วันเวลาปัจจุบัน 19 พ.ค. 2025, 23:23  



เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง




กลับไปยังกระทู้  [ 223 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1 ... 6, 7, 8, 9, 10, 11, 12 ... 15  ต่อไป  Bookmark and Share
เจ้าของ ข้อความ
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 27 พ.ค. 2013, 18:00 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-1
Moderators-1
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 พ.ค. 2011, 14:20
โพสต์: 8565


 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
ลุงหมาน เขียน:
กรัชกาย เขียน:
ลุงหมาน เขียน:
กรัชกาย เขียน:
กรัชกายจะว่าบ้างนะ แล้วให้ลูงค้าน ไม่เห็นด้วยตรงไหนค้านได้เลย

พูดถึงกาย หรือร่างกาย เป็นการเรียกรวม เหมือนเราเรียก "รถ" "ต้นไม้" "บ้าน" รวมอุปกรณ์ทุกๆอย่างที่ประกอบกันเข้าเป็น "รถ" ต้นไม้ ก็เรียกรวม ยังไม่แยกส่วนประกอบ ถ้าแยกมีเปลือก ใบ กิ่งเป็นต้น บ้าน ก็ทำนองเดียวกัน

รูป หรือรูปธรรม ก็เป็นการเรียกรวม แต่ถ้าแยก ก็เป็น 28 ดังว่า มีอะไรบ้างก็ว่าไป

หุบแล้วก็บานเป็น บานแล้วก็หุบมาที่เดิมให้ได้ :b1:


การแยกรถนั้นเป็นการแยกออกไม่ให้เห็นตัวรถ หรือเรียกอีกอย่างว่ามันไม่ใช่ รถ
แท้จริงนั้นรถไม่มี มีเพียงส่วนประกอบเท่านั้นแต่ถ้ามารวมกันก็เรียกมันว่ารถอีก
เช่น เอาล้อออก ก็ไม่ใช่รถ เรียกว่าล้อรถ เอาประตูออกมาก็ไม่ใช่รถเรียกว่าประตูรถ เป็นต้น

ความมุ่งหมายของการศึกษาพระอภิธรรมก็เพื่อละ ตัวตน บุคคล สัตว์


ตัวตนไม่ใช่กิเลส จะไปละได้ยังไงล่ะลุงสมาน

โดยปรมัตถ์ตัวตนมันไม่มี เกิดจากความเข้าใจผิดว่ามีตัวตน เข้าใจผิดก็เข้าใจสะให้ถูกตัวตนก็หายวับ :b1:

จริงอยู่ตัวตนที่ถูกคิดมันไม่ใช่กิเลส
แต่เจ้าตัวเข้าไปยึดว่าเป็นตัวเป็นตน นั่นแหละกิเลส
เขาให้ละเจ้าตัวกิเลสที่เข้าไปคิดว่าเป็นตัวตนต่างหาก



ทิฏฐิความเห็นผิด เป็นมิจฉาทิฏฐิ เมื่อเห็นถูก(สัมมาทิฏฐิ) ตัวตนก็หายวับ คิกๆๆ


ยึดว่าเป็นตัวเป็นตนมันก็หายไป มันจะเหลือเพียงสภาวะปรมัตถ์ล้วนๆ

.....................................................
พระธรรมคำสอน บัญญัติ ตรัส ไว้ดีแล้ว ไม่ต้องลด ไม่ต้องเพิ่ม ไม่ต้องแก้ไข ใดๆ ทั้งสิ้น


แก้ไขล่าสุดโดย ลุงหมาน เมื่อ 27 พ.ค. 2013, 18:03, แก้ไขแล้ว 1 ครั้ง

โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 27 พ.ค. 2013, 18:02 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


ลุงหมาน เขียน:
กรัชกาย เขียน:
ลุงหมาน เขียน:
กรัชกาย เขียน:
เอาของจริงบ้าง

อ้างคำพูด:
แล้วอาการทางกายล่ะคะ คุณเคยได้ยินว่ามีคนผิดปกติทางกายจากการฝึกสมาธิแล้วไม่หายไหมคะ
เพราะมันเป็นเหตุหนึ่งที่ดิฉันกลัว จึงไม่กล้าทำอีก เพราะตอนที่เป็นนั้น
เหมือนมีคนมาจับหน้าเราบิดแรงๆไปมาตลอดเวลา ตอนออกจากสมาธิก็ยังเป็น
ตอนนั้นค่อนข้างหวั่นใจ แต่ก็อดทนนั่งจนหายไป ใช้เวลาช่วงนั้นราวสองวันค่ะ


ลุงหมาน กายอะไร ?

