วันเวลาปัจจุบัน 19 ก.ค. 2025, 03:55  



เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง




กลับไปยังกระทู้  [ 24 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1, 2  Bookmark and Share
เจ้าของ ข้อความ
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 11 ก.ค. 2016, 14:48 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


โฮฮับ เขียน:
กรัชกาย เขียน:

อ้างคำพูด:
ไม่ใช่โลภะ โทสะหรือแม้แต่โมหะ กิเลสคือสังโยชน์ แต่ถ้าเป็นกิเลสในกายใจเราเรียก..อุปกิเลส


วนเหมือนงูกินหางนะท่านศาสดาโฮ คิกๆๆ โลภะ โทสะ โมหะ ไม่ใช่กิเลส

กิเลส คือ สังโยชน์ เออ อยากให้เป็นอะไรก็เอานะ :b13:

เอานะในเมื่อสังโยชน์เป็นกิเลสแล้วก็แสดงว่าเป็นเหตุปัจจัยให้จิตเกิดนะ (จำได้นะ) ถ้ายังงั้น ก็ไม่ควรกำจัดสังโยชน์เพื่อให้จิตบริสุทธิ์ เพราะจะทำให้จิตหายไปด้วยซี่งั้น :b32:

ถามเท่านี้พอ เพราะมันจะเละไปมากกว่านี้

มีสาระนะขอรับ คุณ Duangrat :b13:


เอาความเข้าคอกยังง่ายกว่าพูดธรรมให้กรัชกายฟัง

บอกว่าจิตเกิดจากกิเลส ยังจะมาเอาจิตบริสุทธิ์อีกแน่ะ

เมื่อไม่มีกิเลส มันก็ไม่มีจิต.....เมื่อไม่มีจิต ความบริสุทธิ์ก็คือกายใจ


วนอีก

จิต กับ กายใจ ต่างกันยังไงอ่ะ

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 11 ก.ค. 2016, 14:52 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


อ้างคำพูด:
โฮฮับ
จิตบริสุทธิ์จากกิเลสไม่ได้ เพราะกิเลสเป็นเหตุปัจจัยให้เกิดจิต
เมื่อหมดกิเลส จิตย่อมหมดไป ดังคำที่ว่า ....
ธรรมล้วนเกิดแต่เหตุ เมื่อหมดเหตุธรรมก็ย่อมหมดไปตามเหตุนั้น



viewtopic.php?f=1&t=52666&p=395259#p395259


แสดงว่า จิตบริสุทธิ์จากกิเลสไม่ได้ ดังนั้นการปฏิบัติไตรสิกขาก็เป็นหมันไร้ประโยชน์ ใช่ ไม่ใช่ :b32:

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 11 ก.ค. 2016, 14:57 
 
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 2
สมาชิก ระดับ 2
ลงทะเบียนเมื่อ: 27 ม.ค. 2014, 11:29
โพสต์: 64

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


โฮฮับ เขียน:
กรัชกาย เขียน:

ท่านอาจารย์โฮฮับขอรับ :b8:

ไอ้เจ้า โลภะ โทสะ เป็นกิเลสมั้ยขอรับ เป็น ไม่เป็น ขอรับท่านอาจารย์โฮ :b8: :


ไม่ใช่! โลภะ โทสะหรือแม้แต่โมหะ กิเลสคือสังโยชน์แต่ถ้าเป็นกิเลสในกายใจเราเรียก...อุปกิเลส




...ความกำหนัดด้วยอำนาจความพอใจในจักษุ...ฯ นี้เป็นอุปกิเลสแห่งจิต...ฯ
คือความกำหนัดที่เกิดขึ้น เป็นไปตามอำนาจของตัณหา ใช่ไหมคะ?

http://www.84000.org/tipitaka/read/?17/499


คุณโฮ ช่วยอธิบายความต่างของ อุปกิเลสแห่งจิต กะ กิเลสสังโยชน์ ให้หน่อยค่ะ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 11 ก.ค. 2016, 17:51 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 13 ก.พ. 2010, 17:53
โพสต์: 4999

