วันเวลาปัจจุบัน 18 ก.ค. 2025, 09:59  



เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง




กลับไปยังกระทู้  [ 27 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1, 2  Bookmark and Share
เจ้าของ ข้อความ
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 28 ต.ค. 2010, 11:50 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


ขอบคุณนะครับ :b8:

อีกนิดหนึ่ง เกี่ยวกับไตรสิกขา ซึ่งเรามักนำมาพูดสั้นๆว่า ศีล สมาธิ ปัญญา

คุณวิริยะว่า เป็น ศีล สมาธิ ปัญญานี้ ความหมายเดียวกันกับ ศีลขันธ์ สมาธิขันธ์ ปัญญาขันธ์

กับ อธิศีลสิกขา อธิจิตตสิกขา อธิปัญญาสิกขา ไหมครับ หรืออย่างไร

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 28 ต.ค. 2010, 12:55 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 01 มี.ค. 2010, 16:12
โพสต์: 2298

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


แหะ..แหะ..เรื่องนี้ เกินภูมิความรู้ของผม..ขอรับ ต้องขอความกรุณา.. คุณกรัชกาย ช่วยไขข้อข้องใจของท่านผู้อ่านทั้งหลาย เพื่อให้เกิดความรู้เกิดปัญญา อย่างที่คุณจันทร์เพ็ญ กล่าวไว้แล้วละครับ :b4: :b8: :b12:

.....................................................
"พุทโธ .. พุทโธ .. พุทโธ"
ภาวนาวันละนิด จิตแจ่มใส


แก้ไขล่าสุดโดย วิริยะ เมื่อ 28 ต.ค. 2010, 12:56, แก้ไขแล้ว 1 ครั้ง

โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 28 ต.ค. 2010, 14:34 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


ขออนุญาต คำว่า “กาย” ที่คุณกล่าวก่อนหน้าใช่ ความหมายเดียวกับ “กาย” ที่ท่านกล่าวถึงในสติปัฏฐานนั่นไหมครับ

กายานุปัสสนา
(เวทนานุปัสสนา
จิตตานุปัสสนา
ธรรมานุปัสสนา)

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 28 ต.ค. 2010, 14:39 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


วิริยะ เขียน:
แหะ..แหะ..เรื่องนี้ เกินภูมิความรู้ของผม..ขอรับ ต้องขอความกรุณา.. คุณกรัชกาย ช่วยไขข้อข้องใจของท่านผู้อ่านทั้งหลาย เพื่อให้เกิดความรู้เกิดปัญญา อย่างที่คุณจันทร์เพ็ญ กล่าวไว้แล้วละครับ :b4: :b8: :b12:


ก่อนหน้าเพื่อให้เห็นการใช้ศัพท์ทางธรรมครับ เกือบได้ข้อสรุปแล้วครับ ค่อยสนทนากันไปแล้วจะเกิดปัญญาอย่างที่ จขกท.ปรารถนา เพราะบางทีเราหลงศัพท์ทางธรรมครับ

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 28 ต.ค. 2010, 14:45 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 3
สมาชิก ระดับ 3
ลงทะเบียนเมื่อ: 20 ก.ค. 2010, 15:02
โพสต์: 146

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


ขอบคุณคะ สาธุ :b8:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 28 ต.ค. 2010, 15:38 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


คำว่า “รูป” ที่ รูป- (นาม) กับที่ รูปธรรม-(นามธรรม) ความหมายเดียวกัน (อันเดียวกัน) กับที่ตำราจำแนกโดยความเป็นขันธ์

รูปขันธ์
(เวทนาขันธ์
สัญญาขันธ์
สังขารขันธ์
วิญญาณขันธ์)

เท่าที่อ่านความเห็นคุณวิริยะดังกล่าวข้างต้นน่าจะความหมายอย่างเดียวกันใช่ไหมครับ สรุปให้อย่างนี้ถูกไหมครับ

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 28 ต.ค. 2010, 16:05 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 01 มี.ค. 2010, 16:12
โพสต์: 2298

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


ผมรออ่านบทสรุปอยู่นะครับ เมื่อมีข้อสรุปแล้วจึงจะพิจารณาเทียบเคียงได้ว่า ที่ผมเข้าใจนั้น ถูกหรือผิด :b12:

.....................................................
"พุทโธ .. พุทโธ .. พุทโธ"
ภาวนาวันละนิด จิตแจ่มใส


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 28 ต.ค. 2010, 16:09 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
ขออนุญาต คำว่า “กาย” ที่คุณกล่าวก่อนหน้าใช่ ความหมายเดียวกับ “กาย” ที่ท่านกล่าวถึงในสติปัฏฐานนั่นไหมครับ

กายานุปัสสนา
(เวทนานุปัสสนา
จิตตานุปัสสนา
ธรรมานุปัสสนา)


ตอบข้อนี้ก่อนสิครับ เอาเป็นเปลาะๆข้อๆไป :b1:

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 28 ต.ค. 2010, 16:10 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
คำว่า “รูป” ที่ รูป- (นาม) กับที่ รูปธรรม-(นามธรรม) ความหมายเดียวกัน (อันเดียวกัน) กับที่ตำราจำแนกโดยความเป็นขันธ์

รูปขันธ์
(เวทนาขันธ์
สัญญาขันธ์
สังขารขันธ์
วิญญาณขันธ์)

เท่าที่อ่านความเห็นคุณวิริยะดังกล่าวข้างต้นน่าจะความหมายอย่างเดียวกันใช่ไหมครับ สรุปให้อย่างนี้ถูกไหมครับ



ข้อนี้สรุปให้แล้วครับ เพียงตอบว่าถูกหรือผิด :b12:

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 28 ต.ค. 2010, 16:24 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 01 มี.ค. 2010, 16:12
โพสต์: 2298

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


ถ้าจะให้ตอบจริงๆ ขอคิดหลายๆ วันหน่อยนะครับ :b12:

.....................................................
"พุทโธ .. พุทโธ .. พุทโธ"
ภาวนาวันละนิด จิตแจ่มใส


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 29 ต.ค. 2010, 02:24 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 6
สมาชิก ระดับ 6
ลงทะเบียนเมื่อ: 12 ก.ค. 2008, 23:37
โพสต์: 449

ที่อยู่: กทม.

 ข้อมูลส่วนตัว


อาจารย์ ในบทความที่เอามาแสดง คือท่าน อาจารย์ ไชย ณ พล ท่านใช้หลายชื่อในงานเขียนที่ต่างกัน
ชื่ออื่นเช่น อัคร ศุภเศรษฐ์

.....................................................
สัตว์โลกย่อมเป็นไปตามกรรม


แก้ไขล่าสุดโดย kokorado เมื่อ 29 ต.ค. 2010, 02:25, แก้ไขแล้ว 1 ครั้ง

โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 29 ต.ค. 2010, 14:06 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 11 ต.ค. 2010, 12:11
โพสต์: 5019


 ข้อมูลส่วนตัว


kokorado เขียน:
พอเป็นปัญญานี่ ปัญญามันจะมีอยู่สองขั้นตอน

ขั้นตอนแรกคือ เราเห็นด้วยจิตของเราจริง ๆ หลังจากที่เราฝึกสมาธิของเรามาดี นิ่ง สว่าง

ว่างพอสมควร เราเห็นด้วยจิตของเราจริง ๆ อย่างการเห็นธรรมชาตินั้นคือเห็นตัวธรรมชาติจริง ๆ

ไม่ใช่เห็นแค่ต้นไม้ สายน้ำ ภูเขา แล้วบอกว่านี่คือธรรมชาติ ไม่ใช่นะ นั่นเป็นแค่ปรากฏการณ์

แห่งธรรมชาติ ยังไม่ใช่สภาวะธรรมชาติจริง ๆ หรือว่าธรรมชาติคือ ดิน น้ำ ลม ไฟ ฟ้า อากาศ

ไม่ใช่นะ นั้นไม่ใช่ นั้นมันแค่ระดับความเข้าใจ ไม่ใช่ตัวปัญญา ปัญญาแท้นั้นมันเห็นเมทริกซ์

แห่งความมีอยู่และเป็นไปนะ รู้จักเมทริกซ์กันไหม หนังที่เขาสร้างเรื่องเมทริกซ์นะ

นั่นเป็นส่วนหนึ่งที่เขาพยายามอธิบาย ก็ดีเหมือนกันแต่ยังไม่สมบูรณ์ เมทริกซ์ก็คือสภาพ

ความสัมพันธ์อันซับซ้อนของความมีอยู่เป็นอยู่ ปัญญมันเห็น แม้ในระดับรากเหง้า และระดับ

องค์ประกอบอันละเอียดอ่อน เห็นโครงสร้างทั้งหมดของธรรมชาติ ซึ่งเห็นด้วยตัวจิตโดยตรง

คือ เอาจิตไปสัมผัสธรรมชาติโดยตรง อันนี้เป็นปัญญขั้นหนึ่ง



:b1: :b1: :b1:

ท่านโกโก้... :b15: อิ อิ...นะจ๊ะ...ขอหน่อย ๆ ... :b17: :b17:

ท่านโกโก้...มีความเห็นกับประโยคความท่อนนี้ว่าอย่างไรคะ...
หรือ...ใครมีแง่มุมต่อ สภาวะที่ท่าน ไชย ณ พล กล่าวนี้ว่าอย่างไร...

:b8: :b16: :b16: :b8:


แสดงโพสต์จาก:  เรียงตาม  
กลับไปยังกระทู้  [ 27 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1, 2

เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


 ผู้ใช้งานขณะนี้

่กำลังดูบอร์ดนี้: ไม่มีสมาชิก และ บุคคลทั่วไป 1 ท่าน


ท่าน ไม่สามารถ โพสต์กระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ตอบกระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แก้ไขโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ลบโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แนบไฟล์ในบอร์ดนี้ได้

ค้นหาสำหรับ:
ไปที่:  
Google
ทั่วไป เว็บธรรมจักร