กาย ก็คือ กาย
มนุษย์ เทวดา สัตว์เดรัจฉาน นั้นก็มีกาย แล้วจะถามหากายอะไรอีก


ไม่ได้ถามหา แต่อยากรู้ ว่าเขาเป็นอะไร ? จึงถามลุงหมาน :b10:


ตอบอย่างนี้จะเข้าใจไหม ... กายคือเป็นที่อาศัยเกิดของจิต



พอได้พูดให้เด็กอนุบาลฟัง แต่จะให้แน่ต้องว่า กายกับจิตใจอาศัยกันและกัน จึงสำเร็จประโยชน์ของมัน :b1:

แล้วเขาเป็นอะไร นี่ประเด็น

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 27 พ.ค. 2013, 18:05 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-1
Moderators-1
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 พ.ค. 2011, 14:20
โพสต์: 8565


 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
พอได้พูดให้เด็กอนุบาลฟัง แต่จะให้แน่ต้องว่า กายกับจิตใจอาศัยกันและกัน จึงสำเร็จประโยชน์ของมัน :b1:

แล้วเขาเป็นอะไร นี่ประเด็น


ก็คิดถูกแล้วว่ากำลังพูดให้เด็กอนุบาลฟัง

.....................................................
พระธรรมคำสอน บัญญัติ ตรัส ไว้ดีแล้ว ไม่ต้องลด ไม่ต้องเพิ่ม ไม่ต้องแก้ไข ใดๆ ทั้งสิ้น


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 27 พ.ค. 2013, 18:10 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


ลุงหมาน เขียน:
กรัชกาย เขียน:
พอได้พูดให้เด็กอนุบาลฟัง แต่จะให้แน่ต้องว่า กายกับจิตใจอาศัยกันและกัน จึงสำเร็จประโยชน์ของมัน :b1:

แล้วเขาเป็นอะไร นี่ประเด็น


ก็คิดถูกแล้วว่ากำลังพูดให้เด็กอนุบาลฟัง


เขาเป็นอะไร ลุงหมาน ผู้อยากละตัวตน :b1:

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 27 พ.ค. 2013, 18:29 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


ลุงหมาน เขียน:
กรัชกาย เขียน:
ลุงหมาน เขียน:
กรัชกาย เขียน:
ลุงหมาน เขียน:
กรัชกาย เขียน:
กรัชกายจะว่าบ้างนะ แล้วให้ลูงค้าน ไม่เห็นด้วยตรงไหนค้านได้เลย

พูดถึงกาย หรือร่างกาย เป็นการเรียกรวม เหมือนเราเรียก "รถ" "ต้นไม้" "บ้าน" รวมอุปกรณ์ทุกๆอย่างที่ประกอบกันเข้าเป็น "รถ" ต้นไม้ ก็เรียกรวม ยังไม่แยกส่วนประกอบ ถ้าแยกมีเปลือก ใบ กิ่งเป็นต้น บ้าน ก็ทำนองเดียวกัน

รูป หรือรูปธรรม ก็เป็นการเรียกรวม แต่ถ้าแยก ก็เป็น 28 ดังว่า มีอะไรบ้างก็ว่าไป

หุบแล้วก็บานเป็น บานแล้วก็หุบมาที่เดิมให้ได้ :b1:


การแยกรถนั้นเป็นการแยกออกไม่ให้เห็นตัวรถ หรือเรียกอีกอย่างว่ามันไม่ใช่ รถ
แท้จริงนั้นรถไม่มี มีเพียงส่วนประกอบเท่านั้นแต่ถ้ามารวมกันก็เรียกมันว่ารถอีก
เช่น เอาล้อออก ก็ไม่ใช่รถ เรียกว่าล้อรถ เอาประตูออกมาก็ไม่ใช่รถเรียกว่าประตูรถ เป็นต้น

