธองค์สื่อสารกับสาวกด้วยภาษามคธหรือบาลี
พระองค์ใช้ภาษาบาลี อธิบายพุทธพจน์ที่พระพุทธองค์ทรงบัญญัติ(ตั้งชื่อธรรม)
พูดให้ชัดก็คือทรงค้นพบสภาพธรรมที่เป็นจริงแล้วทรงตั้งชื่อธรรมเหล่านั้น

สำเหนียกให้ดีว่า บาลีกับพุทธพจน์มันคนละเรื่อง
จะเอาพุทธพจน์มาแปลไทยไม่ได้
นอกเสียแต่ว่าจะแปลบาลีที่ใช้อธิบายพุทธพจน์



โฮฮับพูดขัดกันอยู่ในตัว

เอานะ เอาที่โฮฮับชอบพูดบ่อยๆ นะ

"โพธิปกฺขิยธรรม" โฮฮับว่าไปสิเป็นอะไร



ถามไม่ตอบ คิกๆๆๆ

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 10 มิ.ย. 2016, 20:05 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 29 ต.ค. 2009, 15:06
โพสต์: 7517

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
Rosarin เขียน:
กรัชกาย เขียน:
ตย. ประมวลผลภวังคจิต (กิเลส กรรม วิบาก) ที่แสดงตัวออกมา

อ้างคำพูด:
เวลาผมนั่งสมาธิ พอภาวนาไปซักพัก .... จะเกิดอาการขนลุกเย็นทั้งตัว แล้วหลังจากนั้นก็จะมีภาพ คน สัตว์ แมลง ที่เราเคยทำร้ายเคยทำให้เค้าตาย หรือเจ็บลอยมาให้เห็น คือ แปลกใจว่า บางเรื่องเป็นเรื่องที่นานมากบางเรื่องเป็นเรื่องสมัยเด็กๆอยู่ด้วยซ้ำ ซึ่งบางทีนึกถึงยังนึกไม่ออกเลย เพราะนานมาก แต่พอมานั่งสมาธิ ก็ลอยมาให้เห็นเฉยเลย



วิบากของกุศลกรรมก็ทำนองเดียวกัน

:b32:
อย่างที่ยกตัวอย่างมาเขาไม่เรียกวิบากกรรมหรอกจ้ะ
:b1:
วิบากคือผลของเหตุปัจจัยที่รู้ผ่านอายตนะ6ใช่หรือไม่
เห็นเป็นผลของกรรม
ได้ยินเป็นผลของกรรม
ได้กลิ่นเป็นผลของกรรม
รู้รสเป็นผลของกรรม
รู้สึกกระทบสัมผัสเป็นผลของกรรม
:b12:
แล้วการนั่งหลับตามีจักขุปสาทะไหมคะตอบแทนเลยไม่มีก็แค่นั่งแล้วก็คิดปรุงแต่งกิเลสชัดๆ
:b16:
สภาวะที่เข้าสู่ภวังค์แบบมีสติรู้ตัวทั่วพร้อมน่ะโปร่งโล่งเบาเย็นสบายไม่ต้องคิดอะไรให้ปวดหมองน๊า



อ้างคำพูด:
จากนั้นก็จะมีภาพ ....สัตว์ แมลง ที่เราเคยทำร้ายเคยทำให้เค้าตาย หรือเจ็บลอยมาให้เห็น คือ แปลกใจว่า บางเรื่องเป็นเรื่องที่นานมาก บางเรื่องเป็นเรื่องสมัยเด็กๆอยู่ด้วยซ้ำ ซึ่งบางทีนึกถึงยังนึกไม่ออกเลย เพราะนานมาก


คุณโรสเสียเวลาเปล่า นั่นล่ะ คือ ผล (วิบาก) ของกรรม (กิเลส กรรม วิบาก = วัฏฏะ 3)

กรรม (การกระทำ) 3 อย่าง คือ กายกรรม (ทำทางกาย) วจีกรรม (ทำทางวาจา) มโนกรรม (ทำทางใจ = เจตนา)

