วันเวลาปัจจุบัน 20 ก.ค. 2025, 20:21  



เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง




กลับไปยังกระทู้  [ 41 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1, 2, 3  ต่อไป  Bookmark and Share
เจ้าของ ข้อความ
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 24 เม.ย. 2012, 20:18 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:

หลังจากนั้นนั่งสมาธิทุกวันตอนเย็น

เราทำแล้วสังเกตว่า เรื่องราวต่างๆที่ผ่านเข้ามาแล้วกระทบใจเราทั้งที่พอใจและไม่พอใจ
มันคงติดค้างตกตะกอนอยู่ในใจเรานี่แหละ ไม่ได้หายไปไหนเลย


นั่งสมาธิตอนค่ำ

เรื่องราวเหตุการณ์ต่างๆใน "ระหว่างวัน" ผ่านเข้ามาทีละเรื่อง ทีละเรื่อง
บางทีเรียงลำดับมาตามความหนักเบาของเหตุการณ์
บางทีเรียงมาตามลำดับเวลามาเลย ตอนเย็น ตอนเที่ยง จนถึงตอนเช้า
บางเรื่อง "เล็กๆน้อย" ระหว่างวัน ไม่คิดว่าใจมันยังเก็บเอาไว้ได้



อาศัยเนื้อความนั้น (ขีดเส้นใต้) พึงศึกษากรรมตามแนวพุทธรรมสักเล็กน้อย

“กรรมดี หรือชั่วทุกอย่างที่คนสั่งสมไว้ ย่อมมีผล ขึ้นชื่อว่ากรรม แม้จะนิดหน่อย ที่จะว่างเปล่าไปเลย ย่อมไม่มี”

(แต่ไม่พึงสับสนกับเรื่องกรรมที่ไม่ให้ผลในระดับวิถีชีวิตภายนอก)


และว่า “กรรมไม่ว่าดีหรือชั่ว ย่อมไม่สูญเปล่าเลย”

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 24 เม.ย. 2012, 20:45 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 11 ต.ค. 2010, 12:11
โพสต์: 5019


 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
กรัชกาย เขียน:



หลังจากนั้นนั่งสมาธิทุกวันตอนเย็น

เราทำแล้วสังเกตว่า เรื่องราวต่างๆที่ผ่านเข้ามาแล้วกระทบใจเราทั้งที่พอใจและไม่พอใจ
มันคงติดค้างตกตะกอนอยู่ในใจเรานี่แหละ ไม่ได้หายไปไหนเลย


นั่งสมาธิตอนค่ำ

เรื่องราวเหตุการณ์ต่างๆใน "ระหว่างวัน" ผ่านเข้ามาทีละเรื่อง ทีละเรื่อง
บางทีเรียงลำดับมาตามความหนักเบาของเหตุการณ์
บางทีเรียงมาตามลำดับเวลามาเลย ตอนเย็น ตอนเที่ยง จนถึงตอนเช้า
บางเรื่อง "เล็กๆน้อย" ระหว่างวัน ไม่คิดว่าใจมันยังเก็บเอาไว้ได้



ผู้ปฏิบัติแล้วพอรู้พอเห็นธรรมารมณ์ซึ่งปรากฏ ณ ภายใน ไม่ต้องยกศัพท์ธรรมคำบาลีซักตัว แต่พูดออกมาเป็นธรรมะทุกประโยค แล้วในชีวิตนี้ของผู้เช่นนี้แหละ จะไม่ประมาทในชีวิต เพราะเขาเห็นแสงธรรมที่ปลายอุโมงค์ :b1:


การปฏิบัติของเขาจะทำให้เขาเห็นรายละเอียดเข้าไปเรื่อย ๆ ในสิ่งที่เขาสังเกต
และเขาก็จะสังเกตเห็น ลักษณะการสะสม
และลักษณะการคลายออก
และมันก็จะเป็นความรู้ที่เขาจะรู้เอง
ทัศนะที่ต่างไป จะทำให้เกิดทางเลือกปฏิบัติที่ต่างไปจากเดิม
เกิดการเรียนรู้ ควบคู่ ไปกับการปฎิบัติ
เขาจะกระทำกับสิ่งต่าง ๆ ที่ปรากฎเข้ามาในชีวิตอย่างไร
เพื่อ ลดการสะสม เพราะมันหมายถึงการลดการคลายออก
เกิดการเรียนรู้ในเรื่อง การบริหารประสิทธิภาพการชำระใจ
เป็นแววลาดไปสู่ สภาวะหยดน้ำบนใบบัว

สภาวะธรรมทุกบท (วาทะธรรม-คำคม) ล้วนมีลำดับแห่งความเป็นมาเป็นไป

:b8: :b8: :b8:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 24 เม.ย. 2012, 20:54 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 25 เม.ย. 2009, 02:43
โพสต์: 12232


 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
อ่านข้อเขียนนั่นน่าจะให้คำตอบกระทู้นี้ได้ดีพอสมควร

ได้ไปปฏิบัติธรรมที่วัดมา
นั่งดูความคิดในหัวไปเรื่อยๆตั้งสติดูว่ามีเรื่องอะไรผ่านเข้ามาบ้าง
อดทนผ่านไปซักประมาณ3-4วัน เสียงต่างๆในหัวค่อยๆลดลงไปเอง
จนในที่สุดมันจะเงียบสนิทเลยค่ะ ไม่มีอะไรสุขเท่าความสงบจริงๆ เหมือนที่พระพุทธองค์ทรงตรัสไว้

หลังจากนั้นนั่งสมาธิทุกวันตอนเย็น
เราทำแล้วสังเกตว่า เรื่องราวต่างๆที่ผ่านเข้ามาแล้วกระทบใจเราทั้งที่พอใจและไม่พอใจ
มันคงติดค้างตกตะกอนอยู่ในใจเรานี่แหละ ไม่ได้หายไปไหนเลย

นั่งสมาธิตอนค่ำ
เรื่องราวเหตุการณ์ต่างๆใน"ระหว่างวัน" ผ่านเข้ามาทีละเรื่อง ทีละเรื่อง
บางทีเรียงลำดับมาตามความหนักเบาของเหตุการณ์
บางทีเรียงมาตามลำดับเวลามาเลย ตอนเย็น ตอนเที่ยง จนถึงตอนเช้า
บางเรื่อง"เล็กๆน้อย"ระหว่างวันไม่คิดว่าใจมันยังเก็บเอาไว้ได้

ตั้งสตินั่งดูไปเรื่อยๆเหมือนได้ทำความสะอาดล้างสิ่งสกปรกออกจากใจ"ทุกวัน"เลยค่ะ
และที่สำคัญอีกเรื่องคือเราได้รู้จักตัวเราเองมากขึ้น
โดยดูจากเรื่องที่เราเก็บมาคิดนี่แหละ มีปัญหามัวแต่โทษคนอื่น ตัวเราเองก็ใช่เล่น