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


Duangrat เขียน:
โฮฮับ เขียน:
กรัชกาย เขียน:

ท่านอาจารย์โฮฮับขอรับ :b8:

ไอ้เจ้า โลภะ โทสะ เป็นกิเลสมั้ยขอรับ เป็น ไม่เป็น ขอรับท่านอาจารย์โฮ :b8: :


ไม่ใช่! โลภะ โทสะหรือแม้แต่โมหะ กิเลสคือสังโยชน์แต่ถ้าเป็นกิเลสในกายใจเราเรียก...อุปกิเลส




...ความกำหนัดด้วยอำนาจความพอใจในจักษุ...ฯ นี้เป็นอุปกิเลสแห่งจิต...ฯ
คือความกำหนัดที่เกิดขึ้น เป็นไปตามอำนาจของตัณหา ใช่ไหมคะ?

http://www.84000.org/tipitaka/read/?17/499


คุณโฮ ช่วยอธิบายความต่างของ อุปกิเลสแห่งจิต กะ กิเลสสังโยชน์ ให้หน่อยค่ะ


ต้องเริ่มด้วยความเข้าใจว่า......ในโลกนี้มีธรรมชาติอยู่สองอย่าง คือ..สมมติสัจจะและปรมัตถ์สัจจะ
โดยสมมติสัจจะเป็นธรรมชาติที่อยู่นอกกายใจเรา
ส่วนปรมัตถสัจจะเป็นธรรมชาติในกายใจเรา
ธรรมทั้งสองนี้มันจะเกิดพร้อมกัน โดยสมมติต้องเป็นเหตุจึงจะมีปรมัตถ์ได้

พระพุทธองค์ใช้บัญญัติมาอธิบายกระบวนการเกิดธรรมทั้งสอง เรียกว่า สมมติบัญญัติและปรมัตถบัญญัติ
เราเป็นผู้ศึกษาจึงจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องแยกแยะว่าอะไรเป็นสมมติและอะไรเป็นปรมัตถ์
และถ้าเราใช้พระสูตรเป็นหลักเรายังต้องรู้อีกด้วยว่าอะไรเป็นโวหาร


Duangrat เขียน:

...ความกำหนัดด้วยอำนาจความพอใจในจักษุ...ฯ นี้เป็นอุปกิเลสแห่งจิต...ฯ
คือความกำหนัดที่เกิดขึ้น เป็นไปตามอำนาจของตัณหา ใช่ไหมคะ?


"กำหนัด" และ"ความพอใจ" เป็นโวหารที่กำลังสื่อให้เห็นสมมติและปรมัตถ์
"กำหนัด"ก็คือ..... ฉันทะ เป็นธรรมชาติในกายใจ (ปรมัตถ์)
"ความพอใจ"...... ตัณหา เป็นธรรมชาติภานนอกกายใจ(สมมติ)

ตัณหาและฉันทะ.......ทั้งสองเกิดพร้อมกันโดยมีตัณหาเป็นเหตุแห่งฉันทะ
เวลาเมื่อตัณหามากระทบกายใจ จะเกิดเป็นฉันทะ
เมื่อเกิดเป็นฉันทะแล้วกายใจจะเกิดการปรุงแต่งต่อที่มโนทวาร(คิดฟุ้งซ่าน)......
คิดอยากได้อยากเห็นสิ่งนั้นอีกหรืออยากให้สิ่งที่เห็นเป็นของเรา โวหารเรียกความโลภ (ไม่ใช่โลภะ)

ความโลภ เป็นโวหาร มันไม่ใช่โลภะนะครับ
ความโลภเป็นอุปกิเลสในกายใจครับ มันแสดงอาการอันเนื่องจากเหตุแห่งตัณหาและฉันทะ

"กามฉันทะสังโยชน์ คือต้นเหตุแห่งปฏิฆะสังโยชน์ ปฏิฆะสังโยชน์ คือความคิด(ความโลภ)
ต้องลำดับกระบวนการให้ดีนะครับ