ทางกาย ทางวาจา พอเห็นอยู่ แต่ทางใจนี่ละเอียดเห็นยาก แต่สำคัญที่สุด เป็นต้นเรื่องของกายกรรม วจีกรรม


tongue
กุสลาธัมมา/อกุสลาธัมมา/อัพยากตาธัมมา
เป็นผู้ที่ฉลาดในขันธ์ในธาตุในอายตนะ6ไหม
กุศลกรรม=จิต+กุศลเจตสิก+รูป
อกุศลกรรม=จิต+อกุศลเจตสิก+รูป
มีอัตตา=จิตวิปลาศ+สัญญาวิปลาศ+ทิฐิวิปลาศ
จำผิดว่ามีตัวตนสัญญาเดิมจึงปรากฎนิมิตให้คิดผิดไปเรื่อยๆ
:b32: :b32:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 10 มิ.ย. 2016, 20:35 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


Rosarin เขียน:
กรัชกาย เขียน:
Rosarin เขียน:
กรัชกาย เขียน:
ตย. ประมวลผลภวังคจิต (กิเลส กรรม วิบาก) ที่แสดงตัวออกมา

อ้างคำพูด:
เวลาผมนั่งสมาธิ พอภาวนาไปซักพัก .... จะเกิดอาการขนลุกเย็นทั้งตัว แล้วหลังจากนั้นก็จะมีภาพ คน สัตว์ แมลง ที่เราเคยทำร้ายเคยทำให้เค้าตาย หรือเจ็บลอยมาให้เห็น คือ แปลกใจว่า บางเรื่องเป็นเรื่องที่นานมากบางเรื่องเป็นเรื่องสมัยเด็กๆอยู่ด้วยซ้ำ ซึ่งบางทีนึกถึงยังนึกไม่ออกเลย เพราะนานมาก แต่พอมานั่งสมาธิ ก็ลอยมาให้เห็นเฉยเลย



วิบากของกุศลกรรมก็ทำนองเดียวกัน

:b32:
อย่างที่ยกตัวอย่างมาเขาไม่เรียกวิบากกรรมหรอกจ้ะ
:b1:
วิบากคือผลของเหตุปัจจัยที่รู้ผ่านอายตนะ6ใช่หรือไม่
เห็นเป็นผลของกรรม
ได้ยินเป็นผลของกรรม
ได้กลิ่นเป็นผลของกรรม
รู้รสเป็นผลของกรรม
รู้สึกกระทบสัมผัสเป็นผลของกรรม
:b12:
แล้วการนั่งหลับตามีจักขุปสาทะไหมคะตอบแทนเลยไม่มีก็แค่นั่งแล้วก็คิดปรุงแต่งกิเลสชัดๆ
:b16:
สภาวะที่เข้าสู่ภวังค์แบบมีสติรู้ตัวทั่วพร้อมน่ะโปร่งโล่งเบาเย็นสบายไม่ต้องคิดอะไรให้ปวดหมองน๊า



อ้างคำพูด:
จากนั้นก็จะมีภาพ ....สัตว์ แมลง ที่เราเคยทำร้ายเคยทำให้เค้าตาย หรือเจ็บลอยมาให้เห็น คือ แปลกใจว่า บางเรื่องเป็นเรื่องที่นานมาก บางเรื่องเป็นเรื่องสมัยเด็กๆอยู่ด้วยซ้ำ ซึ่งบางทีนึกถึงยังนึกไม่ออกเลย เพราะนานมาก


คุณโรสเสียเวลาเปล่า นั่นล่ะ คือ ผล (วิบาก) ของกรรม (กิเลส กรรม วิบาก = วัฏฏะ 3)

กรรม (การกระทำ) 3 อย่าง คือ กายกรรม (ทำทางกาย) วจีกรรม (ทำทางวาจา) มโนกรรม (ทำทางใจ = เจตนา)

ทางกาย ทางวาจา พอเห็นอยู่ แต่ทางใจนี่ละเอียดเห็นยาก แต่สำคัญที่สุด เป็นต้นเรื่องของกายกรรม วจีกรรม



กุสลาธัมมา/อกุสลาธัมมา/อัพยากตาธัมมา
เป็นผู้ที่ฉลาดในขันธ์ในธาตุในอายตนะ6ไหม
กุศลกรรม=จิต+กุศลเจตสิก+รูป
อกุศลกรรม=จิต+อกุศลเจตสิก+รูป
มีอัตตา=จิตวิปลาศ+สัญญาวิปลาศ+ทิฐิวิปลาศ
จำผิดว่ามีตัวตนสัญญาเดิมจึงปรากฎนิมิตให้คิดผิดไปเรื่อยๆ


อ้างคำพูด:
กุสลาธัมมา/อกุสลาธัมมา/อัพยากตาธัมมา


นี่ กุสลาธัมมา ...