เคยอ่านเรื่อง เมื่อหัวถึงหมอน ของนายตำรา ณ เมืองใต้ แบบเรียนสมัยมัธยม
ที่บอกว่าเราอาบน้ำทำความสะอาดร่างกายทุกวัน แต่ไม่เคยได้ทำความสะอาดจิตใจตัวเองเลย
ท่านสอนให้สวดมนต์ไหว้พระทุกวัน เพื่อชำระล้างจิตใจตัวเอง
เราไม่ค่อยได้ทำจนโตขึ้น เจอปัญหาต่างๆ ภาระรับผิดชอบเพิ่มขึ้นตามวัย
พอลองนั่งทำทุกวัน รู้สึกใจเบาสบายขึ้นกว่าเดิมมาก
เข้าใจเลยว่า "ชำระล้างจิตใจ"ตัวเองเป็นยังไง

พระพุทธองค์ทรงสอนให้
ละเว้นความชั่ว
ทำความดี
ทำจิตใจให้ผ่องใส
พอเราชำระพวกสิ่งตกค้างตะกอนในจิตใจเราออก
ใจเราก็โปร่งเบาสบายผ่องใส


สองอันแรกเข้าใจแต่สงสัยมาตั้งแต่เด็กว่าทำจิตใจให้ผ่องใสนี่ "ทำยังไง"
ศาสนาพุทธลงมือปฏิบัติจริง เห็นผลจริงได้ด้วยตัวเองจริงๆ


:b8: :b8: :b8:
เพิ่งจะเห็นคนที่ละความชั่วที่เกิดขึ้นไปแล้ว...ออกได้...นี้แหละ
rolleyes rolleyes rolleyes


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 24 เม.ย. 2012, 20:56 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:

หลังจากนั้นนั่งสมาธิทุกวันตอนเย็น

เราทำแล้วสังเกตว่า เรื่องราวต่างๆที่ผ่านเข้ามาแล้วกระทบใจเราทั้งที่พอใจและไม่พอใจ
มันคงติดค้างตกตะกอนอยู่ในใจเรานี่แหละ ไม่ได้หายไปไหนเลย


นั่งสมาธิตอนค่ำ

เรื่องราวเหตุการณ์ต่างๆใน "ระหว่างวัน" ผ่านเข้ามาทีละเรื่อง ทีละเรื่อง
บางทีเรียงลำดับมาตามความหนักเบาของเหตุการณ์
บางทีเรียงมาตามลำดับเวลามาเลย ตอนเย็น ตอนเที่ยง จนถึงตอนเช้า
บางเรื่อง "เล็กๆน้อย" ระหว่างวัน ไม่คิดว่าใจมันยังเก็บเอาไว้ได้


อาศัยเนื้อความนั้น (ขีดเส้นใต้) พึงศึกษากรรมตามแนวพุทธธรรม




“เจตนาหํ ภิกฺขเว กมฺมํ วทามิ” เป็นต้น แปลว่า ภิกษุทั้งหลาย เจตนานั่นแหละ เราเรียกว่า กรรม บุคคลจงใจแล้ว จึงกระทำด้วยกาย ด้วยวาจา ด้วยใจ


พึงทำความเข้าใจเกี่ยวกับความหมายของคำว่า เจตนา สักเล็กน้อย

เจตนาในทางธรรม มีความหมายละเอียดอ่อนกว่าที่เข้าใจกันทั่วไปในภาษาไทย

เจตนาทางธรรม คือ ตามหลักกรรมนี้ การกระทำ การพูดที่แสดงออกภายนอกโดยจงใจก็ดี ความคิดต่างๆ แม้เล็กๆ น้อยๆที่เกิดขึ้นๆ ชั่วครู่ชั่วขณะแล้วผ่านไปๆภายในจิตใจก็ดี

การคิดถึงสิ่งใดสิ่งหนึ่งในลักษณะใดลักษณะหนึ่งก็ดี ความรู้สึก และท่าทีของจิตใจต่อสิ่งต่างๆ ที่ได้ประสบทางตา หู จมูก ลิ้น กาย และที่ระลึก หรือ นึกขึ้นมาในใจก็ดี ล้วนมีเจตนาประกอบอยู่ด้วยทั้งสิ้น

เจตนาจึงเป็นเจตน์จำนง ความจงใจ การเลือกอารมณ์ของใจ ตัวนำที่หันเหชักพาทำให้จิตเคลื่อนไหวโน้มน้อมไปหา หรือ ผละไปจากสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เรื่องใดเรื่องหนึ่ง หรือมุ่งไปในทิศทางใดทิศทางหนึ่ง เป็นหัวหน้าเป็นผู้จัดการ หรือ เจ้ากี้เจ้าการของจิตว่า จะเอาอะไรไม่เอาอะไรกับเรื่องใดอย่างไร เป็นตัวการจัดแจงแต่งวิถีทางของจิต และในที่สุดก็เป็นตัวการปรุงแต่งจิตนั้นให้เป็นไปต่างๆ เมื่อเจตนาเกิดขึ้นครั้งหนึ่ง ก็คือ กรรมเกิดขึ้นทีหนึ่ง

เมื่อกรรมเกิดขึ้นแล้ว ก็มีผลทันที เพราะเมื่อเจตนาเกิดขึ้น ก็คือมีกิจกรรมเกิดขึ้นในจิตแล้ว จิตมีการเคลื่อนไหว หรือไหวตัวแล้ว แม้เป็นเพียงความคิดอะไรเล็กน้อย ซึ่งถึงจะไม่มีผลอะไรสำคัญ แต่ก็ไม่ไร้ผลเสียเลย อย่างน้อยก็เป็นละอองกรรมอันละเอียดที่สั่งสม หรือพอกเข้าไว้เป็นเครื่องปรุงแต่งคุณสมบัติของจิตอยู่ภายใน

เมื่อมากขึ้น เช่น จิตเสพความคิดนั้นบ่อยๆ หรือความคิดนั้นรุนแรงขึ้นจนออกมาภายนอก ผลก็แรงขึ้นขยายออกมาเป็นลักษณะนิสัย บุคลิกภาพ เป็นต้น

เช่น เจตนาในการทำร้าย ไม่ต้องพูดถึงกรรมร้ายแรงถึงขั้นจะฆ่าคน แม้แต่การทำลายสิ่งของที่เล็กๆน้อยๆ เหลือเกิน ถ้าทำด้วยเจตนาทำร้ายคือประกอบด้วยโทสจิตหรือมีความโกรธ

อย่างคนฉีกกระดาษด้วยความฉุนเฉียว ทั้งที่กระดาษนั้นไม่มีคุณค่าสำคัญอะไร แต่ย่อมมีผลต่อสุขภาพจิต หาเหมือนกันไม่กับการฉีกกระดาษของคนที่ทำด้วยจิตปกติโดยรู้ว่า จะไม่ใช้กระดาษนั้นแล้ว