Duangrat เขียน:
คุณโฮ ช่วยอธิบายความต่างของ อุปกิเลสแห่งจิต กะ กิเลสสังโยชน์ ให้หน่อยค่ะ


กิเลสสังโยชน์ มันเป็นสมมติบัญญัติ ท่านใช้เรียกแทนกฎเกณท์ธรรมชาติที่อยู่นอกกายใจ
อุปกิเลส เป็นปรมัตถบัญญัติ ท่านใช้เรียกสภาวธรรมที่เกิดในกายใจเรา

ตามที่เกริ่นนำไว้ตอนต้น สมมติและปรมัตถืมันเกิดพร้อมกัน แต่มีสมติเป็นเหตุ
พูดให้เข้าใจก็คือ สังโยชน์เป็นเหตุให้เกิดอุปกิเลส

โดยรวมแล้วมันเป็นกิเลสทั้งคู่ ....แต่ต่างกันตรงที่ สังโยชน์เป็นต้นเหตุแห่งกิเลส
อุปกิเลสเป็นผลของกิเลส อย่างหนึ่งเป็นสมมติและอีกอย่างเป็นปรมัตถ์


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 11 ก.ค. 2016, 17:57 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


อ้างคำพูด:
โฮฮับ เขียน
ต้องเริ่มด้วยความเข้าใจว่า......ในโลกนี้มีธรรมชาติอยู่สองอย่าง คือ..สมมติสัจจะและปรมัตถ์สัจจะ
โดยสมมติสัจจะเป็นธรรมชาติที่อยู่นอกกายใจเรา

ส่วนปรมัตถสัจจะเป็นธรรมชาติในกายใจเรา
ธรรมทั้งสองนี้มันจะเกิดพร้อมกัน โดยสมมติต้องเป็นเหตุจึงจะมีปรมัตถ์ได้



สมมติ,สมมุติ รู้ร่วมกัน, ตกลงกัน, การมีมติร่วมกัน หรือยอมรับร่วมกัน, การที่สงฆ์ประชุมกันตกลงมอบหมายหรือแต่งตั้งภิกษุให้ทำกิจหรือเป็นเจ้า หน้าที่ในเรื่องอย่างใดอย่างหนึ่ง เช่น สมมติภิกษุเป็นผู้ให้โอวาทภิกษุณี สมมติภิกษุเป็นภัตตุเทศก์ เป็นต้น

ในภาษาไทย ในความหมายว่า ตกลงกันว่า ต่างว่า

สมมติสัจจะ จริงโดยสมมติ คือ โดยความตกลงหมายรู้ร่วมกันของมนุษย์ เช่น นาย ก. นาย ข. ช้าง ม้า มด โต๊ะ หนังสือ พ่อ แม่ ลูก เพื่อน เป็นต้น ซึ่งเมื่อกล่าวตามสภาวะ หรือโดยปรมัตถ์แล้ว ก็เป็นเพียงสังขาร หรือนามรูป หรือ ขันธ์ ๕ เท่านั้น ตรงข้าม กับ ปรมัตถสัจจะ

ปรมัตถสัจจะ จริงโดยปรมัตถ์ คือ ความจริงโดยความหมายสูงสุด เช่น รุูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 11 ก.ค. 2016, 18:41 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 13 ก.พ. 2010, 17:53
โพสต์: 4999

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
อ้างคำพูด:
โฮฮับ เขียน
ต้องเริ่มด้วยความเข้าใจว่า......ในโลกนี้มีธรรมชาติอยู่สองอย่าง คือ..สมมติสัจจะและปรมัตถ์สัจจะ
โดยสมมติสัจจะเป็นธรรมชาติที่อยู่นอกกายใจเรา

ส่วนปรมัตถสัจจะเป็นธรรมชาติในกายใจเรา
ธรรมทั้งสองนี้มันจะเกิดพร้อมกัน โดยสมมติต้องเป็นเหตุจึงจะมีปรมัตถ์ได้