ความมุ่งหมายของการศึกษาพระอภิธรรมก็เพื่อละ ตัวตน บุคคล สัตว์


ตัวตนไม่ใช่กิเลส จะไปละได้ยังไงล่ะลุงสมาน

โดยปรมัตถ์ตัวตนมันไม่มี เกิดจากความเข้าใจผิดว่ามีตัวตน เข้าใจผิดก็เข้าใจสะให้ถูกตัวตนก็หายวับ :b1:

จริงอยู่ตัวตนที่ถูกคิดมันไม่ใช่กิเลส
แต่เจ้าตัวเข้าไปยึดว่าเป็นตัวเป็นตน นั่นแหละกิเลส
เขาให้ละเจ้าตัวกิเลสที่เข้าไปคิดว่าเป็นตัวตนต่างหาก



ทิฏฐิความเห็นผิด เป็นมิจฉาทิฏฐิ เมื่อเห็นถูก(สัมมาทิฏฐิ) ตัวตนก็หายวับ คิกๆๆ


ยึดว่าเป็นตัวเป็นตนมันก็หายไป มันจะเหลือเพียงสภาวะปรมัตถ์ล้วนๆ


อธิบายหน่อย อะไรครับ สภาวปรมัตถ์ :b10: เอาแบบภาษาชาวบ้านเข้าใจนะครับ

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 28 พ.ค. 2013, 03:14 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 13 ก.พ. 2010, 17:53
โพสต์: 4999

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


ลุงหมาน เขียน:
ลักษณะของน้ำคือ เอิบอาบ .ไหล. เกาะกุม.

เอิบอาบ คือ เช่น ต้นไม้ที่ถูกตัดไว้ดูยังสด ใบยังเขียวอยู่ เพราะเอิบอาบไปด้วยธาตุน้ำ
ถ้าใบแห้งเหี่ยวเพราะขาดการเอิบอาบ เพราะขาดธาตุน้ำ

ไหล อาการที่ไหลของน้ำที่เราเห็นในลำคลองที่ไหลไปได้นั้น
ตรงที่ไหลนั่นแหละคือ น้ำ แต่ตรงที่เราเห็นไม่ใช่น้ำ คือ สี
พูดอีกทีเพื่อให้ถูกต้อง คือ สีไหล (สีรู้ทางตา ไหลรู้ทางใจ) คือ ตาเขาเห็นไหลไม่ได้นั่นเอง

เกาะกุม เช่นว่า ตึก ที่มันไม่พังทะลายลงมา เพราะการเกาะกุมด้วยอำนาจของน้ำ
ถ้าตึกไม่มีการเกาะกุมกันตึกนั้นก็ต้องพังคือไม่มีน้ำไปเกาะกุมนั่นเอง

หรือ กองทราย เมื่อเราเอาน้ำไปเทลาดกองทราย กองทรายก็จะถูกจับเป็นก้อนๆ
เรียกว่าการเกาะกุมของน้ำ แต่ทั้งหมดที่ว่ามานี้ไม่ได้เห็นด้วยตา แต่เป็นการรู้จากใจ
ที่ผ่านทางทวารตา เรื่องธาตุน้ำนี้อธิบายให้เข้าใจได้ยากมากครับเราต้องเข้าใจเรื่องสภาวะของน้ำ

รูปปรมัตถ์อันเกิดจากการกระทบของน้ำ มีลักษณะโผฐัพพารมณ์ ที่เป็นลักษณะตรงข้าม
กับโผฏธัพพะทั้งสาม พูดง่ายๆก็คือ มีลักษณะที่ตรงข้ามกับ รูปปรมัตถ์ที่เป็นดิน ลมและไฟ
รูปปรมัตถ์ของธาตุน้ำจะมีลักษณะสามอย่างรวมกัน ลักษณะทั้งสามนี้เป็นลักษณะที่ตรงข้ามกับ
ดิน ลมและไฟ