เมื่อทำการอะไรๆ ด้วยเจตนาอย่างนั้นบ่อยๆ ผลแห่งการสั่งสมก็จะปรากฏชัดยิ่งขึ้น และอาจขยายกว้างออกไปในระดับต่างๆโดยลำดับ

เปรียบเหมือน ฝุ่นละอองที่ปลิวเข้ามาในห้องทีละเล็กละน้อยอย่างที่มิได้สังเกตเลย ย่อมไม่มีส่วนใดที่จะไร้ผลเสียเลย
แต่ผลนั้นจะสำคัญแค่ไหน นอกจากเป็นไปตามความแรงและปริมาณของสิ่งที่สั่งสมแล้ว ยังสัมพันธ์กับคุณภาพ และการใช้งานของจิตใจในระดับต่างๆอีกด้วย

ฝุ่นละอองปลิวลงจับท้องถนนกว่าจะทำให้รู้สึกสกปรก ก็ต้องมีปริมาณมากมาย
ฝุ่นละอองปลิวลงบนพื้นเรือน แม้น้อยกว่านั้นก็รู้สึกสกปรก
ฝุ่นละอองน้อยกว่านั้นลงจับโต๊ะเขียนหนังสือ ก็สกปรกและรบกวนงาน น้อยกว่านั้นอีกลงจับกระจกเงาส่องหน้า ก็รู้สึกเปื้อนและกระทบการใช้งาน
ธุลีนิดเดียวจับแว่นตา ก็รู้สึกได้และทำให้การเห็นพร่ามัวได้ ฯลฯ

รวมความ คือ เจตน์จำนงคือเจตนา หรือกรรมนั้นแม้เล็กน้อย ก็มิได้ไร้ผล ดังพุทธศาสนสุภาษิตว่า

“กรรมดี หรือ ชั่ว ทุกอย่างที่คนสั่งสมไว้ ย่อมมีผล ขึ้นชื่อว่ากรรม แม้จะนิดหน่อย ที่จะว่างเปล่าไปเลย ย่อมไม่มี” และว่า “กรรมไม่ว่าดีหรือชั่ว ย่อมไม่สูญเปล่าเลย”

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 24 เม.ย. 2012, 21:01 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
อ่านข้อเขียนนั่นน่าจะให้คำตอบกระทู้นี้ได้ดีพอสมควร

ได้ไปปฏิบัติธรรมที่วัดมา
นั่งดูความคิดในหัวไปเรื่อยๆตั้งสติดูว่ามีเรื่องอะไรผ่านเข้ามาบ้าง
อดทนผ่านไปซักประมาณ3-4วัน เสียงต่างๆในหัวค่อยๆลดลงไปเอง
จนในที่สุดมันจะเงียบสนิทเลยค่ะ ไม่มีอะไรสุขเท่าความสงบจริงๆ เหมือนที่พระพุทธองค์ทรงตรัสไว้

หลังจากนั้นนั่งสมาธิทุกวันตอนเย็น
เราทำแล้วสังเกตว่า เรื่องราวต่างๆที่ผ่านเข้ามาแล้วกระทบใจเราทั้งที่พอใจและไม่พอใจ
มันคงติดค้างตกตะกอนอยู่ในใจเรานี่แหละ ไม่ได้หายไปไหนเลย

นั่งสมาธิตอนค่ำ
เรื่องราวเหตุการณ์ต่างๆใน"ระหว่างวัน" ผ่านเข้ามาทีละเรื่อง ทีละเรื่อง
บางทีเรียงลำดับมาตามความหนักเบาของเหตุการณ์
บางทีเรียงมาตามลำดับเวลามาเลย ตอนเย็น ตอนเที่ยง จนถึงตอนเช้า
บางเรื่อง"เล็กๆน้อย"ระหว่างวันไม่คิดว่าใจมันยังเก็บเอาไว้ได้

ตั้งสตินั่งดูไปเรื่อยๆเหมือนได้ทำความสะอาดล้างสิ่งสกปรกออกจากใจ"ทุกวัน"เลยค่ะ
และที่สำคัญอีกเรื่องคือเราได้รู้จักตัวเราเองมากขึ้น
โดยดูจากเรื่องที่เราเก็บมาคิดนี่แหละ มีปัญหามัวแต่โทษคนอื่น ตัวเราเองก็ใช่เล่น

เคยอ่านเรื่อง เมื่อหัวถึงหมอน ของนายตำรา ณ เมืองใต้ แบบเรียนสมัยมัธยม
ที่บอกว่าเราอาบน้ำทำความสะอาดร่างกายทุกวัน แต่ไม่เคยได้ทำความสะอาดจิตใจตัวเองเลย
ท่านสอนให้สวดมนต์ไหว้พระทุกวัน เพื่อชำระล้างจิตใจตัวเอง
เราไม่ค่อยได้ทำจนโตขึ้น เจอปัญหาต่างๆ ภาระรับผิดชอบเพิ่มขึ้นตามวัย
พอลองนั่งทำทุกวัน รู้สึกใจเบาสบายขึ้นกว่าเดิมมาก
เข้าใจเลยว่า "ชำระล้างจิตใจ"ตัวเองเป็นยังไง

พระพุทธองค์ทรงสอนให้
ละเว้นความชั่ว
ทำความดี
ทำจิตใจให้ผ่องใส
พอเราชำระพวกสิ่งตกค้างตะกอนในจิตใจเราออก
ใจเราก็โปร่งเบาสบายผ่องใส

สองอันแรกเข้าใจแต่สงสัยมาตั้งแต่เด็กว่าทำจิตใจให้ผ่องใสนี่ "ทำยังไง"
ศาสนาพุทธลงมือปฏิบัติจริง เห็นผลจริงได้ด้วยตัวเองจริงๆ

มันเหมือน ได้ "หยุด" ตัวเองไว้ในช่วงเวลาหนึ่ง
ได้มีเวลาตั้งสติทบทวนเรื่องราวต่างๆ
บางทีคำตอบของปัญหาที่ค้างคาใจมานานมัน "ผุดขึ้นมา" ตอนนั่งสมาธินี่แหละค่ะ
คิดถึงการ์ตูนที่เคยดูมาตั้งแต่เด็ก เรื่อง "อิดคิวซัง" เลย เวลามีปัญหาต้อง "ใช้หมองนั่งมาธิ"
ไม่คิดว่า "ชีวิตจริง" เราก็ต้องทำเหมือนท่านอิดคิวนี่แหละ

ตั้งแต่มาสนใจศึกษาธรรมะ
เรารู้สึกว่าเราเข้าใจมากขึ้น
ศาสนาพุทธจริงๆ ไม่ใช่แค่ทำทาน ถือศีล นั่งสมาธิ
จริงๆแล้วมันลึกซึ้งกว่านั้นมากธาตุ4 ขันธ์5 อายตนะ6
ธาตุ4 ดิน น้ำ ลม ไฟ มันมีจริงๆ ไม่ใช่แค่ละครจักรๆวงศ์ๆ ตอนเช้าซักหน่อย