สมมติ,สมมุติ รู้ร่วมกัน, ตกลงกัน, การมีมติร่วมกัน หรือยอมรับร่วมกัน, การที่สงฆ์ประชุมกันตกลงมอบหมายหรือแต่งตั้งภิกษุให้ทำกิจหรือเป็นเจ้า หน้าที่ในเรื่องอย่างใดอย่างหนึ่ง เช่น สมมติภิกษุเป็นผู้ให้โอวาทภิกษุณี สมมติภิกษุเป็นภัตตุเทศก์ เป็นต้น

ในภาษาไทย ในความหมายว่า ตกลงกันว่า ต่างว่า

สมมติสัจจะ จริงโดยสมมติ คือ โดยความตกลงหมายรู้ร่วมกันของมนุษย์ เช่น นาย ก. นาย ข. ช้าง ม้า มด โต๊ะ หนังสือ พ่อ แม่ ลูก เพื่อน เป็นต้น ซึ่งเมื่อกล่าวตามสภาวะ หรือโดยปรมัตถ์แล้ว ก็เป็นเพียงสังขาร หรือนามรูป หรือ ขันธ์ ๕ เท่านั้น ตรงข้าม กับ ปรมัตถสัจจะ

ปรมัตถสัจจะ จริงโดยปรมัตถ์ คือ ความจริงโดยความหมายสูงสุด เช่น รุูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ


หลวงพ่อปยุตท่านมั่ว :b32:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 11 ก.ค. 2016, 20:16 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


โฮฮับ เขียน:
กรัชกาย เขียน:
อ้างคำพูด:
โฮฮับ เขียน
ต้องเริ่มด้วยความเข้าใจว่า......ในโลกนี้มีธรรมชาติอยู่สองอย่าง คือ..สมมติสัจจะและปรมัตถ์สัจจะ
โดยสมมติสัจจะเป็นธรรมชาติที่อยู่นอกกายใจเรา

ส่วนปรมัตถสัจจะเป็นธรรมชาติในกายใจเรา
ธรรมทั้งสองนี้มันจะเกิดพร้อมกัน โดยสมมติต้องเป็นเหตุจึงจะมีปรมัตถ์ได้



สมมติ,สมมุติ รู้ร่วมกัน, ตกลงกัน, การมีมติร่วมกัน หรือยอมรับร่วมกัน, การที่สงฆ์ประชุมกันตกลงมอบหมายหรือแต่งตั้งภิกษุให้ทำกิจหรือเป็นเจ้า หน้าที่ในเรื่องอย่างใดอย่างหนึ่ง เช่น สมมติภิกษุเป็นผู้ให้โอวาทภิกษุณี สมมติภิกษุเป็นภัตตุเทศก์ เป็นต้น

ในภาษาไทย ในความหมายว่า ตกลงกันว่า ต่างว่า

สมมติสัจจะ จริงโดยสมมติ คือ โดยความตกลงหมายรู้ร่วมกันของมนุษย์ เช่น นาย ก. นาย ข. ช้าง ม้า มด โต๊ะ หนังสือ พ่อ แม่ ลูก เพื่อน เป็นต้น ซึ่งเมื่อกล่าวตามสภาวะ หรือโดยปรมัตถ์แล้ว ก็เป็นเพียงสังขาร หรือนามรูป หรือ ขันธ์ ๕ เท่านั้น ตรงข้าม กับ ปรมัตถสัจจะ

ปรมัตถสัจจะ จริงโดยปรมัตถ์ คือ ความจริงโดยความหมายสูงสุด เช่น รุูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ


หลวงพ่อปยุตท่านมั่ว :b32:


อ้างคำพูด:
ในโลกนี้มีธรรมชาติอยู่สองอย่าง คือ..สมมติสัจจะ และปรมัตถ์สัจจะ
โดยสมมติสัจจะเป็นธรรมชาติที่อยู่นอกกายใจเรา

ส่วนปรมัตถสัจจะเป็นธรรมชาติในกายใจเรา
ธรรมทั้งสองนี้มันจะเกิดพร้อมกัน โดยสมมติต้องเป็นเหตุจึงจะมีปรมัตถ์ได้




