วันเวลาปัจจุบัน 17 ก.ค. 2025, 21:06  



เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง




กลับไปยังกระทู้  [ 925 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1 ... 24, 25, 26, 27, 28, 29, 30 ... 62  ต่อไป  Bookmark and Share
เจ้าของ ข้อความ
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 18 ก.พ. 2014, 11:05 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 18 ก.ย. 2011, 21:51
โพสต์: 4941


 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
asoka เขียน:
:b27:

เรียนคุณกรัชกาย

บัดนี้มีผู้รู้ที่สามารถตอบคำถามของกรัชกายได้ทันที สั้นและเข้าใจง่ายด้วย ต้องขอบคุณ

ที่กรัชกายจะได้มีที่่ทำให้หายสงสัย หมดข้อขัดข้องใจแล้ว ไม่ต้องมาเซ้าซี้ถามอโศกะอีก

อนุโมทนา

smiley



อโศกรู้ได้ไงว่าที่เขาตอบถูกต้อง :b1:


เอาอีกเอ้า :b1:

http://www.youtube.com/watch?v=femTH2lIlbk

:b12:
ผมระบุมาแต่เพียงว่า มีผู้รู้ ตอบคำถามของกรัชกายได้ สั้นดีด้วย
ถือว่าใช้ได้ดีด้วยซ้ำไปสำหรับการแก้ปัญหาระยะสั้น...กรัชกายน่าจะพอใจได้

แต่ถ้าจะเอาคำตอบในมุมมองและประสบการณ์ของอโศกะก็คงจะยืนตามที่เคยได้อธิบายให้กรัชกายทราบมาแล้วว่า

หลักการ

"ต้องใช้ทั้งสมถะและวิปัสสนาร่วมกันแก้ไข"

ปัญหาของโยคีผู้นี้จึงจะระงับ และถูกถอนรากถอนโคนออกทิ้งไป

ปฏิบัติการ

อุปไว้ก่อนคอยจนกว่ากรัชกายจะเอ่ยปากอยากเรียนรู้

"หลักและวิธีการแก้ไขปัญหาของผู้ปฏิบัติวิปัสสนาภาวนา"
:b11:
:b13:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 22 ก.พ. 2014, 13:00 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 18 ก.ย. 2011, 21:51
โพสต์: 4941


 ข้อมูลส่วนตัว


onion onion
คำสอนใด..ถ้าไม่เป็นไปเพื่อคลายกำหนัด ย้อมใจ เพื่อปราศจากทุกข์
เพื่อละกิเลส สงัด มักน้อย สันโดษ พากเพียร ความเป็นผู้เลี้ยงง่าย
นั่นไม่ใช่คำสอนของพระพุทธเจ้า
(โคตมีสูตร23/288)
:b8:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 22 ก.พ. 2014, 13:04 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 18 ก.ย. 2011, 21:51
โพสต์: 4941


 ข้อมูลส่วนตัว


:b12:
คุยกับนักวิชาการ อ้างตำรามาอย่างนี้ นักวิชาการคงชอบมั้ง?
:b17:
หลักโคตมีสูตร

อีกประการหนึ่ง ในฐานะที่เราเป็นพุทธบริษัท
เราจะรู้ได้อย่างไรว่าอะไรเป็นธรรมะของพระพุทธเจ้า
อะไรไม่ใช่ เรื่องนี้พระพุทธเจ้าท่านก็หวั่นวิตกอยู่
พระองค์จึงได้วางหลักไว้ให้เราตัดสิน ที่เรียกว่า
หลักโคตมีสูตร เป็นหลักซึ่งเราควรจะนำมาใช้
ที่สุดในสมัยนี้ ว่าอะไรเป็นของแท้อะไรเป็นของปลอม
หลักที่พระพุทธเจ้าวางไว้มี ๘ ข้อด้วยกัน คือ

ธรรมเหล่าใด
เป็นไปเพื่อความกำหนัดย้อมใจ
เป็นไปเพื่อสะสมกองกิเลส
เป็นไปเพื่อความอยากใหญ่
เป็นไปเพื่อความไม่สันโดษ
เป็นไปเพื่อความคลุกคลีกันเป็นหมู่เป็นคณะ
เป็นไปเพื่อความเกียจคร้าน
เป็นไปเพื่อความเลี้ยงยาก