เสียดายวันเวลาในชีวิตที่ผ่านมาที่ไม่เคยให้เวลากับธรรมะเลย
ทั้งๆที่เราว่ามันน่าจะเป็นเรื่องสำคัญมากที่สุดเรื่องหนึ่งในชีวิตของคนคนนึงทีเดียว

เราเริ่มรู้ว่าจริงๆแล้วพระพุทธองค์ทรงค้นพบอะไร และทรงต้องการจะบอกอะไรพวกเรา
คำสอนของพระพุทธองค์ เป็นที่พึ่ง กำจัดภัยได้จริง เหมือนในบทสวดมนต์ว่าไว้จริงๆค่ะ



นำมาจากที่นี่

http://www.pantip.com/cafe/religious/to ... 02005.html

ก็เข้าตำราที่ว่า สติปัญญาลึกซึ้งตามลำดับๆ (สุตมยปัญญา จินตามยปัญญา และภาวนามยปัญญา)


พอรู้ก็หลุด ไม่รู้จึงติด

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 24 เม.ย. 2012, 21:41 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 25 เม.ย. 2009, 02:43
โพสต์: 12232


 ข้อมูลส่วนตัว


:b8: :b8: :b8:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 29 เม.ย. 2012, 07:38 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 18 ก.ย. 2011, 21:51
โพสต์: 4941


 ข้อมูลส่วนตัว




b13.jpg
b13.jpg [ 48.9 KiB | เปิดดู 3069 ครั้ง ]
eragon_joe เขียน:
กรัชกาย เขียน:
อ่านข้อเขียนนั่นน่าจะให้คำตอบกระทู้นี้ได้ดีพอสมควร

ได้ไปปฏิบัติธรรมที่วัดมา
นั่งดูความคิดในหัวไปเรื่อยๆตั้งสติดูว่ามีเรื่องอะไรผ่านเข้ามาบ้าง
อดทนผ่านไปซักประมาณ3-4วัน เสียงต่างๆในหัวค่อยๆลดลงไปเอง
จนในที่สุดมันจะเงียบสนิทเลยค่ะ ไม่มีอะไรสุขเท่าความสงบจริงๆ เหมือนที่พระพุทธองค์ทรงตรัสไว้

หลังจากนั้นนั่งสมาธิทุกวันตอนเย็น
เราทำแล้วสังเกตว่า เรื่องราวต่างๆที่ผ่านเข้ามาแล้วกระทบใจเราทั้งที่พอใจและไม่พอใจ
มันคงติดค้างตกตะกอนอยู่ในใจเรานี่แหละ ไม่ได้หายไปไหนเลย

นั่งสมาธิตอนค่ำ
เรื่องราวเหตุการณ์ต่างๆใน"ระหว่างวัน" ผ่านเข้ามาทีละเรื่อง ทีละเรื่อง
บางทีเรียงลำดับมาตามความหนักเบาของเหตุการณ์
บางทีเรียงมาตามลำดับเวลามาเลย ตอนเย็น ตอนเที่ยง จนถึงตอนเช้า
บางเรื่อง"เล็กๆน้อย"ระหว่างวันไม่คิดว่าใจมันยังเก็บเอาไว้ได้

ตั้งสตินั่งดูไปเรื่อยๆเหมือนได้ทำความสะอาดล้างสิ่งสกปรกออกจากใจ"ทุกวัน"เลยค่ะ
และที่สำคัญอีกเรื่องคือเราได้รู้จักตัวเราเองมากขึ้น
โดยดูจากเรื่องที่เราเก็บมาคิดนี่แหละ มีปัญหามัวแต่โทษคนอื่น ตัวเราเองก็ใช่เล่น

เคยอ่านเรื่อง เมื่อหัวถึงหมอน ของนายตำรา ณ เมืองใต้ แบบเรียนสมัยมัธยม
ที่บอกว่าเราอาบน้ำทำความสะอาดร่างกายทุกวัน แต่ไม่เคยได้ทำความสะอาดจิตใจตัวเองเลย
ท่านสอนให้สวดมนต์ไหว้พระทุกวัน เพื่อชำระล้างจิตใจตัวเอง
เราไม่ค่อยได้ทำจนโตขึ้น เจอปัญหาต่างๆ ภาระรับผิดชอบเพิ่มขึ้นตามวัย
พอลองนั่งทำทุกวัน รู้สึกใจเบาสบายขึ้นกว่าเดิมมาก
เข้าใจเลยว่า "ชำระล้างจิตใจ"ตัวเองเป็นยังไง

พระพุทธองค์ทรงสอนให้
ละเว้นความชั่ว
ทำความดี
ทำจิตใจให้ผ่องใส
พอเราชำระพวกสิ่งตกค้างตะกอนในจิตใจเราออก
ใจเราก็โปร่งเบาสบายผ่องใส

สองอันแรกเข้าใจแต่สงสัยมาตั้งแต่เด็กว่าทำจิตใจให้ผ่องใสนี่ "ทำยังไง"
ศาสนาพุทธลงมือปฏิบัติจริง เห็นผลจริงได้ด้วยตัวเองจริงๆ

มันเหมือน ได้ "หยุด" ตัวเองไว้ในช่วงเวลาหนึ่ง
ได้มีเวลาตั้งสติทบทวนเรื่องราวต่างๆ
บางทีคำตอบของปัญหาที่ค้างคาใจมานานมัน "ผุดขึ้นมา" ตอนนั่งสมาธินี่แหละค่ะ
คิดถึงการ์ตูนที่เคยดูมาตั้งแต่เด็ก เรื่อง "อิดคิวซัง" เลย เวลามีปัญหาต้อง "ใช้หมองนั่งมาธิ"
ไม่คิดว่า "ชีวิตจริง" เราก็ต้องทำเหมือนท่านอิดคิวนี่แหละ

ตั้งแต่มาสนใจศึกษาธรรมะ
เรารู้สึกว่าเราเข้าใจมากขึ้น
ศาสนาพุทธจริงๆ ไม่ใช่แค่ทำทาน ถือศีล นั่งสมาธิ
จริงๆแล้วมันลึกซึ้งกว่านั้นมากธาตุ4 ขันธ์5 อายตนะ6
ธาตุ4 ดิน น้ำ ลม ไฟ มันมีจริงๆ ไม่ใช่แค่ละครจักรๆวงศ์ๆ ตอนเช้าซักหน่อย

เสียดายวันเวลาในชีวิตที่ผ่านมาที่ไม่เคยให้เวลากับธรรมะเลย
ทั้งๆที่เราว่ามันน่าจะเป็นเรื่องสำคัญมากที่สุดเรื่องหนึ่งในชีวิตของคนคนนึงทีเดียว

