วันเวลาปัจจุบัน 19 ก.ค. 2025, 21:14  



เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง




กลับไปยังกระทู้  [ 59 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1, 2, 3, 4  ต่อไป  Bookmark and Share
เจ้าของ ข้อความ
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 04 ก.ค. 2014, 10:04 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 18 ก.ย. 2011, 21:51
โพสต์: 4941


 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
ที่พูดมาทั้งหมด จึงแก้ความกลัวไม่ได้ใช่ไหม

:b34:
ตอบตามที่ถามจึงแยกให้เห็นเป็นข้อๆ

ส่วนเรื่องความกลัวของน้องที่ถามนั้น ถ้าปฏิบัติได้ถูกต้องแม้ความกลัวก็จะแก้ให้หายไปได้ ที่บอกมานั้นเป็นเหตุปัจจัยที่จะช่วยแก้ปัญหาทุกอย่างรวมทั้งความกลัว

ในเรื่องความกลัว ถ้านิ่งรู้นิ่งสังเกตความกลัวและลูกหลานอารมณ์ที่งอกออกมาจากความกลัวจนมันดับไปจนหมดสิ้น ไปในภายภาคหน้าความกลัวก็จะมดความหมายไปเองตามธรรม คือหมดกลัวนั่นเอง
:b38:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 04 ก.ค. 2014, 10:19 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 18 ก.ย. 2011, 21:51
โพสต์: 4941


 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
หนอนี่ก็เป็นกรรมฐานประยุกต์

นี่ก็ผิดอย่างใหญ่หลวง

ท้องพอง-ท้องยุบ ต่างหาก เป็นกรรมฐาน วิธีปฏิบัติ ท้องพอง สำเหนียกว่า พอง (หนอ) ท้องยุบ สำเหนียกว่า ยุบ (หนอ)

ที่เหลือนั่นเดาสุ่มคลุมๆไป ถูกผิดตนเองยังบอกตัวเองไม่ได้เลย

:b34: :b34:
เฉโกมาก กรัชกาย ที่ไม่เข้าใจภาษาพูด

พุทโธ ก็มาจากพุทธานุสติกรรมฐาน

สำเหนียกพุทธ สำเหนียก โท นี่กรัชกายก็มาแต่งตำราเอาเองเพราะกลัวไม่เข้ากับสติปัฏฐานสูตร

เขาไม่เรียกสำเหนียก เขาเรียก กำหนด พุทธ โธ ตามลมหายใจเข้าออก มีสำนักไหนบ้างที่เขาสอนว่า เอ้าให้พวกเธอนั่งสำเหนียก พุทโธ ตามลมหายใจเข้าออก กรุณาบอกชื่อสำนักมาให้ทราบหน่อย

มั่วยิ่งกว่ามั่วอีกนะกรัชกายนี่

:b3: :b3: :b3:

หนอนั่นไม่ใช่แค่พองหนอยุบหนออย่างที่กรัชกายกายพูดเพียงอย่างเดียว หนอนี่ใช้หมดทั้ง 4 ฐาน คือ กาย เวทนา จิต ธรรม ไม่เคยรู้เลยหรือว่าที่พม่า กรรมฐานหนอนี่ท่านถือว่าเป็นการเจริญสติปัฏฐานแต่เป็นสติปัฏฐานแบบประยุกต์ คือมีคำว่าหนอเข้ามาช่วยกำกับสติอีกชั้นหนึ่ง ในพม่าใช้คำว่า "เย้า"
หันเย้า..... ฮู้เย้า.....ปองเย้า....แวบเย้า......แปลไทย เห็นหนอ รู้หนอ พองหนอ ยุบหนอ

ใครเดาสุ่มคลุมเครือ รู้จริงมั่งไม่จริงมั่งกันแน่นะกรัชกาย รู้จักอายเสียบ้าง


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 04 ก.ค. 2014, 11:07 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


คิกๆๆ เอางี้เลยดีกว่า อโศกเก่ง จบ

แต่ก็ยังข้องใจนะ ไม่ใช้หนอได้ไหม

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 04 ก.ค. 2014, 11:20 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


อโศก นี่เขาก็ใช้พองหนอ ยุบหนอนะ



อโศกเห็นยังไง :b1:

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 04 ก.ค. 2014, 13:26 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 18 ก.ย. 2011, 21:51
โพสต์: 4941