https://www.youtube.com/watch?v=kRodBjnWGMo

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 10 มิ.ย. 2016, 20:49 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 29 ต.ค. 2009, 15:06
โพสต์: 7517

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


Kiss
พระอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงตรัสรู้ความจริง
และฝึกบุรุษที่สมควรฝึกได้ด้วยการเทศนาธรรม
ผู้ที่ถูกฝึกสมควรฟังค่อยๆเข้าใจถูกต้องทีละนิด
จากไม่รู้ค่อยๆสะสมปัญญาทีละน้อยนานแค่ไหน
เข้าใจรึเปล่าคือต้องรู้ตัวว่าตนมีสัญญาวิปลาศไหม
เพราะตายไปสัญญาเดิมที่เป็นสัญญาวิปลาศตามไปน๊า
ฟังให้มากเพื่อเข้าใจความจริงอย่าจำแต่คำต่างๆตายแล้วก็ลืม
:b32:
https://m.youtube.com/watch?v=bU3_3sP2-4g


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 11 มิ.ย. 2016, 15:20 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 14 ก.ค. 2008, 21:56
โพสต์: 3925

ชื่อเล่น: เช่นนั้น
อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


ภวังคจิต เป็นชื่อเรียกสภาวะของจิตซึ่งอยู่ในสภาพไม่รับอารมณ์ เช่นคนนอนหลับสนิท หรือถูกวางยาสลบ
หรือหมดสติไม่รู้สึกตัว หรือขณะที่จิตอยู่ช่วงรอยต่อของความเกิดความดับไปกับอารมณ์

จะไม่กล่าวว่าภวังคจิตมีความเกิดดับตลอดเวลา แต่จะกล่าวว่าภวังคจิตมีความทรงตัวไม่รับอารมณ์เท่านั้น
แต่จะกล่าวการเกิดการดับของจิต>เกิดดับไปทีละอารมณ์

จิตโดยสภาวะไม่มีการเกิดการดับ มีแต่การเคลื่อนไปในอารมณ์ทั้งหลาย
การทรงอยู่
การเคลื่อนไป
การเข้าถึงรู้อารมณ์

:)) ภวังคจิต จะกล่าวได้ว่า เป็นสภาวะจิตเดิมของอัตตา หรือของสัตว์โลกที่มีอนุสัยต่างๆนอนเนื่องอยู่ก็ได้

.....................................................
ธรรมะอันยิ่งใหญ่ ไม่อาจเอื้อนเอ่ย
บัญญัติ เป็นเพียงสิ่งต่ำต้อยแบกรับความยิ่งใหญ่


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 11 มิ.ย. 2016, 17:23 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 13 ก.พ. 2010, 17:53
โพสต์: 4999

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


เช่นนั้น เขียน:
ภวังคจิต เป็นชื่อเรียกสภาวะของจิตซึ่งอยู่ในสภาพไม่รับอารมณ์ เช่นคนนอนหลับสนิท หรือถูกวางยาสลบ
หรือหมดสติไม่รู้สึกตัว หรือขณะที่จิตอยู่ช่วงรอยต่อของความเกิดความดับไปกับอารมณ์

จิตไม่ใช่ตัวรับรู้อารมณ์ ตัวรับรู้อารมณ์ท่านเรียกว่า ธาตุรู้....นั้นก็กายใจนั้นเอง
กายเป็นผู้รับความรู้สึก(อายตนะภายนอก)
ส่วนใจเป็นผู้รู้ความรู้สึก ..อารมณ์

เช่นนั้น เขียน:
จะไม่กล่าวว่าภวังคจิตมีความเกิดดับตลอดเวลา แต่จะกล่าวว่าภวังคจิตมีความทรงตัวไม่รับอารมณ์เท่านั้น
แต่จะกล่าวการเกิดการดับของจิต>เกิดดับไปทีละอารมณ์


ไม่ใช่การไม่รับอารมณ์ แต่จริงแล้วในขณะนั้นกายใจไม่รับรู้องค์ธรรมในปฏิจจสมุปบาท คือ วิญญาน
เมื่อวิญญานในปฏิจจฯทำหน้าทีไม่ได้ ......นามรูป ผัสสะฯลฯ ย่อมเกิดไม่ได้ อารมณ์ย่อมไม่มีไปโดยปริยาย