เราเริ่มรู้ว่าจริงๆแล้วพระพุทธองค์ทรงค้นพบอะไร และทรงต้องการจะบอกอะไรพวกเรา
คำสอนของพระพุทธองค์ เป็นที่พึ่ง กำจัดภัยได้จริง เหมือนในบทสวดมนต์ว่าไว้จริงๆค่ะ


:b8:

onion
เคล็ดลับหรือเทคนิควิธีชำระใจให้ขาวรอบ
:b8:
"นิ่งรู้ นิ่งสังเกต ปัจจุบันอารมณ์ จนอารมณ์นั้น ดับไปต่อหน้าต่อตา โดยไม่มีปฏิกิริยาตอบโต้ใดๆ มีแต่ "รู้"
และสังเกตไปจนตลอดสายแห่งอารมณ์ ตั้งแต่เกิดจนดับ ถ้าทำได้อย่างนี้กับอารมณ์ใด อารมณ์นั้นจะถูกเพิกถอนออกจากอุปาทาน

onion onion
อุปมาเหมือนหนังในซีดี ที่เราเคยดูจนจบเรื่อง มาเปิดดูรอบที่ 2 เราแทบจะไม่อยากดู หรือหมดความอยากดูโยนซีดีแผ่นนั้นทิ้งไป ยกเว้นซีดีแผ่นนั้นมีอะไรที่น่าติดใจอยู่ อาจเอามาดูได้อีกหลายซ้ำ แต่ในที่สุดก็จะเบื่ออยู่ดีแล้ววางทิ้งซีดีหนังเรื่องนั้นไป
:b27:
:b12:
คงพอเสริมเพิ่มเติมให้ค้นพบอะไรสักอย่างหนึ่งเพื่อพัฒนาการปฏิบัติต่อไปให้ก้าวหน้ายิ่งๆขึ้นนะครับ
หมายเหตุ: อย่าเจริญแต่สติอยางเดียว สติกับปัญญา (สัมปฌาโน) เขาจะต้องเจริญควบคู่กันไปเสมอจึงจะสามารถเพิกถอนอุปาทานทั้งหมดได้ ถ้าเจริญแต่สติเน้นสติ จะเป็นเพียงแค่การเบรกอารมณ์ เบรกอนุสัย แต่ไม่สามารถขุดถอนอนุสัยได้ครับ(กลับไปสังเกตพิจารณาลำดับคำสอนในสติปัฏฐาน 4 บาลีให้ดีๆนะครับ


"อาตาปี.....สัมปฌาโน.....สติมา.......วิเนยยะโลเก อภิชฌา โทมนัสสัง"
:b27:
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 29 เม.ย. 2012, 08:48 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 11 ต.ค. 2010, 12:11
โพสต์: 5019


 ข้อมูลส่วนตัว


asoka เขียน:
onion
เคล็ดลับหรือเทคนิควิธีชำระใจให้ขาวรอบ
:b8:
"นิ่งรู้ นิ่งสังเกต ปัจจุบันอารมณ์ จนอารมณ์นั้น ดับไปต่อหน้าต่อตา โดยไม่มีปฏิกิริยาตอบโต้ใดๆ มีแต่ "รู้"
และสังเกตไปจนตลอดสายแห่งอารมณ์ ตั้งแต่เกิดจนดับ ถ้าทำได้อย่างนี้กับอารมณ์ใด อารมณ์นั้นจะถูกเพิกถอนออกจากอุปาทาน


onion onion
อุปมาเหมือนหนังในซีดี ที่เราเคยดูจนจบเรื่อง มาเปิดดูรอบที่ 2 เราแทบจะไม่อยากดู หรือหมดความอยากดูโยนซีดีแผ่นนั้นทิ้งไป ยกเว้นซีดีแผ่นนั้นมีอะไรที่น่าติดใจอยู่ อาจเอามาดูได้อีกหลายซ้ำ แต่ในที่สุดก็จะเบื่ออยู่ดีแล้ววางทิ้งซีดีหนังเรื่องนั้นไป
:b27:
:b12:

คงพอเสริมเพิ่มเติมให้ค้นพบอะไรสักอย่างหนึ่งเพื่อพัฒนาการปฏิบัติต่อไปให้ก้าวหน้ายิ่งๆขึ้นนะครับ
หมายเหตุ: อย่าเจริญแต่สติอยางเดียว สติกับปัญญา (สัมปฌาโน) เขาจะต้องเจริญควบคู่กันไปเสมอจึงจะสามารถเพิกถอนอุปาทานทั้งหมดได้ ถ้าเจริญแต่สติเน้นสติ จะเป็นเพียงแค่การเบรกอารมณ์ เบรกอนุสัย แต่ไม่สามารถขุดถอนอนุสัยได้ครับ(กลับไปสังเกตพิจารณาลำดับคำสอนในสติปัฏฐาน 4 บาลีให้ดีๆนะครับ


"อาตาปี.....สัมปฌาโน.....สติมา.......วิเนยยะโลเก อภิชฌา โทมนัสสัง"
:b27:


ยังจะเสริมอะไรอีก

อ่านตำแหน่งใจบนแผนที่ให้ดี

ถ้าใจถึงจุดหมายแล้ว การที่ใจจะวกกลับมาแสวงหาหนทางใด ๆ เพื่อการเสร็จกิจเดิม ๆ อีก
จะมีขึ้นหรือไม่ อย่างไร

เว้นเสีย อุปทานไปในวิชา

อ่านตำแหน่งใจบนแผนที่ดูดี ๆ
ถ้าใจถึงจุดหมายจริง ๆ แล้ว เขาจะเข้าไปตั้งพัก เช่นไร

:b8:

ข้อนี้พระพุทธองค์ทรงบอกสอนไว้แล้ว

:b8:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 29 เม.ย. 2012, 10:48 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 25 เม.ย. 2009, 02:43
โพสต์: 12232


 ข้อมูลส่วนตัว


แห่ม.....พูดได้เพราะดี....ตำแหน่งใจ...