อ้างคำพูด:
ธรรมทั้งสองนี้มันจะเกิดพร้อมกัน โดยสมมติต้องเป็นเหตุจึงจะมีปรมัตถ์ได้


อ้อ ที่นี่ล่ะเกิดพร้อมกัน สมมุติกับปรมัตถ์ คิกๆๆ

เจริญพวงขอรับ

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 12 ก.ค. 2016, 08:25 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 13 ก.พ. 2010, 17:53
โพสต์: 4999

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
อ้างคำพูด:
โฮฮับ เขียน
ต้องเริ่มด้วยความเข้าใจว่า......ในโลกนี้มีธรรมชาติอยู่สองอย่าง คือ..สมมติสัจจะและปรมัตถ์สัจจะ
โดยสมมติสัจจะเป็นธรรมชาติที่อยู่นอกกายใจเรา

ส่วนปรมัตถสัจจะเป็นธรรมชาติในกายใจเรา
ธรรมทั้งสองนี้มันจะเกิดพร้อมกัน โดยสมมติต้องเป็นเหตุจึงจะมีปรมัตถ์ได้



สมมติ,สมมุติ รู้ร่วมกัน, ตกลงกัน, การมีมติร่วมกัน หรือยอมรับร่วมกัน, การที่สงฆ์ประชุมกันตกลงมอบหมายหรือแต่งตั้งภิกษุให้ทำกิจหรือเป็นเจ้า หน้าที่ในเรื่องอย่างใดอย่างหนึ่ง เช่น สมมติภิกษุเป็นผู้ให้โอวาทภิกษุณี สมมติภิกษุเป็นภัตตุเทศก์ เป็นต้น

ในภาษาไทย ในความหมายว่า ตกลงกันว่า ต่างว่า


:b32: รู้ร่วมกัน ,ตกลงกัน ,มีมติร่วมกัน,ย่อมรับร่วมกัน.........เขาเรียก บัญญัติ

สมมติภิกษุ .......แบบนี้เป็นลักษณะของปุคคลาธิษฐาน
มันเป็นการเรียกบุคคลที่ถือเอาตามรูปธรรมภายนอก พูดให้ชัดก็คือ บุคคล

ถ้าเป็นอรหันต์ภิกษุ ...แบบนี้หมายถึงท่านเรียกโดยเอาธรรมมาธิษฐานเป็นหลัก
คือเรียกเพื่อให้รู้ถึงสภาวะหรือนามธรรมภายในของท่าน

ภิกษุรูปเดียวกันเป็นได้ทั้ง สมมติภิกษุและอรหันตภิกษุ
สมมติภิกษุคือการเรียกเอาจากรูปลักษณ์ภายนอกของท่าน
อรหันตภิกษุคือเรียกตามธรรมภายในกายใจของท่าน


กรัชกาย เขียน:
สมมติสัจจะ จริงโดยสมมติ คือ โดยความตกลงหมายรู้ร่วมกันของมนุษย์ เช่น นาย ก. นาย ข. ช้าง ม้า มด โต๊ะ หนังสือ พ่อ แม่ ลูก เพื่อน เป็นต้น ซึ่งเมื่อกล่าวตามสภาวะ หรือโดยปรมัตถ์แล้ว ก็เป็นเพียงสังขาร หรือนามรูป หรือ ขันธ์ ๕ เท่านั้น ตรงข้าม กับ ปรมัตถสัจจะ


ชื่อนาย ก.นาย ข. ช้างม้า ฯลฯ......เขาเรียกว่า โวหารบัญญัติ
โวหารพวกนี้ ไม่ใช่ปรมัตถ์แต่มันเป็นเพียงบัญญัติ มันจะเป็นปรมัตถ์ได้นั้น
จะต้องมีการกระทบกับกายใจเราเสียก่อน เช่น ฟังหรืออ่าน
ถ้าไม่มีมันเป็นเพียง........วัตถุธรรม