ดินจะมีโผฏธัพพารมณ์เป็น.....ความแข็ง น้ำจะมีโผธัพพารมณ์เป็น.....ความอ่อน
ไฟจะมีโผฏธัพพารมณ์เป็น......ความร้อน น้ำจะมีโผฏธัพพารมณ์เป็น.....ความเย็น
ลมจะมีโผฎธัพพารมณ์เป็น......ไม่เกาะกุม น้ำจะมีโผฏธัพพารมณ์.... เกาะกุม

ดังนั้นลักษณะโผฏธัพพารมณ์ของน้ำ ก็คือเกาะกุม อ่อนเย็น


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 28 พ.ค. 2013, 06:36 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-1
Moderators-1
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 พ.ค. 2011, 14:20
โพสต์: 8565


 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
อธิบายหน่อย อะไรครับ สภาวปรมัตถ์ :b10: เอาแบบภาษาชาวบ้านเข้าใจนะครับ

สภาวปรมัตถ์ คือ เป็นของจริงที่ไม่เปลี่ยนแปลง
คือเป็นอยู่อย่างไรก็เป็นอยู่อย่างนั้น(ยกเว้นเกิดดับ)

เช่น "ธาตุไฟ" คือ ร้อน ไม่ว่าชนชาติใด หรือสัตว์ต่างๆ
เมื่อมากระทบกับ ไฟ จะมีความร้อนเหมือนกันหมด และไฟนี้จะมีความร้อนมาทุกยุคทุกสมัย
คือร้อนที่ไม่มีการเปลี่ยนแปลงร้อนอยู่อย่างไรก็ร้อนอยู่อย่างนั้น ถึงโลกจะแตกทำลายไป
ไฟก็ร้อนอยู่อย่างนั้น มนุษย์ส่วนใหญ่จะเข้าใจเพียงความจริงระดับสมมุติจากภาษาเท่านั้น
ได้แก่ บัญญัติชื่อต่าง ๆ เช่น ร้อน เรากำหนดเรียกชื่อเอาว่า "ไฟ"
ซึ่งบัญญัติเรียกกันในเฉพาะคนกลุ่มหนึ่งเท่านั้น ต่างชาติเขาก็กำหนดเรียกชื่อไปอีกอย่างหนึ่ง
ซึ่งจะแตกต่างกันออกไปซึ่งก็เป็นความจริงโดยสมมติ แต่ความรู้สึกร้อนจะเหมือนกันหมด

ฉะนั้นความจริงนั้นจึงมี ๒ อย่าง คือจริงโดยสมมติ จริงโดยสภาวปรมัตถ์
จริงโดยสมมตินั้นเปลี่ยนแปลงไปตามคนกลุ่มหนึ่งๆ ที่ยอมรับความจริงโดยสมมติ
จริงโดยสภาวปรมัตถ์นั้นเป็นสากลชนชาติใดก็ตามเหมือนกันหมดไม่เปลี่ยนแปลง

.....................................................
พระธรรมคำสอน บัญญัติ ตรัส ไว้ดีแล้ว ไม่ต้องลด ไม่ต้องเพิ่ม ไม่ต้องแก้ไข ใดๆ ทั้งสิ้น


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 28 พ.ค. 2013, 06:47 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-1
Moderators-1
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 พ.ค. 2011, 14:20
โพสต์: 8565


 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
เขาเป็นอะไร ลุงหมาน ผู้อยากละตัวตน :b1:


จิตตสังขาร

.....................................................
พระธรรมคำสอน บัญญัติ ตรัส ไว้ดีแล้ว ไม่ต้องลด ไม่ต้องเพิ่ม ไม่ต้องแก้ไข ใดๆ ทั้งสิ้น


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 28 พ.ค. 2013, 07:57 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 14 ก.ค. 2008, 21:56
โพสต์: 3925

ชื่อเล่น: เช่นนั้น
อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


ลุงหมาน เขียน:
กรัชกาย เขียน:
อธิบายหน่อย อะไรครับ สภาวปรมัตถ์ :b10: เอาแบบภาษาชาวบ้านเข้าใจนะครับ