ถ้าอารมณ์นั้นกลับมาเกิดอีก....ดับก็ดับไม่จริง...ใช่ปะ..
:b16: :b12: :b12:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 29 เม.ย. 2012, 10:59 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 18 ก.ย. 2011, 21:51
โพสต์: 4941


 ข้อมูลส่วนตัว


eragon_joe เขียน:
asoka เขียน:
onion
เคล็ดลับหรือเทคนิควิธีชำระใจให้ขาวรอบ
:b8:
"นิ่งรู้ นิ่งสังเกต ปัจจุบันอารมณ์ จนอารมณ์นั้น ดับไปต่อหน้าต่อตา โดยไม่มีปฏิกิริยาตอบโต้ใดๆ มีแต่ "รู้"
และสังเกตไปจนตลอดสายแห่งอารมณ์ ตั้งแต่เกิดจนดับ ถ้าทำได้อย่างนี้กับอารมณ์ใด อารมณ์นั้นจะถูกเพิกถอนออกจากอุปาทาน


onion onion
อุปมาเหมือนหนังในซีดี ที่เราเคยดูจนจบเรื่อง มาเปิดดูรอบที่ 2 เราแทบจะไม่อยากดู หรือหมดความอยากดูโยนซีดีแผ่นนั้นทิ้งไป ยกเว้นซีดีแผ่นนั้นมีอะไรที่น่าติดใจอยู่ อาจเอามาดูได้อีกหลายซ้ำ แต่ในที่สุดก็จะเบื่ออยู่ดีแล้ววางทิ้งซีดีหนังเรื่องนั้นไป
:b27:
:b12:

คงพอเสริมเพิ่มเติมให้ค้นพบอะไรสักอย่างหนึ่งเพื่อพัฒนาการปฏิบัติต่อไปให้ก้าวหน้ายิ่งๆขึ้นนะครับ
หมายเหตุ: อย่าเจริญแต่สติอยางเดียว สติกับปัญญา (สัมปฌาโน) เขาจะต้องเจริญควบคู่กันไปเสมอจึงจะสามารถเพิกถอนอุปาทานทั้งหมดได้ ถ้าเจริญแต่สติเน้นสติ จะเป็นเพียงแค่การเบรกอารมณ์ เบรกอนุสัย แต่ไม่สามารถขุดถอนอนุสัยได้ครับ(กลับไปสังเกตพิจารณาลำดับคำสอนในสติปัฏฐาน 4 บาลีให้ดีๆนะครับ


"อาตาปี.....สัมปฌาโน.....สติมา.......วิเนยยะโลเก อภิชฌา โทมนัสสัง"
:b27:


ยังจะเสริมอะไรอีก

อ่านตำแหน่งใจบนแผนที่ให้ดี

ถ้าใจถึงจุดหมายแล้ว การที่ใจจะวกกลับมาแสวงหาหนทางใด ๆ เพื่อการเสร็จกิจเดิม ๆ อีก
จะมีขึ้นหรือไม่ อย่างไร

เว้นเสีย อุปทานไปในวิชา

อ่านตำแหน่งใจบนแผนที่ดูดี ๆ
ถ้าใจถึงจุดหมายจริง ๆ แล้ว เขาจะเข้าไปตั้งพัก เช่นไร

:b8:

ข้อนี้พระพุทธองค์ทรงบอกสอนไว้แล้ว

:b8:

:b10:
ตำแหน่งใจบนแผนที่เป็นตอนไหน หรือตอนนี้
:b1:
"ตั้งสตินั่งดูไปเรื่อยๆเหมือนได้ทำความสะอาดล้างสิ่งสกปรกออกจากใจ"ทุกวัน"เลยค่ะ
:b27:
ถ้าเป็นตอนนี้ ใจยังอยู่ในตำแหน่งที่ยังไม่สมดุลย์เท่าที่ควร จึงมีข้อสังเกตการณ์ดังที่กล่าวครับ ท่านเอราก้อน onion
ในกรณี "ใจถึงจุดหมาย"นั้นเป็นอีกเรื่องหนึ่ง เป็นเรื่องของผลที่ชำระจิตได้บริสุทธิ์ถึงระดับที่ 1หรือ2 - 3 - 4
:b16:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 29 เม.ย. 2012, 11:08 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 11 ต.ค. 2010, 12:11
โพสต์: 5019


 ข้อมูลส่วนตัว


asoka เขียน:
eragon_joe เขียน:
กรัชกาย เขียน:
อ่านข้อเขียนนั่นน่าจะให้คำตอบกระทู้นี้ได้ดีพอสมควร

ได้ไปปฏิบัติธรรมที่วัดมา
นั่งดูความคิดในหัวไปเรื่อยๆตั้งสติดูว่ามีเรื่องอะไรผ่านเข้ามาบ้าง
อดทนผ่านไปซักประมาณ3-4วัน เสียงต่างๆในหัวค่อยๆลดลงไปเอง
จนในที่สุดมันจะเงียบสนิทเลยค่ะ ไม่มีอะไรสุขเท่าความสงบจริงๆ เหมือนที่พระพุทธองค์ทรงตรัสไว้

หลังจากนั้นนั่งสมาธิทุกวันตอนเย็น
เราทำแล้วสังเกตว่า เรื่องราวต่างๆที่ผ่านเข้ามาแล้วกระทบใจเราทั้งที่พอใจและไม่พอใจ
มันคงติดค้างตกตะกอนอยู่ในใจเรานี่แหละ ไม่ได้หายไปไหนเลย

นั่งสมาธิตอนค่ำ
เรื่องราวเหตุการณ์ต่างๆใน"ระหว่างวัน" ผ่านเข้ามาทีละเรื่อง ทีละเรื่อง
บางทีเรียงลำดับมาตามความหนักเบาของเหตุการณ์
บางทีเรียงมาตามลำดับเวลามาเลย ตอนเย็น ตอนเที่ยง จนถึงตอนเช้า
บางเรื่อง"เล็กๆน้อย"ระหว่างวันไม่คิดว่าใจมันยังเก็บเอาไว้ได้

ตั้งสตินั่งดูไปเรื่อยๆเหมือนได้ทำความสะอาดล้างสิ่งสกปรกออกจากใจ"ทุกวัน"เลยค่ะ
และที่สำคัญอีกเรื่องคือเราได้รู้จักตัวเราเองมากขึ้น
โดยดูจากเรื่องที่เราเก็บมาคิดนี่แหละ มีปัญหามัวแต่โทษคนอื่น ตัวเราเองก็ใช่เล่น

เคยอ่านเรื่อง เมื่อหัวถึงหมอน ของนายตำรา ณ เมืองใต้ แบบเรียนสมัยมัธยม
ที่บอกว่าเราอาบน้ำทำความสะอาดร่างกายทุกวัน แต่ไม่เคยได้ทำความสะอาดจิตใจตัวเองเลย
ท่านสอนให้สวดมนต์ไหว้พระทุกวัน เพื่อชำระล้างจิตใจตัวเอง
เราไม่ค่อยได้ทำจนโตขึ้น เจอปัญหาต่างๆ ภาระรับผิดชอบเพิ่มขึ้นตามวัย
พอลองนั่งทำทุกวัน รู้สึกใจเบาสบายขึ้นกว่าเดิมมาก
เข้าใจเลยว่า "ชำระล้างจิตใจ"ตัวเองเป็นยังไง

พระพุทธองค์ทรงสอนให้
ละเว้นความชั่ว
ทำความดี
ทำจิตใจให้ผ่องใส
พอเราชำระพวกสิ่งตกค้างตะกอนในจิตใจเราออก
ใจเราก็โปร่งเบาสบายผ่องใส

สองอันแรกเข้าใจแต่สงสัยมาตั้งแต่เด็กว่าทำจิตใจให้ผ่องใสนี่ "ทำยังไง"
ศาสนาพุทธลงมือปฏิบัติจริง เห็นผลจริงได้ด้วยตัวเองจริงๆ