 ข้อมูลส่วนตัว


:b16: :b16:
อโศกะปฏิบัติในสำนักหนอมาตั้งหลายครั้งหลายปี
เริ่มปฏิบัติก็หนอ อาจารย์มีหลักที่ย้ำสอนทุกครั้งที่ไปสอบอารมณ์ว่า

"กำหนดถี่ๆ กำหนดให้ทันปัจจุบันอารมณ์"

แต่ตอนลงมือปฏิบัติจริง จะหนอไปได้สัก 3 - 4 นาที หลังจากนั้นจะทิ้งหนอไป นิ่งรู้นิ่งสังเกต ปัจจุบันอารมณ์โดยไม่รู้ตัว ไม่รู้ว่ามันเป็นเพราะอะไร แต่ที่รู้ประจักษ์ใจตนเองคือถ้ามัวพะวงกับคำบริกรรม หนอ สติจะไม่ทันปัจจุบันอารมณ์ เลยเป็นศิษย์ดื้อแอบทิ้ง หนอ มาตั้งแต่แรกๆ

แต่ผลปฏิบัติกับเจริญก้าวหน้ายิ่งขึ้นเรื่อยๆอย่างรวดเร็ว เห็นกรรม และกรรมฐานเฉพาะตนชัด เห็นทุกข์ชัด นิวรณ์ธรรมปรากฏชัด หยุดยั้งนิวรณ์ได้เร็วจนขนาดนับลมหายใจเข้าออกได้สองสามรอบก็เข้าถึงความสงบได้

ที่กรัชกายถามว่า "ไม่ใช้หนอได้ไหม"

ตอบว่า ได้ แล้วก็จะดียิ่งขึ้นด้วย แต่พึงควรปูฐานด้วยหนอให้แน่น คล่องแคล่วทันปัจจุบันอารมณ์ได้ดีในทั้ง 4 ฐาน แล้วจึงค่อยทิ้งหนอจึงจะดี
:b38:
:b36:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 04 ก.ค. 2014, 13:36 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 18 ก.ย. 2011, 21:51
โพสต์: 4941


 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
อโศก นี่เขาก็ใช้พองหนอ ยุบหนอนะ



อโศกเห็นยังไง :b1:

:b12: :b12: :b12:
ที่เห็นนี่หละกรรมฐานประยุกต์ คิดพัฒนากันขึ้นมาเอง มันเป็นสมาธิหรือสมถะ ร้อยเปอร์เซ็นต์ จึงจะต้องมีปัญหากับ ผลของสมาธิ คือ ปีติ ปัสสัทธิ นิมิต ยิ่งเร่งยิ่งถี่ยิ่งปีติแรง แต่ก็อาจมีคนได้ดีเพราะเริ่มด้วยวิธีนี้

ไม่ต่างกับวิธีท่องคาถาปลุกพระ ท่องคาถาเป็นคาบๆเศกเป่าสร้างอิทธิปาฏิหารย์กันในครั้ง เจ็ดแปดสิบถึงสองร้อยปีที่ผ่านมา

อโศกะก็เคยทำให้ตนเองรู้จักอาการที่ว่าจิตรวมโดยการท่องคาถานี่เหมือนกัน แต่ไม่อยากแนะนำใครมากเพราะจะมีปัญหาให้แก้เรื่องปีติและนิมิตตามมามาก
:b38: :b38: :b38:
เริ่มจากแบบมวยวัดนี้แล้วค่อยไปเข้าสู่วิธีมาตรฐานทีหลังก็ได้ ทางใครทางมัน ท่านให้มาไม่เหมือนกันแล้วแต่บุญ วาสนา บารมีที่สร้างสมมา เขาจะจัดสรรค์แง้มช่องให้ตามทางของใครของมัน ลอกเลียนแบบกันก็ไม่ค่อยจะได้ด้วยนะ มันอนัตตาจริงๆ
:b12: :b12: :b12:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 04 ก.ค. 2014, 16:42 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


asoka เขียน:
อโศกะปฏิบัติในสำนักหนอมาตั้งหลายครั้งหลายปี
เริ่มปฏิบัติก็หนอ อาจารย์มีหลักที่ย้ำสอนทุกครั้งที่ไปสอบอารมณ์ว่า

"กำหนดถี่ๆ กำหนดให้ทันปัจจุบันอารมณ์"