เช่นนั้น เขียน:
จิตโดยสภาวะไม่มีการเกิดการดับ มีแต่การเคลื่อนไปในอารมณ์ทั้งหลาย
การทรงอยู่
การเคลื่อนไป
การเข้าถึงรู้อารมณ์

:)) ภวังคจิต จะกล่าวได้ว่า เป็นสภาวะจิตเดิมของอัตตา หรือของสัตว์โลกที่มีอนุสัยต่างๆนอนเนื่องอยู่ก็ได้


สักกายะทิฐิเต็มๆ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 11 มิ.ย. 2016, 18:07 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 14 ก.ค. 2008, 21:56
โพสต์: 3925

ชื่อเล่น: เช่นนั้น
อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


โฮฮับ เขียน:
เช่นนั้น เขียน:
ภวังคจิต เป็นชื่อเรียกสภาวะของจิตซึ่งอยู่ในสภาพไม่รับอารมณ์ เช่นคนนอนหลับสนิท หรือถูกวางยาสลบ
หรือหมดสติไม่รู้สึกตัว หรือขณะที่จิตอยู่ช่วงรอยต่อของความเกิดความดับไปกับอารมณ์

จิตไม่ใช่ตัวรับรู้อารมณ์ ตัวรับรู้อารมณ์ท่านเรียกว่า ธาตุรู้....นั้นก็กายใจนั้นเอง
กายเป็นผู้รับความรู้สึก(อายตนะภายนอก)
ส่วนใจเป็นผู้รู้ความรู้สึก ..อารมณ์

ธาตุรู้ คือ กายใจ :b17:
โฮฮับ เขียน:
เช่นนั้น เขียน:
จะไม่กล่าวว่าภวังคจิตมีความเกิดดับตลอดเวลา แต่จะกล่าวว่าภวังคจิตมีความทรงตัวไม่รับอารมณ์เท่านั้น
แต่จะกล่าวการเกิดการดับของจิต>เกิดดับไปทีละอารมณ์


ไม่ใช่การไม่รับอารมณ์ แต่จริงแล้วในขณะนั้นกายใจไม่รับรู้องค์ธรรมในปฏิจจสมุปบาท คือ วิญญาน
เมื่อวิญญานในปฏิจจฯทำหน้าทีไม่ได้ ......นามรูป ผัสสะฯลฯ ย่อมเกิดไม่ได้ อารมณ์ย่อมไม่มีไปโดยปริยาย

"กายใจไม่รับรู้องค์ธรรมในปฏิจจสมุปบาท
อารมณ์ย่อมไม่มี"
นั่นล่ะ ไม่รับอารมณ์ โฮฮับจะเขียนทำไมให้ยอกย้อน ^ ^
โฮฮับ เขียน:
เช่นนั้น เขียน:
จิตโดยสภาวะไม่มีการเกิดการดับ มีแต่การเคลื่อนไปในอารมณ์ทั้งหลาย
การทรงอยู่
การเคลื่อนไป
การเข้าถึงรู้อารมณ์

:)) ภวังคจิต จะกล่าวได้ว่า เป็นสภาวะจิตเดิมของอัตตา หรือของสัตว์โลกที่มีอนุสัยต่างๆนอนเนื่องอยู่ก็ได้


สักกายะทิฐิเต็มๆ

โฮฮับ...รู้จักสักกายทิฏฐิแค่ไหน ^ ^

.....................................................
ธรรมะอันยิ่งใหญ่ ไม่อาจเอื้อนเอ่ย
บัญญัติ เป็นเพียงสิ่งต่ำต้อยแบกรับความยิ่งใหญ่


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 12 มิ.ย. 2016, 02:20 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 27 เม.ย. 2010, 08:10
โพสต์: 2830

แนวปฏิบัติ: ขันธ์5ด้วยการสังเกตุ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ และอินทรีย์22
สิ่งที่ชื่นชอบ: พระสุตตันตปิฎก
อายุ: 0
ที่อยู่: ระยอง อุบลราชธานี

 ข้อมูลส่วนตัว


ภวังค์ ผมก็สงสัยมานานแล้ว

ก็ได้ความรู้ดี

ยิ่งมีการต่อยอด มีการแย้งกันด้วยความเห็นของแต่ละท่าน

ได้ความรู้ไว้พิจารณาขึ้นเยอะครับ

.....................................................
อย่าท้อถอยต่อการปฏิบัติ อย่าปล่อยให้ความขุ่นเคืองเข้าแทรก สร้างพลังด้วยคำสอนของพระพุทธเจ้า รำลึกและตอบแทนพระคุณมารดา และบิดา มองโลกด้วยใจเป็นกลาง ระลึกเสมอว่าเรายังด้อยปัญญาหากยังไม่ได้ปัญญา