มันเหมือน ได้ "หยุด" ตัวเองไว้ในช่วงเวลาหนึ่ง
ได้มีเวลาตั้งสติทบทวนเรื่องราวต่างๆ
บางทีคำตอบของปัญหาที่ค้างคาใจมานานมัน "ผุดขึ้นมา" ตอนนั่งสมาธินี่แหละค่ะ
คิดถึงการ์ตูนที่เคยดูมาตั้งแต่เด็ก เรื่อง "อิดคิวซัง" เลย เวลามีปัญหาต้อง "ใช้หมองนั่งมาธิ"
ไม่คิดว่า "ชีวิตจริง" เราก็ต้องทำเหมือนท่านอิดคิวนี่แหละ

ตั้งแต่มาสนใจศึกษาธรรมะ
เรารู้สึกว่าเราเข้าใจมากขึ้น
ศาสนาพุทธจริงๆ ไม่ใช่แค่ทำทาน ถือศีล นั่งสมาธิ
จริงๆแล้วมันลึกซึ้งกว่านั้นมากธาตุ4 ขันธ์5 อายตนะ6
ธาตุ4 ดิน น้ำ ลม ไฟ มันมีจริงๆ ไม่ใช่แค่ละครจักรๆวงศ์ๆ ตอนเช้าซักหน่อย

เสียดายวันเวลาในชีวิตที่ผ่านมาที่ไม่เคยให้เวลากับธรรมะเลย
ทั้งๆที่เราว่ามันน่าจะเป็นเรื่องสำคัญมากที่สุดเรื่องหนึ่งในชีวิตของคนคนนึงทีเดียว

เราเริ่มรู้ว่าจริงๆแล้วพระพุทธองค์ทรงค้นพบอะไร และทรงต้องการจะบอกอะไรพวกเรา
คำสอนของพระพุทธองค์ เป็นที่พึ่ง กำจัดภัยได้จริง เหมือนในบทสวดมนต์ว่าไว้จริงๆค่ะ


:b8:

onion
เคล็ดลับหรือเทคนิควิธีชำระใจให้ขาวรอบ
:b8:
"นิ่งรู้ นิ่งสังเกต ปัจจุบันอารมณ์ จนอารมณ์นั้น ดับไปต่อหน้าต่อตา โดยไม่มีปฏิกิริยาตอบโต้ใดๆ มีแต่ "รู้"
และสังเกตไปจนตลอดสายแห่งอารมณ์ ตั้งแต่เกิดจนดับ ถ้าทำได้อย่างนี้กับอารมณ์ใด อารมณ์นั้นจะถูกเพิกถอนออกจากอุปาทาน

onion onion
อุปมาเหมือนหนังในซีดี ที่เราเคยดูจนจบเรื่อง มาเปิดดูรอบที่ 2 เราแทบจะไม่อยากดู หรือหมดความอยากดูโยนซีดีแผ่นนั้นทิ้งไป ยกเว้นซีดีแผ่นนั้นมีอะไรที่น่าติดใจอยู่ อาจเอามาดูได้อีกหลายซ้ำ แต่ในที่สุดก็จะเบื่ออยู่ดีแล้ววางทิ้งซีดีหนังเรื่องนั้นไป
:b27:
:b12:
คงพอเสริมเพิ่มเติมให้ค้นพบอะไรสักอย่างหนึ่งเพื่อพัฒนาการปฏิบัติต่อไปให้ก้าวหน้ายิ่งๆขึ้นนะครับ
หมายเหตุ: อย่าเจริญแต่สติอยางเดียว สติกับปัญญา (สัมปฌาโน) เขาจะต้องเจริญควบคู่กันไปเสมอจึงจะสามารถเพิกถอนอุปาทานทั้งหมดได้ ถ้าเจริญแต่สติเน้นสติ จะเป็นเพียงแค่การเบรกอารมณ์ เบรกอนุสัย แต่ไม่สามารถขุดถอนอนุสัยได้ครับ(กลับไปสังเกตพิจารณาลำดับคำสอนในสติปัฏฐาน 4 บาลีให้ดีๆนะครับ


"อาตาปี.....สัมปฌาโน.....สติมา.......วิเนยยะโลเก อภิชฌา โทมนัสสัง"
:b27:


ท่านหยิบกระทู้ที่เอกอน :b8: การนำตัวอย่างมานำเสนอของท่านกรัชกาย

กรัชกาย เขียน:

นำมาจากที่นี่

http://www.pantip.com/cafe/religious/to ... 02005.html

ก็เข้าตำราที่ว่า สติปัญญาลึกซึ้งตามลำดับๆ (สุตมยปัญญา จินตามยปัญญา และภาวนามยปัญญา)

พอรู้ก็หลุด ไม่รู้จึงติด


ซึ่งก็เป็นกระทู้ที่ท่านกรัชกายนำมาจากผู้ปฏิบัติซึ่งโพสต์ไว้ใน pantip
ว่าแต่ท่านจะเสริมใคร ท่านไม่ได้ทำให้แจ้ง

:b8:

เอกอนเห็นท่าจะกำกวม ก็เลยแกล้งหยอดมุขกลับมาให้ท่านเห็นเป็นต้องชี้แจง

:b8:

asoka เขียน:
:b10:
ตำแหน่งใจบนแผนที่เป็นตอนไหน หรือตอนนี้
:b1:
"ตั้งสตินั่งดูไปเรื่อยๆเหมือนได้ทำความสะอาดล้างสิ่งสกปรกออกจากใจ"ทุกวัน"เลยค่ะ
:b27:
ถ้าเป็นตอนนี้ ใจยังอยู่ในตำแหน่งที่ยังไม่สมดุลย์เท่าที่ควร จึงมีข้อสังเกตการณ์ดังที่กล่าวครับ ท่านเอราก้อน onion
ในกรณี "ใจถึงจุดหมาย"นั้นเป็นอีกเรื่องหนึ่ง เป็นเรื่องของผลที่ชำระจิตได้บริสุทธิ์ถึงระดับที่ 1หรือ2 - 3 - 4
:b16:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 29 เม.ย. 2012, 12:03 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 11 ต.ค. 2010, 12:11
โพสต์: 5019


 ข้อมูลส่วนตัว


ส่วนตำแหน่งใจของเจ้าของบทความเอกอนได้เปรย ๆ ไปแล้ว

eragon_joe เขียน:
กรัชกาย เขียน:
กรัชกาย เขียน:



หลังจากนั้นนั่งสมาธิทุกวันตอนเย็น

เราทำแล้วสังเกตว่า เรื่องราวต่างๆที่ผ่านเข้ามาแล้วกระทบใจเราทั้งที่พอใจและไม่พอใจ
มันคงติดค้างตกตะกอนอยู่ในใจเรานี่แหละ ไม่ได้หายไปไหนเลย