แต่ตอนลงมือปฏิบัติจริง จะหนอไปได้สัก 3 - 4 นาที หลังจากนั้นจะทิ้งหนอไป นิ่งรู้นิ่งสังเกต ปัจจุบันอารมณ์โดยไม่รู้ตัว ไม่รู้ว่ามันเป็นเพราะอะไร แต่ที่รู้ประจักษ์ใจตนเองคือถ้ามัวพะวงกับคำบริกรรม หนอ สติจะไม่ทันปัจจุบันอารมณ์ เลยเป็นศิษย์ดื้อแอบทิ้ง หนอ มาตั้งแต่แรกๆ

แต่ผลปฏิบัติกับเจริญก้าวหน้ายิ่งขึ้นเรื่อยๆอย่างรวดเร็ว เห็นกรรม และกรรมฐานเฉพาะตนชัด เห็นทุกข์ชัด นิวรณ์ธรรมปรากฏชัด หยุดยั้งนิวรณ์ได้เร็วจนขนาดนับลมหายใจเข้าออกได้สองสามรอบก็เข้าถึงความสงบได้

ที่กรัชกายถามว่า "ไม่ใช้หนอได้ไหม"

ตอบว่า ได้ แล้วก็จะดียิ่งขึ้นด้วย แต่พึงควรปูฐานด้วยหนอให้แน่น คล่องแคล่วทันปัจจุบันอารมณ์ได้ดีในทั้ง 4 ฐาน แล้วจึงค่อยทิ้งหนอจึงจะดี


อ้างคำพูด:
"กำหนดถี่ๆ กำหนดให้ทันปัจจุบันอารมณ์"


อโศกนี่พูดไม่อยู่กับร่องกับรอย เดี๋ยวก็บอกให้หนอถี่ๆ เพราะหนอจะไปตัดนั่นตัดนี่... พอมาเจอะปัญหานี่ หนอเหนอไม่เอาแล้ว เหลือแต่กำหนดถี่ๆ

อโศกเอ้ย ตกลงนี่คุณจะเอายังไง ปวดตับไตไส้พุงกับอโศกจินๆ ได้หน้าลืมหลัง

ทิ้งหนอแล้วจะไปเอาอะไรทีนี้ กรัชกายว่า ไปอาบน้ำกินนมนอนเถอะนะ คิกๆๆ

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 04 ก.ค. 2014, 20:29 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 18 ก.ย. 2011, 21:51
โพสต์: 4941


 ข้อมูลส่วนตัว


:b16: :b16:
ต้องขออภัยที่ลืมไปว่ากรัชกายชอบถามและชอบคำตอบแบบเด็กป 1 เลยทำให้กรัชกายเข้าใจผิด

คำว่ากำหนดถี่ๆ กำหนดให้ทันปัจจุบันนั้น สิ่งที่จะต้องกำหนด คือคำว่า "หนอ" นั้นเอง อาจารย์ท่านทิ้งไว้ในฐานที่เข้าใจ แต่นี่กรัชกายเด็กฝึกใหม่ต้องบอกให้ชัดละเอียดความจริงกรัชกายน่าจะมีสมองฉุกคิดขึ้นได้เองบ้างนะ เมื่อบอกว่า กำหนด น่าจะมีสิ่งที่ต้องกำหนดแน่ๆแตทิ้งไว้ในฐานที่เข้าใจ

พอเข้าใจผิดไม่ถามไม่ไถ่แต่กลับปรุงต่อเลยต้องปวดตับไตใส้พุงไปโดยไม่เข้าเรื่อง ช่างน่าเวทนาาจริงๆนักวิชาการใหญ่ใจ ป.1

เชิญกรัชกายไปอาบนำ ดูดนม อมหัวแม่มือ หลับให้สบายเถิดนะ
:b12: :b12: :b12:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 05 ก.ค. 2014, 04:59 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


แน่ะๆ กลิ้งไปทางโน้นอีก ไหนๆวิ่งไปดักหน้าตีหน้าแข้งอโศกสักทีสิ :b1: :b9:

คลิปข้างบน กับ คลิปนี้ด้วย http://www.youtube.com/watch?v=femTH2lIlbk

เขาว่า พองยุบๆๆๆ ถี่ๆ ถี่ขนาดนั้น ทันปัจจุบันอารมณ์ที่อโศกพูดหรือยัง

อนึ่ง ก็ว่าแต่ พองยุบๆๆๆๆ ถี่ๆ ไม่ว่าหนอเลยสักคำ พองยุบๆๆๆๆๆ อย่างนี้ก็ผิดซี่งั้น หรือเขาละไว้ฐานเข้าใจ :b35:

ก่อนตอบ นึกหน้านึกหลังดีๆก่อนนะ :b32:

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 06 ก.ค. 2014, 13:39 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 18 ก.ย. 2011, 21:51
โพสต์: 4941


 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
asoka เขียน:
กรัชกาย เขียน:
asoka เขียน:
:
อโศกะปฏิบัติในสำนักหนอมาตั้งหลายครั้งหลายปี
เริ่มปฏิบัติก็หนอ อาจารย์มีหลักที่ย้ำสอนทุกครั้งที่ไปสอบอารมณ์ว่า

"กำหนดถี่ๆ กำหนดให้ทันปัจจุบันอารมณ์"

แต่ตอนลงมือปฏิบัติจริง จะหนอไปได้สัก 3 - 4 นาที หลังจากนั้นจะทิ้งหนอไป นิ่งรู้นิ่งสังเกต ปัจจุบันอารมณ์โดยไม่รู้ตัว ไม่รู้ว่ามันเป็นเพราะอะไร แต่ที่รู้ประจักษ์ใจตนเองคือถ้ามัวพะวงกับคำบริกรรม หนอ สติจะไม่ทันปัจจุบันอารมณ์ เลยเป็นศิษย์ดื้อแอบทิ้ง หนอ มาตั้งแต่แรกๆ

แต่ผลปฏิบัติกับเจริญก้าวหน้ายิ่งขึ้นเรื่อยๆอย่างรวดเร็ว เห็นกรรม และกรรมฐานเฉพาะตนชัด เห็นทุกข์ชัด นิวรณ์ธรรมปรากฏชัด หยุดยั้งนิวรณ์ได้เร็วจนขนาดนับลมหายใจเข้าออกได้สองสามรอบก็เข้าถึงความสงบได้

ที่กรัชกายถามว่า "ไม่ใช้หนอได้ไหม"

ตอบว่า ได้ แล้วก็จะดียิ่งขึ้นด้วย แต่พึงควรปูฐานด้วยหนอให้แน่น คล่องแคล่วทันปัจจุบันอารมณ์ได้ดีในทั้ง 4 ฐาน แล้วจึงค่อยทิ้งหนอจึงจะดี



อ้างคำพูด:
"กำหนดถี่ๆ กำหนดให้ทันปัจจุบันอารมณ์"


อโศกนี่พูดไม่อยู่กับร่องกับรอย เดี๋ยวก็บอกให้หนอถี่ๆ เพราะหนอจะไปตัดนั่นตัดนี่... พอมาเจอะปัญหานี่ หนอเหนอไม่เอาแล้ว เหลือแต่กำหนดถี่ๆ

อโศกเอ้ย ตกลงนี่คุณจะเอายังไง ปวดตับไตไส้พุงกับอโศกจินๆ ได้หน้าลืมหลัง

ทิ้งหนอแล้วจะไปเอาอะไรทีนี้ กรัชกายว่า ไปอาบน้ำกินนมนอนเถอะนะ คิกๆๆ


ต้องขออภัยที่ลืมไปว่ากรัชกายชอบถามและชอบคำตอบแบบเด็กป 1 เลยทำให้กรัชกายเข้าใจผิด

คำว่ากำหนดถี่ๆ กำหนดให้ทันปัจจุบันนั้น สิ่งที่จะต้องกำหนด คือคำว่า "หนอ" นั้นเอง อาจารย์ท่านทิ้งไว้ในฐานที่เข้าใจ แต่นี่กรัชกายเด็กฝึกใหม่ต้องบอกให้ชัดละเอียดความจริงกรัชกายน่าจะมีสมองฉุกคิดขึ้นได้เองบ้างนะ เมื่อบอกว่า กำหนด น่าจะมีสิ่งที่ต้องกำหนดแน่ๆแตทิ้งไว้ในฐานที่เข้าใจ



แน่ะๆ กลิ้งไปทางโน้นอีก ไหนๆวิ่งไปดักหน้าตีหน้าแข้งอโศกสักทีสิ :b1: :b9:

คลิปข้างบน กับ คลิปนี้ด้วย http://www.youtube.com/watch?v=femTH2lIlbk

เขาว่า พองยุบๆๆๆ ถี่ๆ ถี่ขนาดนั้น ทันปัจจุบันอารมณ์ที่อโศกพูดหรือยัง

อนึ่ง ก็ว่าแต่ พองยุบๆๆๆๆ ถี่ๆ ไม่ว่าหนอเลยสักคำ พองยุบๆๆๆๆๆ อย่างนี้ก็ผิดซี่งั้น หรือเขาละไว้ฐานเข้าใจ :b35:

ก่อนตอบ นึกหน้านึกหลังดีๆก่อนนะ :b32:

:b12: :b12: :b12:
กรัชกายนั่นแหละกลิ้งไปหาคำถามเพื่อจะมาทำให้ผู้ถูกถามจนตรอกให้จงได้ จนลืมพิจารณาข้อแนะนำที่บอกไว้โดยละเอียด

บอกแล้วคำว่า "หนอ"นี่จะช่วยตัดสันตติ ถ้าไม่มีหนอมาต่อท้ายพองยุบ คำว่าพองยุบกลายเป็นคาถาบริกรรมสำหรับสมถะภาวนาเฉยเลย เมื่อท่องถี่เท่าไหร่ ก็ทำให้จิตรวมเร็วเท่านั้น

การกำหนดถี่ๆที่บอกไว้นั้น ความถี่นั้นหมายถึง "ถี่ถ้วน" คือทันทุกปัจจุบันอารมณ์ที่ปรากฏขึ้นแล้วดับไปไม่ให้ขาด หลุด หลง ไม่ทันแม้แต่อารมณ์เดียว ขอให้เข้าใจเสียใหม่นะกรัชกาย


ท่องพองยุบ ๆ ๆ ๆ ถี่ๆนี่เมืองไทยเ อามาประยุกต์ทำกันเอง

ต้นฉบับกรรมฐานพองหนอ ยุบหนอ ที่เริ่มประยุกต์กันในประเทศพม่า หลวงพ่อพระพิมลธรรมท่านไปศึกษาแล้วนำมาปรับใช้กับเมืองไทยโดยใช้คำว่า "หนอ" แทนคำว่า "เย้า" ในภาษาไทยใหญ่ เย้า แปลว่า
แล้ว (แล้วเสร็จ เสร็จแล้ว) พองแล้ว ยุบแล้ว เห็นแล้ว เจ็บแล้ว ปวดแล้ว คิดแล้ว นึกแล้ว)

เห็นหนอ คิดหนอ นึกหนอ ฟุุ้งหนอ โกรธหนอ ยกหนอ ไปหนอ ถูกหนอ ซ้ายย่างหนอ ขวาย่างหนอ

ผลที่ได้เป็นคนละเรื่องกับพองยุบถี่ๆที่กรัชกายเอามาถามนะครับ

อันหนึ่งเร่งให้เกิดสมาธิลูกเดียว

แต่อีกอันหนึ่งเป็นการฝึกสติให้รู้ทันปัจจุบันอารมณ์ในทุกอิริยาบถ อารมณ์ ความรู้สึก

โปรดพิจารณาโดยแยบคาย แล้วอย่ากลิ้งไปเป็อื่นอีกนะกรัชกาย

:b3: :b3: :b3:
:b28: :b28: :b28:
อนึ่งการบริกรรมพองยุบถี่ๆที่ยกมานั้น มันไม่เกี่ยวกับปัจจุบันธรรมปัจจุบันอารมณ์แล้ว เพราะเป็นการไปบังคับธรรม บังคับธรรมชาติบังคับสติและจิตให้มาจดจ่ออยู่กับเฉพาะคำบริกรรมและลมหายใจ สังเกตให้ดี

ลมจะเข้าออกตามคำบริกรรม ไม่ใช่คำบริกรรมรู้ตามลมเข้าออกตามธรรมชาติ จึงได้บอกว่าเป็นสมถะล้วนๆเพราะ


สมถะ บังคับธรรมชาติ

วิปัสสนาตามรู้ตามสังเกตธรรมชาติ

:b11:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 06 ก.ค. 2014, 15:08 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


asoka เขียน:

อนึ่งการบริกรรมพองยุบถี่ๆที่ยกมานั้น มันไม่เกี่ยวกับปัจจุบันธรรมปัจจุบันอารมณ์แล้ว เพราะเป็นการไปบังคับธรรม บังคับธรรมชาติบังคับสติและจิตให้มาจดจ่ออยู่กับเฉพาะคำบริกรรมและลมหายใจ สังเกตให้ดี

ลมจะเข้าออกตามคำบริกรรม ไม่ใช่คำบริกรรมรู้ตามลมเข้าออกตามธรรมชาติ จึงได้บอกว่าเป็นสมถะล้วนๆเพราะ