นั่นไม่ใช่ธรรม ไม่ใช่วินัย ไม่ใช่คำสอนของพระพุทธเจ้า

แต่ถ้าหากว่าข้อปฏิบัติการกระทำ หรือคำสอนเหล่าใด
เป็นไปเพื่อความคลายกำหนัดย้อมใจ
เป็นไปเพื่อคลายความทุกข์
เป็นไปเพื่อไม่สะสมกองกิเลส
เป็นไปเพื่อความไม่คลุกคลีกันเป็นหมู่คณะ
เป็นไปเพื่อความขยันหมั่นเพียร
เป็นคนเลี้ยงง่าย

นั้นเป็นธรรมเป็นวินัยของพระพุทธเจ้า


หลักนี้เราควรจะจำทีเดียว ก็เก็บไปติดไว้ในใจแล้วก็ดู
การกระทำ การพูด การปฏิบัติ หนังสือที่เราอ่าน ว่าสิ่งนั้น
เป็นธรรมเป็นวินัยหรือไม่ เอาแว่นแปดอันนี้ใส่ตาเข้า
แล้วก็ส่องดูเราก็เห็นได้ ว่าอันนั้นใช่ อันนั้นไม่ใช่
เพราะในสมัยนี้ครูมาก อาจารย์มาก แล้วครูอาจารย์
ส่วนมากก็มักจะชักนำลูกศิษย์ตามทางของตน
เพื่อประโยชน์อย่างโน้น เพื่อประโยชน์อย่างนี้
ถ้าหากว่าเราไม่มีแว่นกระจกไว้ส่องดูให้ดีๆ แล้ว
ความเข้าใจผิดก็อาจจะเกิดขึ้นแก่พี่น้องพุทธบริษัททั้งหลาย
ได้ง่ายเหลือเกิน จึงอยากจะขอฝากแนวคิดนี้ไว้ด้วย
:b11:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 22 ก.พ. 2014, 21:37 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 3
สมาชิก ระดับ 3
ลงทะเบียนเมื่อ: 18 ม.ค. 2010, 20:54
โพสต์: 163

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


จะดับนิวรณ์แต่ไม่มีกำลังของจิตจะไปไหวเหรอ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 22 ก.พ. 2014, 22:26 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 18 ก.ย. 2011, 21:51
โพสต์: 4941


 ข้อมูลส่วนตัว


เจ้าวังทอง เขียน:
จะดับนิวรณ์แต่ไม่มีกำลังของจิตจะไปไหวเหรอ

smiley
ก็ต้องใช้ทั้งกำลังจิตและกำลังปัญญา ร่วมด้วยช่วยกันนะครับ

คือทั้งสมถะและวิปัสสนา เจริญไปพร้อมๆกัน
:b8:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 23 ก.พ. 2014, 05:16 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


asoka เขียน:
เจ้าวังทอง เขียน:
จะดับนิวรณ์แต่ไม่มีกำลังของจิตจะไปไหวเหรอ

smiley
ก็ต้องใช้ทั้งกำลังจิตและกำลังปัญญา ร่วมด้วยช่วยกันนะครับ

คือทั้งสมถะและวิปัสสนา เจริญไปพร้อมๆกัน
:b8:


อ้างคำพูด:
คือทั้งสมถะและวิปัสสนา เจริญไปพร้อมๆกัน


อโศกพูดไม่เคยสุด พูดค้างๆคาๆเหมือนคนฉี่ไม่สุด :b9:

เจริญยังไง ที่ว่าเจริญทั้งสมถะวิปัสสนาไปพร้อมๆกัน

สมถะได้แก่ อะไร?
วิปัสสนา ได้แก่อะไร?