นั่งสมาธิตอนค่ำ

เรื่องราวเหตุการณ์ต่างๆใน "ระหว่างวัน" ผ่านเข้ามาทีละเรื่อง ทีละเรื่อง
บางทีเรียงลำดับมาตามความหนักเบาของเหตุการณ์
บางทีเรียงมาตามลำดับเวลามาเลย ตอนเย็น ตอนเที่ยง จนถึงตอนเช้า
บางเรื่อง "เล็กๆน้อย" ระหว่างวัน ไม่คิดว่าใจมันยังเก็บเอาไว้ได้



ผู้ปฏิบัติแล้วพอรู้พอเห็นธรรมารมณ์ซึ่งปรากฏ ณ ภายใน ไม่ต้องยกศัพท์ธรรมคำบาลีซักตัว แต่พูดออกมาเป็นธรรมะทุกประโยค แล้วในชีวิตนี้ของผู้เช่นนี้แหละ จะไม่ประมาทในชีวิต เพราะเขาเห็นแสงธรรมที่ปลายอุโมงค์ :b1:


การปฏิบัติของเขาจะทำให้เขาเห็นรายละเอียดเข้าไปเรื่อย ๆ ในสิ่งที่เขาสังเกต
และเขาก็จะสังเกตเห็น ลักษณะการสะสม
และลักษณะการคลายออก
และมันก็จะเป็นความรู้ที่เขาจะรู้เอง
ทัศนะที่ต่างไป จะทำให้เกิดทางเลือกปฏิบัติที่ต่างไปจากเดิม
เกิดการเรียนรู้ ควบคู่ ไปกับการปฎิบัติ
เขาจะกระทำกับสิ่งต่าง ๆ ที่ปรากฎเข้ามาในชีวิตอย่างไร
เพื่อ ลดการสะสม เพราะมันหมายถึงการลดการคลายออก
เกิดการเรียนรู้ในเรื่อง การบริหารประสิทธิภาพการชำระใจ
เป็นแววลาดไปสู่ สภาวะหยดน้ำบนใบบัว

สภาวะธรรมทุกบท (วาทะธรรม-คำคม) ล้วนมีลำดับแห่งความเป็นมาเป็นไป

:b8: :b8: :b8:


ซึ่ง "หยดน้ำบนใบบัว" เป็นหนังสือบอกเล่าถึงเรื่องราวของ หลวงตาบัว
(http://www.dhammajak.net/board/viewtopic.php?t=8856)
ซึ่งเมื่อติดตามไปตาม link ที่ท่านกรัชกายแปะไว้ก็จะพบเองว่า
ผู้ปฏิบัติมีใจน้อมศรัทธาในคำสอนของ หลวงตาบัว เป็นทุนให้ก้าวเดิน

ธรรมย่อมน้อมไปสู่ธรรม
สภาวะของผู้ปฏิบัติ น้อมไปในทางนั้น

:b8: :b8: :b8:

ส่วนเอกอนอ่านแล้วเห็น สภาวะธรรมของผู้ปฏิบัติที่น้อมไปในเส้นทางสายนั้น
จึงได้ " :b8: "


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 29 เม.ย. 2012, 12:44 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 11 ต.ค. 2010, 12:11
โพสต์: 5019


 ข้อมูลส่วนตัว


viewtopic.php?f=2&t=27817&p=292938#p292938

:b4:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 29 เม.ย. 2012, 12:57 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 9
สมาชิก ระดับ 9
ลงทะเบียนเมื่อ: 01 ก.ค. 2011, 22:53
โพสต์: 705

แนวปฏิบัติ: รู้สึกตัว
อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


ธงชาติ เขียน:
ผู้รู้จากตำรา กับ ผู้รู้ด้วยปัญญา มีลักษณะต่างกันอย่างไรบ้างครับ :b8:


การเห็นเชียงใหม่จากหนังสือท่องเที่ยว กับการไปเที่ยวจริงๆต่างกันเช่นไร การรู้ธรรมจากตำรากับการรู้สึกรู้แจ้งจริงๆนั้นย่อมต่างกันเช่นกัน รู้แจ้ง รู้จริง ชัดเจน หายสงสัยไม่ต้องถามใคร ไม่ต้องเชื่อใครบอกอีกต่อไป...เพราะเห็นเอง :b20:

.....................................................
"ธรรมะเป็นปัจจัตตัง ต้องทำเอง รู้เอง เห็นเอง เข้าใจเอง"


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 29 เม.ย. 2012, 18:45 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 18 ก.ย. 2011, 21:51
โพสต์: 4941


 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
ตอบคุณ eragon.....
ข้อความท่อนนี้สำคัญ
onion
"หลังจากนั้นนั่งสมาธิทุกวันตอนเย็น

เราทำแล้วสังเกตว่า เรื่องราวต่างๆที่ผ่านเข้ามาแล้วกระทบใจเราทั้งที่พอใจและไม่พอใจ
มันคงติดค้างตกตะกอนอยู่ในใจเรานี่แหละ
ไม่ได้หายไปไหนเลย

นั่งสมาธิตอนค่ำ

เรื่องราวเหตุการณ์ต่างๆใน "ระหว่างวัน" ผ่านเข้ามาทีละเรื่อง ทีละเรื่อง
บางทีเรียงลำดับมาตามความหนักเบาของเหตุการณ์
บางทีเรียงมาตามลำดับเวลามาเลย ตอนเย็น ตอนเที่ยง จนถึงตอนเช้า
บางเรื่อง "เล็กๆน้อย" ระหว่างวัน ไม่คิดว่าใจมันยังเก็บเอาไว้ได้
onion
1.มันตกค้างตกตะกอนอยู่ในใจเรานี่แหละ
2.ไม่คิดว่าใจมันยังเก็บเอาไว้ได้
:b10:
ทั้ง 2 ข้อนี้ได้แสดงถึงขยะหรือปฏิกูลในใจที่จะต้องถูกชำระ การชำระโดยเจริญสติรู้ตามไปเรื่อยๆไม่สามารถขุดถอนหรือชำระขยะใจเหล่านี้ได้ asoka จึงได้นำเสนอเคล็ดลับชำะใจมาให้พิจารณาครับ ลองพิจารณาดูอีกทีนะครับ
:b27:
:b8:
:b16:


แสดงโพสต์จาก:  เรียงตาม  
กลับไปยังกระทู้  [ 41 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1, 2, 3  ต่อไป

เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


 ผู้ใช้งานขณะนี้

่กำลังดูบอร์ดนี้: ไม่มีสมาชิก และ บุคคลทั่วไป 1 ท่าน


ท่าน ไม่สามารถ โพสต์กระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ตอบกระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แก้ไขโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ลบโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แนบไฟล์ในบอร์ดนี้ได้

ค้นหาสำหรับ:
ไปที่:  
Google
ทั่วไป เว็บธรรมจักร