สภาวปรมัตถ์ คือ เป็นของจริงที่ไม่เปลี่ยนแปลง
คือเป็นอยู่อย่างไรก็เป็นอยู่อย่างนั้น(ยกเว้นเกิดดับ)

เช่น "ธาตุไฟ" คือ ร้อน ไม่ว่าชนชาติใด หรือสัตว์ต่างๆ
เมื่อมากระทบกับ ไฟ จะมีความร้อนเหมือนกันหมด และไฟนี้จะมีความร้อนมาทุกยุคทุกสมัย
คือร้อนที่ไม่มีการเปลี่ยนแปลงร้อนอยู่อย่างไรก็ร้อนอยู่อย่างนั้น ถึงโลกจะแตกทำลายไป
ไฟก็ร้อนอยู่อย่างนั้น มนุษย์ส่วนใหญ่จะเข้าใจเพียงความจริงระดับสมมุติจากภาษาเท่านั้น
ได้แก่ บัญญัติชื่อต่าง ๆ เช่น ร้อน เรากำหนดเรียกชื่อเอาว่า "ไฟ"
ซึ่งบัญญัติเรียกกันในเฉพาะคนกลุ่มหนึ่งเท่านั้น ต่างชาติเขาก็กำหนดเรียกชื่อไปอีกอย่างหนึ่ง
ซึ่งจะแตกต่างกันออกไปซึ่งก็เป็นความจริงโดยสมมติ แต่ความรู้สึกร้อนจะเหมือนกันหมด

ฉะนั้นความจริงนั้นจึงมี ๒ อย่าง คือจริงโดยสมมติ จริงโดยสภาวปรมัตถ์
จริงโดยสมมตินั้นเปลี่ยนแปลงไปตามคนกลุ่มหนึ่งๆ ที่ยอมรับความจริงโดยสมมติ
จริงโดยสภาวปรมัตถ์นั้นเป็นสากลชนชาติใดก็ตามเหมือนกันหมดไม่เปลี่ยนแปลง

ถ้าสภาวปรมัตถ์ คือเป็นของจริงไม่เปลี่ยนแปลง
คือเป็นอยู่อย่างไร ก็เป็นอยู่อย่างนั้น
จะยกเว้นเกิดดับไม่ได้
ถ้ายกเว้นเกิดดับ
ก็แสดงว่า ต้นเป็นอย่างหนึ่ง ปลายเป็นอย่างหนึ่ง
สภาวปรมัตถ์ที่ว่า จึงไม่จริง......

จิต เจตสิก รูป ไม่ใช่สภาวะปรมัตถ์

นิพพาน เป็นสภาวะปรมัตถ์
เพราะมีสถาพแน่นอนไม่เปลี่ยนแปลง

มีแต่ สภาวะธรรม และสมมติ
สมมตินั้น เปลี่ยนแปลงไปตามคนกลุ่มหนึ่ง ที่ยอมรับโดยสมมติ
ส่วนสภาวะธรรมนั้น เป็นสากล ชนชาติใดก็ตามจะมีสภาวะธรรมเหมือนกันหมดไม่เปลี่ยนแปลง

.....................................................
ธรรมะอันยิ่งใหญ่ ไม่อาจเอื้อนเอ่ย
บัญญัติ เป็นเพียงสิ่งต่ำต้อยแบกรับความยิ่งใหญ่


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 28 พ.ค. 2013, 08:47 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 14 ก.ค. 2008, 21:56
โพสต์: 3925