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 12 มิ.ย. 2016, 07:26 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 13 ก.พ. 2010, 17:53
โพสต์: 4999

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


เช่นนั้น เขียน:
โฮฮับ เขียน:
เช่นนั้น เขียน:
จะไม่กล่าวว่าภวังคจิตมีความเกิดดับตลอดเวลา แต่จะกล่าวว่าภวังคจิตมีความทรงตัวไม่รับอารมณ์เท่านั้น
แต่จะกล่าวการเกิดการดับของจิต>เกิดดับไปทีละอารมณ์


ไม่ใช่การไม่รับอารมณ์ แต่จริงแล้วในขณะนั้นกายใจไม่รับรู้องค์ธรรมในปฏิจจสมุปบาท คือ วิญญาน
เมื่อวิญญานในปฏิจจฯทำหน้าทีไม่ได้ ......นามรูป ผัสสะฯลฯ ย่อมเกิดไม่ได้ อารมณ์ย่อมไม่มีไปโดยปริยาย

"กายใจไม่รับรู้องค์ธรรมในปฏิจจสมุปบาท
อารมณ์ย่อมไม่มี"
นั่นล่ะ ไม่รับอารมณ์ โฮฮับจะเขียนทำไมให้ยอกย้อน ^ ^


มันไม่ใช่การยอกย้อน เพียงแต่เช่นนั้นขาดสมาธิแยกแยะความเป็นเหตุและผล(เหตุปัจจัย)
"ธรรมมันเกิดแต่เหตุ" ในที่นี้กายใจไม่รับรู้วิญญานในปฏิจจฯ...วิญญานเป็นเป็นเหตุ
เมื่อขาดซึ่งเหตุปัจจัย ผลของวิญญานก็คือ....อารมณ์ย่อมเกิดไม่ได้

คุณเช่นนั้นพิจารณาให้ดีว่า การไม่เกิดกับการไม่รับ มันแตกต่างกันมั้ย
จะศึกษาธรรมมันต้องใช้บัญญัติให้ถูกต้องตามธรรม ไม่เช่นนั้นผู้รู้เขาจะแย้งเอาได้ครับ

เช่นนั้น เขียน:
โฮฮับ เขียน:
เช่นนั้น เขียน:
จิตโดยสภาวะไม่มีการเกิดการดับ มีแต่การเคลื่อนไปในอารมณ์ทั้งหลาย
การทรงอยู่
การเคลื่อนไป
การเข้าถึงรู้อารมณ์

:)) ภวังคจิต จะกล่าวได้ว่า เป็นสภาวะจิตเดิมของอัตตา หรือของสัตว์โลกที่มีอนุสัยต่างๆนอนเนื่องอยู่ก็ได้


สักกายะทิฐิเต็มๆ

โฮฮับ...รู้จักสักกายทิฏฐิแค่ไหน ^ ^


ทั้งหมดทั้งมวลจิตเกิดจาก อวิชชาและการปรุงแต่ง
ปุถุชนไม่รู้ว่าสภาวธรรมที่เรียกว่าจิตนั้น เกิดจากการยึดหมั่นจนทำให้เกิดการปรุงแต่งว่า
สภาวะที่เกิดขึ้นนั้นเป็นตัวเป็นตน ด้วยเหตุนี้จึงบอกว่า จิตเดิมเป็นอัตตาหรือจิตเคลื่อนตัวไปรู้อารมณ์และบอกว่ามีการทรงตัวอยู่.....

ที่พูดมาเป็นลักษณะที่ตรงข้ามกับจิต จิตไม่ใช่ตัวตน เพราะหลงเข้าใจผิดว่าจิตเป็นตัวตน
จึงทำให้เกิดขันธ์ห้าขึ้น สิ่งที่เป็นอัตตาหรือตัวตนก็คือ...ผลแห่งขันธ์ห้าหรือกองทุกข์ ไม่ใช่จิต

จิตเคลื่อนตัวไม่ได้เพราะองค์ธรรมประกอบจิต
เกิดขึ้นแล้วดับไป(ทันทีทันใด)

จิตไม่ใช่ผู้รู้อารมณ์เพราะจิตนั้นแหล่ะคือ อารมณ์ เมื่อมันเป็นตัวเดียวกันย่อมรู้ตัวเองไม่ได้