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 23 ก.พ. 2014, 12:10 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 18 ก.ย. 2011, 21:51
โพสต์: 4941


 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
asoka เขียน:
เจ้าวังทอง เขียน:
จะดับนิวรณ์แต่ไม่มีกำลังของจิตจะไปไหวเหรอ

smiley
ก็ต้องใช้ทั้งกำลังจิตและกำลังปัญญา ร่วมด้วยช่วยกันนะครับ

คือทั้งสมถะและวิปัสสนา เจริญไปพร้อมๆกัน
:b8:


อ้างคำพูด:
คือทั้งสมถะและวิปัสสนา เจริญไปพร้อมๆกัน


อโศกพูดไม่เคยสุด พูดค้างๆคาๆเหมือนคนฉี่ไม่สุด :b9:

เจริญยังไง ที่ว่าเจริญทั้งสมถะวิปัสสนาไปพร้อมๆกัน

สมถะได้แก่ อะไร?
วิปัสสนา ได้แก่อะไร?

:b12:
คำถามเก่าๆ ตอบไปแล้วหลายครั้งไปค้นอ่านดูเอาเองไป้ นักวิชาการใหญ่
grin


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 23 ก.พ. 2014, 17:07 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


asoka เขียน:
กรัชกาย เขียน:
asoka เขียน:
เจ้าวังทอง เขียน:
จะดับนิวรณ์แต่ไม่มีกำลังของจิตจะไปไหวเหรอ

smiley
ก็ต้องใช้ทั้งกำลังจิตและกำลังปัญญา ร่วมด้วยช่วยกันนะครับ

คือทั้งสมถะและวิปัสสนา เจริญไปพร้อมๆกัน
:b8:


อ้างคำพูด:
คือทั้งสมถะและวิปัสสนา เจริญไปพร้อมๆกัน


อโศกพูดไม่เคยสุด พูดค้างๆคาๆเหมือนคนฉี่ไม่สุด :b9:

เจริญยังไง ที่ว่าเจริญทั้งสมถะวิปัสสนาไปพร้อมๆกัน

สมถะได้แก่ อะไร?
วิปัสสนา ได้แก่อะไร?

:b12:
คำถามเก่าๆ ตอบไปแล้วหลายครั้งไปค้นอ่านดูเอาเองไป้ นักวิชาการใหญ่



ตอบคำถามนี้หน่อย แล้วจะทำพร้อมๆกันได้ไง สมถะกับวิปัสสนาน่ะ คิกๆๆ

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 23 ก.พ. 2014, 19:54 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 18 ก.ย. 2011, 21:51
โพสต์: 4941


 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
asoka เขียน:
กรัชกาย เขียน:
asoka เขียน:
เจ้าวังทอง เขียน:
จะดับนิวรณ์แต่ไม่มีกำลังของจิตจะไปไหวเหรอ

smiley
ก็ต้องใช้ทั้งกำลังจิตและกำลังปัญญา ร่วมด้วยช่วยกันนะครับ

คือทั้งสมถะและวิปัสสนา เจริญไปพร้อมๆกัน
:b8:


อ้างคำพูด:
คือทั้งสมถะและวิปัสสนา เจริญไปพร้อมๆกัน


อโศกพูดไม่เคยสุด พูดค้างๆคาๆเหมือนคนฉี่ไม่สุด :b9:

เจริญยังไง ที่ว่าเจริญทั้งสมถะวิปัสสนาไปพร้อมๆกัน

สมถะได้แก่ อะไร?
วิปัสสนา ได้แก่อะไร?

:b12:
คำถามเก่าๆ ตอบไปแล้วหลายครั้งไปค้นอ่านดูเอาเองไป้ นักวิชาการใหญ่



ตอบคำถามนี้หน่อย แล้วจะทำพร้อมๆกันได้ไง สมถะกับวิปัสสนาน่ะ คิกๆๆ

:b38:
คราใด จิตนิ่งอยู่กับอารมณ์ เป็นสมถะภาวนา

คราใด จิตนิ่งรู้อารมณ์ เป็นวิปัสสนาภาวนา
:b11:
อานาปานสติสูตร ทั้ง 16 ขั้นตอน นั่นคือการทำสมถะ ควบคู่ไปกับ วิปัสสนาภาวนา ลองไปอ่านและสังเกต พิจารณาให้ดีๆ.....เคยอธิบายโดยละเอียดแล้ว
:b37:
:b36:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 24 ก.พ. 2014, 08:57 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


asoka เขียน:
กรัชกาย เขียน:
asoka เขียน:
กรัชกาย เขียน:
asoka เขียน:
เจ้าวังทอง เขียน:
จะดับนิวรณ์แต่ไม่มีกำลังของจิตจะไปไหวเหรอ

smiley
ก็ต้องใช้ทั้งกำลังจิตและกำลังปัญญา ร่วมด้วยช่วยกันนะครับ

คือทั้งสมถะและวิปัสสนา เจริญไปพร้อมๆกัน
:b8:


อ้างคำพูด:
คือทั้งสมถะและวิปัสสนา เจริญไปพร้อมๆกัน


อโศกพูดไม่เคยสุด พูดค้างๆคาๆเหมือนคนฉี่ไม่สุด :b9:

เจริญยังไง ที่ว่าเจริญทั้งสมถะวิปัสสนาไปพร้อมๆกัน

สมถะได้แก่ อะไร?
วิปัสสนา ได้แก่อะไร?

:b12:
คำถามเก่าๆ ตอบไปแล้วหลายครั้งไปค้นอ่านดูเอาเองไป้ นักวิชาการใหญ่



ตอบคำถามนี้หน่อย แล้วจะทำพร้อมๆกันได้ไง สมถะกับวิปัสสนาน่ะ คิกๆๆ

:b38:
คราใด จิตนิ่งอยู่กับอารมณ์เป็นสมถะภาวนา

คราใด จิตนิ่งรู้อารมณ์เป็นวิปัสสนาภาวนา

อานาปานสติสูตร ทั้ง 16 ขั้นตอน นั่นคือการทำสมถะ ควบคู่ไปกับ วิปัสสนาภาวนา ลองไปอ่านและสังเกต พิจารณาให้ดีๆ.....เคยอธิบายโดยละเอียดแล้ว


่พ่อนักวิชาการใหญ่ว่าเข้าไปนั่น :b1:

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 24 ก.พ. 2014, 13:29 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 18 ก.ย. 2011, 21:51
โพสต์: 4941


 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
asoka เขียน:
กรัชกาย เขียน:
asoka เขียน:
กรัชกาย เขียน:
asoka เขียน:
เจ้าวังทอง เขียน:
จะดับนิวรณ์แต่ไม่มีกำลังของจิตจะไปไหวเหรอ

smiley
ก็ต้องใช้ทั้งกำลังจิตและกำลังปัญญา ร่วมด้วยช่วยกันนะครับ

คือทั้งสมถะและวิปัสสนา เจริญไปพร้อมๆกัน
:b8:


อ้างคำพูด:
คือทั้งสมถะและวิปัสสนา เจริญไปพร้อมๆกัน


อโศกพูดไม่เคยสุด พูดค้างๆคาๆเหมือนคนฉี่ไม่สุด :b9:

เจริญยังไง ที่ว่าเจริญทั้งสมถะวิปัสสนาไปพร้อมๆกัน

สมถะได้แก่ อะไร?
วิปัสสนา ได้แก่อะไร?

:b12:
คำถามเก่าๆ ตอบไปแล้วหลายครั้งไปค้นอ่านดูเอาเองไป้ นักวิชาการใหญ่



ตอบคำถามนี้หน่อย แล้วจะทำพร้อมๆกันได้ไง สมถะกับวิปัสสนาน่ะ คิกๆๆ

:b38:
คราใด จิตนิ่งอยู่กับอารมณ์เป็นสมถะภาวนา

คราใด จิตนิ่งรู้อารมณ์เป็นวิปัสสนาภาวนา

อานาปานสติสูตร ทั้ง 16 ขั้นตอน นั่นคือการทำสมถะ ควบคู่ไปกับ วิปัสสนาภาวนา ลองไปอ่านและสังเกต พิจารณาให้ดีๆ.....เคยอธิบายโดยละเอียดแล้ว


่พ่อนักวิชาการใหญ่ว่าเข้าไปนั่น :b1:

:b12:
ไม่ใช่แค่.....ว่าเข้าไปนั้นแบบนักวิชาการกรัชกาย

นี่เป็นผลจากปฏิบัติการ พิสูจน์ธรรม แล้วสังเกต วิเคราะห์ นำมาเล่าสู่กันฟัง

ไม่ใช่ไปคัดลอกท่องจำมาอย่างที่กรัชกายทำอยูหรอกนะ

ลองไปพิสูจน์ดูมั่งซิ กรัชกาย
s004


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 28 ก.พ. 2014, 21:30 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 18 ก.ย. 2011, 21:51
โพสต์: 4941


 ข้อมูลส่วนตัว


:b16: :b16:
คลื่นลมสงบดีไม่มีสิ่งรบกวนสมควรที่เราจะได้สนทนากันในเรื่องของ นิวรณ์ 5 สิ่งกางกั้นคนไว้ไม่ให้ถึงความดี กันต่อไป

เพราะเรื่องของนิวรณ์ 5 มีหลายแง่หลายมุมมองที่น่าพิจารณา

1.กามฉันทะ....ความยินดีในผัสสะ

2.พยาบาท....ความยินร้ายในผัสสะ

3.อุทธจจะ....ความฟุ้งซ่าน กุกุจจะ.....ความหงุดหงิดงุ่นง่าน ลำคาญ

4.ถีนะ.....ความเกียจคร้าน หดหู้ ห่อเหี่ยว มิทธะ....ความง่วงเหงาหาวนอน

5.วิจิกิจฉา......ความลังเล สงสัยรู้ไม่จริง
:b41:
นิวรณ์ข้อที่ 1 - 2 นี่ไปมีความสัมพันธ์ต่อเนื่องเป็นเหตุเป็นปัจจัยกันกับ นิวรณ์ข้อ 3

ถ้าเกิดกามฉันทะ คือความยินดี พอใจ ต่อผัสสะของทวารทั้ง 6 ความฟุ้งซ่าน หรืออุทธัจจะ จะเกิดตามมาคือมโนกรรมหรือความคิดฟุ้งปรุงไปด้วยอำนาจของความยินดีจะเกิดตามมาเป็นผล

ถ้าเกิด พยาบาท หรือความยินร้ายต่อผัสสะของทวารทั้ง 6 กุกุจจะ ความหงุดหงิด งุ่นงาน ขุ่นมัว หรือโทสะก็จะเกิดตามมาเป็นผล

สังเกตลึกลงไปอีกหน่อยจะเห็นว่า ความเพียรที่จะชำระนิวรณ์ 2 ข้อแรก คือกามฉันทะกับพยาบาท นี่ กลับไปตรงกับงานหลักของสติปัฏฐาน 4 คือ การเอาออกเสียให้ได้ซึ่งความยินดียินร้ายในโลก โลกในทางธรรมก็คือสิ่งที่เกิดขึ้นด้วยอำนาจของผัสสะ

ดังนั้นการขุดถอน ชำระนิวรณ์ธรรมข้อที่ 1 - 2 นั่นคือการเจริญสติปัฏฐานไปด้วยอีกทางหนึ่งนั่นเอง

แต่การกด หรือข่มทับนิวรณ์ ข้อ ที่ 1 - 2 ด้วยกำลังแห่งสติที่กำหนดให้อยู่กับคำบริกรรมหรือองค์กรรมฐานนั้น ไม่ใช่การเจริญสติปัฏฐาน 4 เพราะมันเป็นสมถะภาวนาล้วนๆ

จบข้อสังเกตที่ 1
:b36:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 02 มี.ค. 2014, 21:03 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 18 ก.ย. 2011, 21:51
โพสต์: 4941


 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
ดังที่เคยได้กล่าวไว้แล้วว่า

สมถะภาวนา เป็นการกดข่ม กลบบัง นิวรณ์ธรรมไว้ด้วยอำนาจของสติ

วิปัสสนาภาวนา เป็นการขุดถอน นิวรณ์ธรรมออกจากใจ ด้วยสติและปัญญา

นิวรณ์ธรรมที่เกิดขึ้นกั้นขวางการภาวนา บางครั้งต้องใช้สมถะ บางครั้งต้องใช้วิปัสสนา สลับกันไป จนกว่าจะสงบ เบาบางหรือหมดสิ้น