ชื่อเล่น: เช่นนั้น
อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


อรรถาจารย์ ทั้งหลาย ไม่ว่าจะผ่าตัดรูปออกเป็นสภาวะต่างๆ มากมาย
เขียนเป็นคัมภีร์ หลายๆ อย่างก็ตาม
สภาวะเหล่านั้น ก็เป็นเพียงสภาวะ
V
แม้แต่ วรรณะรูป ที่บอกว่าตาเห็นได้ ก็ไม่จริง
เพราะวรรณรูป ต้องอาศัย มหาภูตรูป ซึ่งตามที่ยกมาอธิบายว่า แม้มหาภูตรูปตาก็เห็นไม่ได้
สิ่งที่เป็นตัวหลักตาเห็นไม่ได้ แต่รูปอาศัยมหาภูตรูปคือ วรรณะรูป ตากลับเห็นได้ จึงไม่มีจริง
V
ดังนั้น การวิภาครูป เป็นเพียงการศึกษาสภาวะของรูป
รูปทุกชนิด เป็นอัพยากตธรรม ไม่มีอารมณ์ ไม่ใช่เจตสิก วิปปยุตจากจิต ไม่ใช่วิบาก
V
การที่จะรู้จะทราบว่า เป็นสัตว์ บุคคล สิ่งของ ก็โดยสภาวะต่างๆปรุงแต่งเป็นสิ่งๆ หนึ่งโดยธรรมชาติของสภาวะเหล่านั้นเอง
และสิ่งนั้นเป็นอารมณ์ของจิตที่โคจรเข้าไปรู้อารมณ์นั้น โดยผ่านอายตนะที่เหมาะสมกัน
จิตจะปรุงแต่งด้วยอินทรีย์ที่เหมาะสมกับสภาวะเหล่านั้น และประชุมความรู้ความสัมผัส ด้วยสัญญาต่างๆ
จนเป็นรูปขันธ์
V
จะเห็นสืบต่อไปว่า
แม้สภาวะ 18 หรือ ธาตุ 18 เองนั้น
ก็จะมี อินทรีย์ 22 คู่กัน
V
เช่นการเห็น สิ่งใดสิ่งหนึ่ง
ก็จะเห็นเมื่อ จิตปรุงแต่งโดยจักขุนทรีย์
รูปภายนอกที่เกิดจากการประชุมกันอยู่โดยมหาภูตรูป และอุปาทยรูป ต่างๆ นั้นจะเป็นอารมณ์ของจิต
จิตที่รู้รูปารมณ์ผ่านจักขายตนะ อันเรียกว่าจักขุวิญญาณ อาศัยรูปภายในที่เกิดจากการประชุมโดยมหาภูตรูป และอุปาทยรูป ปรุงแต่งเป็นจักขุนทรีย์ ไปรับรู้รูปภายนอก เพื่อการเห็น โดยขณะแห่งจักขุนทรีย์ อาจจะมีสัญญาร่วมด้วยก็ได้ สำเร็จเป็นการเห็น
V
นั่นคือ หากไม่มีผัสสะ และจักขุนทรีย์ รูปภายนอกก็ไม่เห็นด้วยตา

.....................................................
ธรรมะอันยิ่งใหญ่ ไม่อาจเอื้อนเอ่ย
บัญญัติ เป็นเพียงสิ่งต่ำต้อยแบกรับความยิ่งใหญ่


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 28 พ.ค. 2013, 08:53 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-1
Moderators-1
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 พ.ค. 2011, 14:20
โพสต์: 8565


 ข้อมูลส่วนตัว


เช่นนั้น เขียน:
ถ้าสภาวปรมัตถ์ คือเป็นของจริงไม่เปลี่ยนแปลง
คือเป็นอยู่อย่างไร ก็เป็นอยู่อย่างนั้น
จะยกเว้นเกิดดับไม่ได้
ถ้ายกเว้นเกิดดับ
ก็แสดงว่า ต้นเป็นอย่างหนึ่ง ปลายเป็นอย่างหนึ่ง
สภาวปรมัตถ์ที่ว่า จึงไม่จริง......

จิต เจตสิก รูป ไม่ใช่สภาวะปรมัตถ์

นิพพาน เป็นสภาวะปรมัตถ์
เพราะมีสถาพแน่นอนไม่เปลี่ยนแปลง

มีแต่ สภาวะธรรม และสมมติ
สมมตินั้น เปลี่ยนแปลงไปตามคนกลุ่มหนึ่ง ที่ยอมรับโดยสมมติ
ส่วนสภาวะธรรมนั้น เป็นสากล ชนชาติใดก็ตามจะมีสภาวะธรรมเหมือนกันหมดไม่เปลี่ยนแปลง