นี่คือเหตุผลที่บอกว่าคุณเช่นนั้นพูดแต่ความเป็น"สักกายทิฐิ"
สักกายทิฐิสังโยชน์คือต้นเหตุที่ทำให้เกิดความหลงว่า จิตเป็นตัวเป็นตนและอื่นตามที่อธิบายมา


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 12 มิ.ย. 2016, 07:40 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


ระหว่างโฮฮับ กับ เช่นนั้น ใครมีสักกายทิฏฐิกันแน่นะ หรือจะเป็นกรัชกาย ท่านอโศกก็ด้วยเต็มๆ

แต่เอาเป็นว่า ตราบเท่าที่ยังไม่ถึงขั้นอริยบุคคลขั้้นโสดาบันล่ะก็หนีไม่พ้นสักกายทิฏฐิ :b13:

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 12 มิ.ย. 2016, 13:37 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 14 ก.ค. 2008, 21:56
โพสต์: 3925

ชื่อเล่น: เช่นนั้น
อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


โฮฮับ เขียน:
เช่นนั้น เขียน:
โฮฮับ เขียน:
เช่นนั้น เขียน:
จะไม่กล่าวว่าภวังคจิตมีความเกิดดับตลอดเวลา แต่จะกล่าวว่าภวังคจิตมีความทรงตัวไม่รับอารมณ์เท่านั้น
แต่จะกล่าวการเกิดการดับของจิต>เกิดดับไปทีละอารมณ์


ไม่ใช่การไม่รับอารมณ์ แต่จริงแล้วในขณะนั้นกายใจไม่รับรู้องค์ธรรมในปฏิจจสมุปบาท คือ วิญญาน
เมื่อวิญญานในปฏิจจฯทำหน้าทีไม่ได้ ......นามรูป ผัสสะฯลฯ ย่อมเกิดไม่ได้ อารมณ์ย่อมไม่มีไปโดยปริยาย

"กายใจไม่รับรู้องค์ธรรมในปฏิจจสมุปบาท
อารมณ์ย่อมไม่มี"
นั่นล่ะ ไม่รับอารมณ์ โฮฮับจะเขียนทำไมให้ยอกย้อน ^ ^


มันไม่ใช่การยอกย้อน เพียงแต่เช่นนั้นขาดสมาธิแยกแยะความเป็นเหตุและผล(เหตุปัจจัย)
"ธรรมมันเกิดแต่เหตุ" ในที่นี้กายใจไม่รับรู้วิญญานในปฏิจจฯ...วิญญานเป็นเป็นเหตุ
เมื่อขาดซึ่งเหตุปัจจัย ผลของวิญญานก็คือ....อารมณ์ย่อมเกิดไม่ได้

คุณเช่นนั้นพิจารณาให้ดีว่า การไม่เกิดกับการไม่รับ มันแตกต่างกันมั้ย
จะศึกษาธรรมมันต้องใช้บัญญัติให้ถูกต้องตามธรรม ไม่เช่นนั้นผู้รู้เขาจะแย้งเอาได้ครับ

เช่นนั้น เขียน:
โฮฮับ เขียน:
เช่นนั้น เขียน:
จิตโดยสภาวะไม่มีการเกิดการดับ มีแต่การเคลื่อนไปในอารมณ์ทั้งหลาย
การทรงอยู่
การเคลื่อนไป
การเข้าถึงรู้อารมณ์

:)) ภวังคจิต จะกล่าวได้ว่า เป็นสภาวะจิตเดิมของอัตตา หรือของสัตว์โลกที่มีอนุสัยต่างๆนอนเนื่องอยู่ก็ได้


สักกายะทิฐิเต็มๆ

โฮฮับ...รู้จักสักกายทิฏฐิแค่ไหน ^ ^


ทั้งหมดทั้งมวลจิตเกิดจาก อวิชชาและการปรุงแต่ง
ปุถุชนไม่รู้ว่าสภาวธรรมที่เรียกว่าจิตนั้น เกิดจากการยึดหมั่นจนทำให้เกิดการปรุงแต่งว่า
สภาวะที่เกิดขึ้นนั้นเป็นตัวเป็นตน ด้วยเหตุนี้จึงบอกว่า จิตเดิมเป็นอัตตาหรือจิตเคลื่อนตัวไปรู้อารมณ์และบอกว่ามีการทรงตัวอยู่.....