กามฉันทะ พยาบาท....แปลง่ายๆ ว่า ความยินดี กับ ความยินร้ายในผัสสะของทวารทั้ง 6 ถ้าเราเรารู้ทันแล้วใช้คำบริกรรม เช่น หนอ หรือพุทโธ หรือนิมิตกรรมฐานอื่น มาตัดให้ลืมความยินดียินร้ายนั้นเสียจนมันเงียบหรือดับไป นั่นเป็นการ กดข่มหรือ กลบทับบังไว้ไว้

แต่ถ้าเอาสติ ปัญญา มานิ่งรู้นิ่งสังเกตความยินดียินร้ายนั้น โดยไม่มีปฏิกิริยาตอบโต้อื่นใด จนความยินดียินร้ายนั้นดับไปเอง นี่เป็นการขุดถอน ลบอุปาทานในเรื่ีองที่ยินดียินร้ายนั้นให้หมดไป เป็นวิปัสสนาภาวนา
:b37:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 05 มี.ค. 2014, 12:07 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 18 ก.ย. 2011, 21:51
โพสต์: 4941


 ข้อมูลส่วนตัว


:b36:
การเจริญวิปัสสนาภาวนา.....การเจริญมรรค 8 .......การปฏิบัติธรรม เมื่อพิจารณาหรือสร้างมุมมองไปอีกมุมหนึ่งนั้น

คือกระบวนการ ลบทิ้งอุปาทานความยึดมั่นถือมั่น ในสิ่งต่างๆ

อุปาทานความยึดมั่นในสิ่งต่างๆนั้นจะถูกบันทึกไว้ในสมอง หรือที่เรียกว่า "สัญญา"

คนไทยจะมีอุปาทานเป็นภาษาไทยอยู่ในจิต อยู่ในสมอง....เปรียบไปก็คล้ายดิกชันนารีสำหรับแปลภาษา

คนไทย ถ้าได้ยินคำว่า "วัว"เขาจะนึกภาพวัวออกมาได้ทันที ถ้าชีวิตนี้เขาเคยได้พบ วัว และมีคนบอกเขาว่า สัตว์สี่เท้าที่มีเขาโค้งๆ สั้นๆ ตัวสีน้ำตาลหรือสีขาวกินหญ้าเป็นอาหารนี่เรียกว่า "วัว"....แต่ฝรั่งที่ไม่รู้ภาษาไทย ได้ยินคำว่า "วัว" เขาจะไม่รู้จักและนึกภาพไม่ออกเลยว่ามันคืออะไร

คำว่า "วัว"จึงเป็นอุปาทานหรือความยึดไว้ในใจของคนไทยหมายถึงสัตว์สี่เท้าที่มีเขาโค้งๆ สั้นๆ ตัวสีน้ำตาลหรือสีขาวกินหญ้าเป็นอาหาร

ดังนั้นในชีวิตของคนๆหนึ่งได้บันทึกอุปาทานไว้มากมายตั้งแต่เกิดมาใหม่ๆ่จำความได้จนถึงปัจจุบัน จึงสามารถสื่อสารกันกับคนอื่นๆที่มีอุปาทานภาษาเดียวกันรู้เรื่อง

อุปาทานความยึดเหล่านั้น เมื่อเอามาปรุงแต่งหรือผสมผสานกันมันก็จะเกิดเป็นเรื่องราวต่างๆได้มากมายแตกแยกย่อยแยะออกไปได้ไม่รู้จบ

เมื่อมีผัสสะหรือการกระทบกันของอายตนะภายนอกภายในทั้ง 12 อย่างก็ย่อมจะเกิดปฏิกิริยา ตอบโต้ ตอบสนองต่อสิ่งเร้าตามวิสัยของ ชีวิต
เกิดเป็นเวทนา ความรู้สึก ยินดี ยินร้าย เฉยๆ ตัณหา ความอยาก อุปาทานความผูกยึดว่าเป็นสิ่งนั้นสิ่งนี้ เกิด กรรม การกระทำ วิบาก การรับผลของการกระทำ ต่อเนื่องกันไปเป็นลูกโซ่ไม่รู้จบ ที่ท่านเรียกว่า "วัฏฏะ"