สมถะ บังคับธรรมชาติ

วิปัสสนาตามรู้ตามสังเกตธรรมชาติ



นั่นก็ไม่ถูก นี่ก็ไม่ใช่ แล้วอโศกว่า ทำ ทำอย่างไรจึงจะถูก เป็นปัจจุบันอะไรที่ว่านั่น พูดชัดๆ :b1:

สมถะ กับ วิปัสสนาที่อโศกพูดถึง ได้แก่อะไรล่ะนี่ :b1: เอาชัดๆ

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 06 ก.ค. 2014, 15:56 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 18 ก.ย. 2011, 21:51
โพสต์: 4941


 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
asoka เขียน:

อนึ่งการบริกรรมพองยุบถี่ๆที่ยกมานั้น มันไม่เกี่ยวกับปัจจุบันธรรมปัจจุบันอารมณ์แล้ว เพราะเป็นการไปบังคับธรรม บังคับธรรมชาติบังคับสติและจิตให้มาจดจ่ออยู่กับเฉพาะคำบริกรรมและลมหายใจ สังเกตให้ดี

ลมจะเข้าออกตามคำบริกรรม ไม่ใช่คำบริกรรมรู้ตามลมเข้าออกตามธรรมชาติ จึงได้บอกว่าเป็นสมถะล้วนๆเพราะ

สมถะ บังคับธรรมชาติ

วิปัสสนาตามรู้ตามสังเกตธรรมชาติ



นั่นก็ไม่ถูก นี่ก็ไม่ใช่ แล้วอโศกว่า ทำ ทำอย่างไรจึงจะถูก เป็นปัจจุบันอะไรที่ว่านั่น พูดชัดๆ :b1:

สมถะ กับ วิปัสสนาที่อโศกพูดถึง ได้แก่อะไรล่ะนี่ :b1: เอาชัดๆ

:b12:
สิ่งที่ถูกก็บอกคู่กันมาแล้วทำไมไม่สังเกตดูใหดีล่ะครับ
s004


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 06 ก.ค. 2014, 16:33 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


asoka เขียน:
กรัชกาย เขียน:
asoka เขียน:

อนึ่งการบริกรรมพองยุบถี่ๆที่ยกมานั้น มันไม่เกี่ยวกับปัจจุบันธรรมปัจจุบันอารมณ์แล้ว เพราะเป็นการไปบังคับธรรม บังคับธรรมชาติบังคับสติและจิตให้มาจดจ่ออยู่กับเฉพาะคำบริกรรมและลมหายใจ สังเกตให้ดี

ลมจะเข้าออกตามคำบริกรรม ไม่ใช่คำบริกรรมรู้ตามลมเข้าออกตามธรรมชาติ จึงได้บอกว่าเป็นสมถะล้วนๆเพราะ

สมถะ บังคับธรรมชาติ

วิปัสสนาตามรู้ตามสังเกตธรรมชาติ



นั่นก็ไม่ถูก นี่ก็ไม่ใช่ แล้วอโศกว่า ทำ ทำอย่างไรจึงจะถูก เป็นปัจจุบันอะไรที่ว่านั่น พูดชัดๆ :b1:

สมถะ กับ วิปัสสนาที่อโศกพูดถึง ได้แก่อะไรล่ะนี่ :b1: เอาชัดๆ

:b12:
สิ่งที่ถูกก็บอกคู่กันมาแล้วทำไมไม่สังเกตดูใหดีล่ะครับ
s004


ไม่ถามต่อล่ะ สรุปเลยแล้วกัน :b32:

สมถะ ได้แก่ สมาธิ วิปัสสนา ได้แก่ ปัญญา (ตัวนามเด่นๆที่กล่าวถึงเท่านี้ แต่ยังมีนามอื่นๆอีก ไม่ใช่มีแค่สองตัวนั่น)

การปฏิบัติที่ถูกถ้วน ผู้ปฏิบัติต้องกำหนดรู้ (ทำ) ในใจของตนเอง ไม่ใช่คนดูแลว่าให้ พองยุบๆๆๆๆๆๆ หรือ ยุบหนอ พองหนอ ๆๆๆๆๆๆ หรือพุทโธๆๆๆ ไม่ใช่ๆๆ

ผู้ปฏิบัติเองจะต้องสังเกตลมเข้า-ออก หรือพอง-ยุบ เอาเอง ของใครของมัน ท้องพอง ว่าพองหนอ ท้องยุบ ว่ายุบหนอ ท้องพอง ท้องยุบ เป็นหลัก ไม่ใช่หนอเป็นหลัก พองเป็นพอง ยุบเป็นยุบ ไม่สับสน