ที่พูดมาเป็นลักษณะที่ตรงข้ามกับจิต จิตไม่ใช่ตัวตน เพราะหลงเข้าใจผิดว่าจิตเป็นตัวตน
จึงทำให้เกิดขันธ์ห้าขึ้น สิ่งที่เป็นอัตตาหรือตัวตนก็คือ...ผลแห่งขันธ์ห้าหรือกองทุกข์ ไม่ใช่จิต

จิตเคลื่อนตัวไม่ได้เพราะองค์ธรรมประกอบจิต
เกิดขึ้นแล้วดับไป(ทันทีทันใด)

จิตไม่ใช่ผู้รู้อารมณ์เพราะจิตนั้นแหล่ะคือ อารมณ์ เมื่อมันเป็นตัวเดียวกันย่อมรู้ตัวเองไม่ได้

นี่คือเหตุผลที่บอกว่าคุณเช่นนั้นพูดแต่ความเป็น"สักกายทิฐิ"
สักกายทิฐิสังโยชน์คือต้นเหตุที่ทำให้เกิดความหลงว่า จิตเป็นตัวเป็นตนและอื่นตามที่อธิบายมา

โฮฮับ กาย รับรู้วิญญาณได้หรือ?
จิต คืออารมณ์ จริงหรือโฮฮับ?
อารมณ์ คือจิตหรือโฮฮับ ?
ขันธุ์ 5 ที่โฮฮับเข้าใจ คือกายกับใจ รึเปล่า?

.....................................................
ธรรมะอันยิ่งใหญ่ ไม่อาจเอื้อนเอ่ย
บัญญัติ เป็นเพียงสิ่งต่ำต้อยแบกรับความยิ่งใหญ่


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 12 มิ.ย. 2016, 13:58 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 14 ก.ค. 2008, 21:56
โพสต์: 3925

ชื่อเล่น: เช่นนั้น
อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


เช่นนั้น เขียน:
ภวังคจิต จะกล่าวได้ว่า เป็นสภาวะจิตเดิมของอัตตา หรือของสัตว์โลกที่มีอนุสัยต่างๆนอนเนื่องอยู่ก็ได้

http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=13&i=153
Quote Tipitaka:
...... [๑๕๕] พระผู้มีพระภาคได้ตรัสว่า ดูกรอานนท์ ปุถุชนในโลกนี้ ผู้ไม่ได้สดับ ไม่ได้
เห็นพระอริยะ ไม่ฉลาดในธรรมของพระอริยะ ไม่ได้รับแนะนำในธรรมของพระอริยะ ไม่เห็น
สัตบุรุษ ไม่ฉลาดในธรรมของสัตบุรุษ ไม่ได้รับแนะนำในธรรมของสัตบุรุษ มีจิตอันสักกายทิฏฐิ
กลุ้มรุมแล้ว อันสักกายทิฏฐิครอบงำแล้วอยู่
และเมื่อสักกายทิฏฐิเกิดขึ้นแล้ว ย่อมไม่รู้อุบาย
เป็นเครื่องสลัดออกเสียได้ตามความเป็นจริง สักกายทิฏฐินั้นก็เป็นของมีกำลัง อันปุถุชนนั้น
บรรเทาไม่ได้แล้ว ชื่อว่าเป็นโอรัมภาคิยสังโยชน์ ปุถุชนนั้นมีจิตอันวิจิกิจฉากลุ้มรุมแล้ว อัน
วิจิกิจฉาครอบงำแล้วอยู่
และเมื่อวิจิกิจฉาเกิดขึ้นแล้ว ย่อมไม่รู้อุบายเป็นเครื่องสลัดออกเสียได้
ตามความเป็นจริง วิจิกิจฉานั้นก็เป็นของมีกำลัง อันปุถุชนนั้นบรรเทาไม่ได้แล้ว ชื่อว่าเป็น
โอรัมภาคิยสังโยชน์. ปุถุชนนั้นมีจิตอันสีลัพพตปรามาสกลุ้มรุมแล้ว อันสีลัพพตปรามาส
ครอบงำแล้วอยู่
และเมื่อสีลัพพตปรามาสเกิดขึ้นแล้ว ย่อมไม่รู้อุบายเป็นเครื่องสลัดออกเสีย
ได้ตามความเป็นจริง สีลัพพตปรามาสนั้นก็เป็นของมีกำลัง อันปุถุชนนั้นบรรเทาไม่ได้แล้วชื่อว่า
เป็นโอรัมภาคิยสังโยชน์ ปุถุชนนั้นมีจิตอันกามราคะกลุ้มรุมแล้ว อันกามราคะครอบงำแล้วอยู่
และเมื่อกามราคะเกิดขึ้นแล้ว ย่อมไม่รู้อุบายเป็นเครื่องสลัดออกเสียได้ตามความเป็นจริง กาม
ราคะนั้นก็เป็นของมีกำลัง อันปุถุชนนั้นบรรเทาไม่ได้แล้ว ชื่อว่าเป็นโอรัมภาคิยสังโยชน์. ปุถุชน
นั้นมีจิตอันพยาบาทกลุ้มรุมแล้ว อันพยาบาทครอบงำแล้วอยู่ และเมื่อพยาบาทเกิดขึ้นแล้ว
ย่อมไม่รู้อุบายเป็นเครื่องสลัดออกเสียได้ตามความเป็นจริง พยาบาทนั้นก็เป็นของมีกำลัง อัน
ปุถุชนนั้นบรรเทาไม่ได้แล้ว ชื่อว่าโอรัมภาคิยสังโยชน์.