จิต เจตสิก รูป เป็นปรมัตถ์ ที่ตกอยู่ภายใต้ กฎไตรลักษณ์
นิพพาน เป็นปรมัตถ์ แต่พ้นสภาพ ไตรลักษณ์

.....................................................
พระธรรมคำสอน บัญญัติ ตรัส ไว้ดีแล้ว ไม่ต้องลด ไม่ต้องเพิ่ม ไม่ต้องแก้ไข ใดๆ ทั้งสิ้น


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 28 พ.ค. 2013, 09:05 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 14 ก.ค. 2008, 21:56
โพสต์: 3925

ชื่อเล่น: เช่นนั้น
อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


ลุงหมาน เขียน:
เช่นนั้น เขียน:
ถ้าสภาวปรมัตถ์ คือเป็นของจริงไม่เปลี่ยนแปลง
คือเป็นอยู่อย่างไร ก็เป็นอยู่อย่างนั้น
จะยกเว้นเกิดดับไม่ได้
ถ้ายกเว้นเกิดดับ
ก็แสดงว่า ต้นเป็นอย่างหนึ่ง ปลายเป็นอย่างหนึ่ง
สภาวปรมัตถ์ที่ว่า จึงไม่จริง......

จิต เจตสิก รูป ไม่ใช่สภาวะปรมัตถ์

นิพพาน เป็นสภาวะปรมัตถ์
เพราะมีสถาพแน่นอนไม่เปลี่ยนแปลง

มีแต่ สภาวะธรรม และสมมติ
สมมตินั้น เปลี่ยนแปลงไปตามคนกลุ่มหนึ่ง ที่ยอมรับโดยสมมติ
ส่วนสภาวะธรรมนั้น เป็นสากล ชนชาติใดก็ตามจะมีสภาวะธรรมเหมือนกันหมดไม่เปลี่ยนแปลง


จิต เจตสิก รูป เป็นปรมัตถ์ ที่ตกอยู่ภายใต้ กฎไตรลักษณ์
นิพพาน เป็นปรมัตถ์ แต่พ้นสภาพ ไตรลักษณ์

อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา ไม่ใช่กฏไตรลักษณ์ ตามพุทธพจน์
พระพุทธเจ้าไม่เคยสอนครับ

พระพุทธองค์สอนแบบนี้
ไตรลักษณ์ ของ สังขตะ
ไตรลักษณ์ ของ อสังขตะ
ไม่ปรากฏคำว่า อนัตตา

ไตรลักษณ์ของ สังขตะ คือ
ความเกิดขึ้นปรากฏ
ความเสื่อมปรากฏ
เมื่อตั้งอยู่ความแปรปรวนปรากฏ

ไตรลักษณ์ของ อสังขตะ คือ
ไม่ปรากฏความเกิด
ไม่ปรากฏความเสื่อม
เมื่อตั้งอยู่ไม่ปรากฏความแปรปรวน

จิต เจตสิก รูป เป็นสังขตะ
นิพพาน เป็นอสังขตะ

ปรมัตถ์ มีอรรถว่า สูงสุด ที่สุด
พระพุทธองค์ เคยตรัสว่า นิพพาน เป็นปรมสุข คือสุขที่สูงสุด ที่สุด
ดังนั้น นิพพานจึงเป็นสภาวะปรมัตถ์ตามพุทธพจน์ครับ

.....................................................
ธรรมะอันยิ่งใหญ่ ไม่อาจเอื้อนเอ่ย
บัญญัติ เป็นเพียงสิ่งต่ำต้อยแบกรับความยิ่งใหญ่


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 28 พ.ค. 2013, 09:34 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 25 เม.ย. 2009, 02:43
โพสต์: 12232


 ข้อมูลส่วนตัว


เช่นนั้น เขียน:

อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา ไม่ใช่กฏไตรลักษณ์ ตามพุทธพจน์
พระพุทธเจ้าไม่เคยสอนครับ

พระพุทธองค์สอนแบบนี้
ไตรลักษณ์ ของ สังขตะ
ไตรลักษณ์ ของ อสังขตะ
ไม่ปรากฏคำว่า อนัตตา