หายใจเข้า ว่าพุท หายใจ ว่าโธ (ลมหายใจเป็นหลัก ไม่ใช่พุทโธเป็นหลัก) จะเรียกคำภาวนา หรือเรียกบริกรรม แล้วแต่ จะใช้นอกจากคำ ว่า พุทโธ ก็ย่อมได้ เช่น ใช้ ธัม-โม สัง-โฆ ลมเข้าเป็นเข้า ลมออกเป็นออก ไม่สับสน


ทีนี้อยากรู้ว่า ว่าเป็นสมถะ (สมาธิ) หรือ เป็นวิปัสสนา (ปัญญา) ก็ใช้หลักสติปัฏฐาน ๔ เข้าจับ ว่าขณะนั้นผู้ปฏิืบัติได้ใช้ปฏิบัติร่วมด้วยไหม เช่น ขณะนั้น รู้สึกคันยุบยิบๆตามเนื้อตามตัว ถ้าผู้ปฏิบัติไม่กำหนดรู้มัน มัวแต่ พุทโธ หรือ พองหนอ ยุบหนอ อย่างนี้เป็นสมถะ (การปฏิบัติของเขานั่้นเป็นสมาธิอย่างเดียว)

ถ้าขณะนั้นๆ รู้สึกอย่างไร เป็นยังไง ก็กำหนดรู้ตามที่มันเป็น แต่ละขณะๆด้วย เช่น รู้สึกคันยุบยิบๆ คันหนอๆๆๆๆ ตามที่รู้สึกแล้ว ว่าแล้ว ก็มายึดเกาะพอง-ยุบ พองหนอ ยุบหนอ ต่อไป ฯลฯ นี่จะเข้าหลักวิปัสสนา (ปัญญา) ด้วย

นำตัวอย่างมาให้ดู (จะเรียกสังขารหรืออะไรแล้วมันหลอกเอา)

อ้างคำพูด:
ตัวผมมีปัญหาเวลานั่งสมาธิ คือ มันรู้สึกว่าเหมือนมีตัวอะไรมากัดเหมือนมดหรือแมลง แต่ถ้าลืมตามาก็ไม่มีอะไร พยายามอดทนคิดว่าเดียวก็หายไปเอง แต่สุดท้ายก็ต้องยอมแพ้ให้มัน คือ ลืมตามาดูมันอยู่ดี เป็นแบบนี้ทุกวันครับ


อย่างที่บอก ขณะนั้น รู้สึกยังไง เป็นยังไง พึงสำเหนียกว่า อย่างนั้น ทุกๆครั้งทุกๆขณะ

ให้อโศกถามกรัชกายบ้าง มีอะไรสงสัยว่ามา

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 06 ก.ค. 2014, 21:35 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 18 ก.ย. 2011, 21:51
โพสต์: 4941


 ข้อมูลส่วนตัว


s004
กรัชกายก็รู้หลักและทำเป็นอยู่แล้ว จะต้องมาสนทนามาถามอะไรกันต่อไปอีก รู้หลักดีแล้วก็ปฏิบัติให้เยอะๆซิจะได้ไม่ต้องเที่ยวไปถามปัญหาใครต่อใครอีก
:b38:
วิปัสสนาไม่ได้เอาลมหายใจเป็นหลัก แต่ต้องเอาปัจจุบันอารมณ์ที่เปลี่ยนไปมาใน 4 ฐานเป็นหลัก คือ กาย เวทนา จิต ธรรม

แต่อานาปานสติกรรมฐานนั่นแหละจึงจะเอาลมหายใจเป็นหลัก

onion
หนอไม่ใช่หลักแต่เป็นเครื่องช่วยให้สติมีที่ระลึก เป็นกุศโลบายที่ดีมากของบุรพาจารย์ที่ท่านค้นพบแล้วนำมาประยุกต์ใช้
:b8:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 06 ก.ค. 2014, 22:57 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 14 ก.ค. 2008, 21:56
โพสต์: 3925

ชื่อเล่น: เช่นนั้น
อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
ไม่ถามต่อล่ะ สรุปเลยแล้วกัน :b32:

สมถะ ได้แก่ สมาธิ วิปัสสนา ได้แก่ ปัญญา (ตัวนามเด่นๆที่กล่าวถึงเท่านี้ แต่ยังมีนามอื่นๆอีก ไม่ใช่มีแค่สองตัวนั่น)