โฮฮับ ไปอ่านพระสูตรให้ดีๆ

.....................................................
ธรรมะอันยิ่งใหญ่ ไม่อาจเอื้อนเอ่ย
บัญญัติ เป็นเพียงสิ่งต่ำต้อยแบกรับความยิ่งใหญ่


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 12 มิ.ย. 2016, 21:15 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 25 เม.ย. 2009, 02:43
โพสต์: 12232


 ข้อมูลส่วนตัว


ประกาศ..คนหาย..

อโสกะผ้สรรเสริญการเข้าภวังค์...หายไปไหน..

s006 s006


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 13 มิ.ย. 2016, 07:20 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 13 ก.พ. 2010, 17:53
โพสต์: 4999

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


เช่นนั้น เขียน:
โฮฮับ กาย รับรู้วิญญาณได้หรือ?


อ้างอิงให้ถูกหน่อยครับ ผมว่า กายใจ ไม่ใช่กายเพียงอย่างเดียว
และเน้นว่า.....กายมีหน้าที่รับการกระทบ(ทวาร) และใจมีหน้าที่รู้ถึงการกระทบ

กายใจจะรับรู้ถึงการกระทบได้จะต้องเกิด วิญญานขึ้นที่ทวารนั้นๆ อย่างเช่น จักษุวิญญาน โสตวิญญาน
และอื่นๆ

เช่นนั้น เขียน:
จิต คืออารมณ์ จริงหรือโฮฮับ?
อารมณ์ คือจิตหรือโฮฮับ ?


อารมณ์เป็นสมมติบัญญัติ

จิตเป็นปรมัตถบัญญัติ

ซึ่งโดยสภาพธรรมแล้วเป็นอย่างเดียวกัน


เช่นนั้น เขียน:
ขันธุ์ 5 ที่โฮฮับเข้าใจ คือกายกับใจ รึเปล่า?


คนละเรื่องแล้วครับ!!

กายกับใจ รวมกันอยู่ในลักษณะ อัญญมัญญปัจจัย คืออาศัยซึ่งกันและกัน
และโดยสภาพของการตั้งอยู่แห่งกายใจ มันเป็น ....... ชีวิตินทรีย์

ส่วนขันธ์ห้ามันเกิดจากการที่กายใจเข้าไปยึดตัวธรรมที่เป็นอนัตตาเข้า
ทำให้เป็นขันธ์ทั้งห้าขึ้นภายในกายใจ.....ซึ่งไม่ใช่กายใจ

กายใจเป็น....ตัวทุกข์หรือทุกอริยสัจจ์
ขันธ์ห้าเป็น....เหตุแห่งทุกข์หรือทุกขสมุทัย


แสดงโพสต์จาก:  เรียงตาม  
กลับไปยังกระทู้  [ 132 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1, 2, 3, 4, 5 ... 9  ต่อไป

เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


 ผู้ใช้งานขณะนี้

่กำลังดูบอร์ดนี้: ไม่มีสมาชิก และ บุคคลทั่วไป 1 ท่าน


ท่าน ไม่สามารถ โพสต์กระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ตอบกระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แก้ไขโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ลบโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แนบไฟล์ในบอร์ดนี้ได้

ค้นหาสำหรับ:
ไปที่:  
Google
ทั่วไป เว็บธรรมจักร