กรัชกาย เขียน:

ปรมัตถสัจจะ จริงโดยปรมัตถ์ คือ ความจริงโดยความหมายสูงสุด เช่น รุูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ


สัจจะก็คือ จริงแท้แน่นอนอยู่แล้ว ทำไมต้องไปแปลจริงโดยปรมัตถ์ ไม่รู้จริงแล้วก็ลื่นเป็นปลาไหล

ปรมัตถสัจจะ คือธรรมชาติภายในกายใจ ที่บุคคลจะต้องรู้แจ้งในความจริงนั้น

การรู้แจ้งในความเป็นปรมัตถ์ มาจากพุทธพจน์ที่ว่า....สัจฉิกัตถปรมัตถ์
ก็คือรู้สมมติแล้วต้องรู้ให้ถึงปรมัตถ์


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 15 ก.ค. 2016, 14:19 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 29 ต.ค. 2009, 15:06
โพสต์: 7517

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


โฮฮับ เขียน:
รูปภาพ

มีคนเขาถามในพันทิบครับว่า ....ความไม่ยินดียินร้ายเป็นอย่างไร
ผมไปเห็นเขาได้แต่ปลงแล้วพรึมพร่ำในใจว่า ทำไมหนอเหตุใดหนอ
จึงทำให้ชาวพุทธไทยถอยหลังลงคลองได้ขนาดนี้ นี่ไม่ใช่ใดอื่นมันเป็นเพราะ
มีผู้ไม่รู้แก่นแทัของพระธรรม ไม่เข้าใจพุทธบัญญัติ แต่เป็นเพราะอาศัยว่าตนมีตำแหน่ง
ในวงการสงฆ์ ก็เลยอาศัยความมีหน้ามีตานี่ ....เอาพุทธพจน์มาละเลงตามใจชอบ

นี่ถึงขนาดมีโมฆะบุรุษบางคน เอาสถานะของท่านไปข่มขู่ด่าทอคนที่ไม่เห็นด้วย
อาการแบบนี้มันบ่งบอกให้รู้ว่า กำลังยกเอาสมมติสงฆ์ขึ้นมาเป็นศาสดาโดยไม่รู้ตัว

ใครเขาแสดงความเห็นด้วยปัญญาของตนเอง ก็เที่ยวด่าเขาบ้า หาว่าด้นเดาเอาเอง
แต่ที่ถึงเวลาตัวเอง แทนที่จะอ้างอิงพระไตรปิฎกหรือจะเป็นอรรถกถาก็ได้ กลับไม่ครับ
ดันไปอ้างเอาตำราที่แต่งจากสมมติสงฆ์
แค่บอกว่า เขาแปลแบบโน้นแบบนี้ ผมก็ตลกจนหัวเราะออกมาเป็นเสียงไซเรนรถปอเต็กตึ๊งแล้ว


แม้คำที่เป็นโวหารง่ายๆยังไม่มีปัญญาเทียบเคียงพุทธพจน์ ผลของการมั่วพระพุทธพจน์
ทำให้คนรุ่นหลังมีแต่ความสับสน นี่เป็นเพราะการมั่วพระพุทธพจน์ของสมมติสงฆ์ นั้นเอง

Kiss
:b1:
เหมือนตอนนี้ที่พี่โฮฮํบกำลังทำอยู่เลยน่ะ รู้ตัวบ้างไหมว่ากำลังทำอะไรอยู่
:b32: :b32:


แสดงโพสต์จาก:  เรียงตาม  
กลับไปยังกระทู้  [ 24 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1, 2

เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


 ผู้ใช้งานขณะนี้

่กำลังดูบอร์ดนี้: ไม่มีสมาชิก และ บุคคลทั่วไป 1 ท่าน


ท่าน ไม่สามารถ โพสต์กระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ตอบกระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แก้ไขโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ลบโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แนบไฟล์ในบอร์ดนี้ได้

ค้นหาสำหรับ:
ไปที่:  
Google
ทั่วไป เว็บธรรมจักร