การปฏิบัติที่ถูกถ้วน ผู้ปฏิบัติต้องกำหนดรู้ (ทำ) ในใจของตนเอง ไม่ใช่คนดูแลว่าให้ พองยุบๆๆๆๆๆๆ หรือ ยุบหนอ พองหนอ ๆๆๆๆๆๆ หรือพุทโธๆๆๆ ไม่ใช่ๆๆ

ผู้ปฏิบัติเองจะต้องสังเกตลมเข้า-ออก หรือพอง-ยุบ เอาเอง ของใครของมัน ท้องพอง ว่าพองหนอ ท้องยุบ ว่ายุบหนอ ท้องพอง ท้องยุบ เป็นหลัก ไม่ใช่หนอเป็นหลัก พองเป็นพอง ยุบเป็นยุบ ไม่สับสน



หายใจเข้า ว่าพุท หายใจ ว่าโธ (ลมหายใจเป็นหลัก ไม่ใช่พุทโธเป็นหลัก) จะเรียกคำภาวนา หรือเรียกบริกรรม แล้วแต่ จะใช้นอกจากคำ ว่า พุทโธ ก็ย่อมได้ เช่น ใช้ ธัม-โม สัง-โฆ ลมเข้าเป็นเข้า ลมออกเป็นออก ไม่สับสน


ทีนี้อยากรู้ว่า ว่าเป็นสมถะ (สมาธิ) หรือ เป็นวิปัสสนา (ปัญญา) ก็ใช้หลักสติปัฏฐาน ๔ เข้าจับ ว่าขณะนั้นผู้ปฏิืบัติได้ใช้ปฏิบัติร่วมด้วยไหม เช่น ขณะนั้น รู้สึกคันยุบยิบๆตามเนื้อตามตัว ถ้าผู้ปฏิบัติไม่กำหนดรู้มัน มัวแต่ พุทโธ หรือ พองหนอ ยุบหนอ อย่างนี้เป็นสมถะ (การปฏิบัติของเขานั่้นเป็นสมาธิอย่างเดียว)

ถ้าขณะนั้นๆ รู้สึกอย่างไร เป็นยังไง ก็กำหนดรู้ตามที่มันเป็น แต่ละขณะๆด้วย เช่น รู้สึกคันยุบยิบๆ คันหนอๆๆๆๆ ตามที่รู้สึกแล้ว ว่าแล้ว ก็มายึดเกาะพอง-ยุบ พองหนอ ยุบหนอ ต่อไป ฯลฯ นี่จะเข้าหลักวิปัสสนา (ปัญญา) ด้วย

นำตัวอย่างมาให้ดู (จะเรียกสังขารหรืออะไรแล้วมันหลอกเอา)

อ้างคำพูด:
ตัวผมมีปัญหาเวลานั่งสมาธิ คือ มันรู้สึกว่าเหมือนมีตัวอะไรมากัดเหมือนมดหรือแมลง แต่ถ้าลืมตามาก็ไม่มีอะไร พยายามอดทนคิดว่าเดียวก็หายไปเอง แต่สุดท้ายก็ต้องยอมแพ้ให้มัน คือ ลืมตามาดูมันอยู่ดี เป็นแบบนี้ทุกวันครับ


อย่างที่บอก ขณะนั้น รู้สึกยังไง เป็นยังไง พึงสำเหนียกว่า อย่างนั้น ทุกๆครั้งทุกๆขณะ
:b32: :b32: :b32: :b32: :b32: :b32:

.....................................................
ธรรมะอันยิ่งใหญ่ ไม่อาจเอื้อนเอ่ย
บัญญัติ เป็นเพียงสิ่งต่ำต้อยแบกรับความยิ่งใหญ่


แสดงโพสต์จาก:  เรียงตาม  
กลับไปยังกระทู้  [ 59 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1, 2, 3, 4  ต่อไป

เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


 ผู้ใช้งานขณะนี้

่กำลังดูบอร์ดนี้: ไม่มีสมาชิก และ บุคคลทั่วไป 1 ท่าน


ท่าน ไม่สามารถ โพสต์กระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ตอบกระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แก้ไขโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ลบโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แนบไฟล์ในบอร์ดนี้ได้

ค้นหาสำหรับ:
ไปที่:  
Google
ทั่วไป เว็บธรรมจักร