ไตรลักษณ์ของ สังขตะ คือ
ความเกิดขึ้นปรากฏ
ความเสื่อมปรากฏ
เมื่อตั้งอยู่ความแปรปรวนปรากฏ

ไตรลักษณ์ของ อสังขตะ คือ
ไม่ปรากฏความเกิด
ไม่ปรากฏความเสื่อม
เมื่อตั้งอยู่ไม่ปรากฏความแปรปรวน

จิต เจตสิก รูป เป็นสังขตะ
นิพพาน เป็นอสังขตะ

กล่าวเช่นนี้จริงหรือครับ?...
ถ้าจริง.....สาธุ...อย่างแรงครับ.. :b8: :b8: :b8:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 28 พ.ค. 2013, 10:04 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


ลุงหมาน เขียน:
กรัชกาย เขียน:
อธิบายหน่อย อะไรครับ สภาวปรมัตถ์ :b10: เอาแบบภาษาชาวบ้านเข้าใจนะครับ

สภาวปรมัตถ์ คือ เป็นของจริงที่ไม่เปลี่ยนแปลง
คือเป็นอยู่อย่างไรก็เป็นอยู่อย่างนั้น(ยกเว้นเกิดดับ)

เช่น "ธาตุไฟ" คือ ร้อน ไม่ว่าชนชาติใด หรือสัตว์ต่างๆ
เมื่อมากระทบกับ ไฟ จะมีความร้อนเหมือนกันหมด และไฟนี้จะมีความร้อนมาทุกยุคทุกสมัย
คือร้อนที่ไม่มีการเปลี่ยนแปลงร้อนอยู่อย่างไรก็ร้อนอยู่อย่างนั้น ถึงโลกจะแตกทำลายไป
ไฟก็ร้อนอยู่อย่างนั้น มนุษย์ส่วนใหญ่จะเข้าใจเพียงความจริงระดับสมมุติจากภาษาเท่านั้น
ได้แก่ บัญญัติชื่อต่าง ๆ เช่น ร้อน เรากำหนดเรียกชื่อเอาว่า "ไฟ"
ซึ่งบัญญัติเรียกกันในเฉพาะคนกลุ่มหนึ่งเท่านั้น ต่างชาติเขาก็กำหนดเรียกชื่อไปอีกอย่างหนึ่ง
ซึ่งจะแตกต่างกันออกไปซึ่งก็เป็นความจริงโดยสมมติ แต่ความรู้สึกร้อนจะเหมือนกันหมด

ฉะนั้นความจริงนั้นจึงมี ๒ อย่าง คือจริงโดยสมมติ จริงโดยสภาวปรมัตถ์
จริงโดยสมมตินั้นเปลี่ยนแปลงไปตามคนกลุ่มหนึ่งๆ ที่ยอมรับความจริงโดยสมมติ
จริงโดยสภาวปรมัตถ์นั้นเป็นสากลชนชาติใดก็ตามเหมือนกันหมดไม่เปลี่ยนแปลง



ในตัวลุงสมานเนี่ย มีธาตุ ดิน น้ำ ไฟ ลม มั้ย :b1:

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 28 พ.ค. 2013, 10:05 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


ลุงหมาน เขียน:
กรัชกาย เขียน:
เขาเป็นอะไร ลุงหมาน ผู้อยากละตัวตน :b1:


จิตตสังขาร


มีกายสังขารมั้ย :b10:

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


แสดงโพสต์จาก:  เรียงตาม  
กลับไปยังกระทู้  [ 223 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1 ... 6, 7, 8, 9, 10, 11, 12 ... 15  ต่อไป

เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


 ผู้ใช้งานขณะนี้

่กำลังดูบอร์ดนี้: ไม่มีสมาชิก และ บุคคลทั่วไป 1 ท่าน


ท่าน ไม่สามารถ โพสต์กระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ตอบกระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แก้ไขโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ลบโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แนบไฟล์ในบอร์ดนี้ได้

ค้นหาสำหรับ:
ไปที่:  
Google
ทั่วไป เว็บธรรมจักร


cron