การปฏิบัติธรรมอย่างเช่นการเจริญสติปัฏฐาน 4 ที่พระพุทธเจ้าทรงสอน ท่านให้สนใจที่ผัสสะ การกระทบ เวทนาความรู้สึก ยินดี ยินร้าย อันเป็นช่วงต่อที่จะไปทำให้เกิด ตัณหา ความอยาก พระพุทธเจ้าทรงสอนว่า

"วิเนยยะ โลเก อภิชฌา โทมนัสสัง".แปลว่า เอาออกเสียให้ได้ซึ่งความยินดียินร้ายในโลก เมื่อหมดยินดียินร้าย ก็ย่อมจะเหลือแต่ความวางเฉยอันไม่ก่อให้เกิดกรรมหรือการกระทำอันใด

การจะเอาความยินดียินร้ายออกได้นั้นจะต้องทำอย่างไรล่ะ

การจะทำให้ความยินดียินร้ายไม่เกิดก็ต้อง ลบอุปาทาน คือคำแปลหรือความผูกยึดว่าเป็นนั่นเป็นนี่เมื่อมีการกระทบสัมผัสของทวารทั้ง 6
เช่น ตา เห็นรูป ก็ให้เห็นสักแต่ รูป ไม่แปลว่าเป็นรูปอะไร

หูได้ยินเสียงก็สักแต่ว่า เสียง ไม่ปรุงต่อว่าเป็นเสียงอะไร

ทำได้อย่างนี้ปฏิกิริยาตอบโต้ของจิตก็จะไม่เกิด ตัณหาและกรรม การกระทำก็จะไม่เกิด

วิธีที่จะทำให้ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ กระทบกับ รูป เสียง กลิ่น รส สัมผัส ธรรมารมณ์แล้วเกิดเป็นเพียงแค่รู้สักแต่ว่านั้นก็คือ
การลบความผูกยึดใน รูป เสียง กลิ่น รส สัมผัส ธรรมารมณ์

วิธีลบความผูกยึด ทำได้ง่ายๆโดย

นิ่งรู้นิ่งสังเกตปัจจุบันอารมณ์นั้นๆจนมันดับไปต่อหน้าต่อตา....เพียงเท่านี้เอง

ตัวอย่าง

ตา เห็น รูป จิตมันจะไปค้นสัญญาหรืออุปาทานเก่าที่บันทึกไว้มาแปลความหมายของรูปที่เห็น แต่ถ้าสติกับปัญญาไปกั้นไว้ไม่ให้จิตแลบไปปรุงแต่งความหมายของรูปนั้นสักพักเดียว ความดิ้นรนจะแปลความหมายของรูปนั้นจะดับไป.....ทำอย่างนี้ได้บ่อยๆชำนาญสักไม่กี่ครั้ง อุปาทาน ความผูกยึดในรูปอันนี้ก็จะดับไปไม่กลับคืนมาให้เป็นภาระอีกอีก
:b37:
:b38:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 06 มี.ค. 2014, 19:29 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 18 ก.ย. 2011, 21:51
โพสต์: 4941


 ข้อมูลส่วนตัว


:b38:
การลบอุปาทานเปรียบไปคล้ายกับการเอาไวัรัสมาทำให้หมดพิษ เหลือเพียงฤทธิ์ที่จะไปกระตุ้นให้เกิดความต้านทานโรคให้กับร่างกายมนุษย์ ที่เราีรียกว่า "วัคซีน"

อุปาทานถูกทำให้หมดพิษก็คือหมดความสามารถที่จะทำให้เกิดปฏิกิริยาตอบโต้เป็นยินดียินร้ายจากจิต

เมื่อจิตหมดยินดียินร้าย ความเฉย จักเกิดขึ่้นมาแทนเป็นผล

เฉย ไม่ก่อให้เกิดกรรม

ดังนั้นการเจริญวิปัสสนาภาวนาทุกวันก็เปนียบเป็นการลบอุปาทานหรือคำแปลที่บันทึก ยึดไว้ในสัญญา

เมื่อมีการกระทยสัมผัสของอวัยวะทั้ง 6 แล้วไม่มีการแปลความหมายไปตามอุปาทานที่ยึดไว้

การกระทบสัมผัสทั้งหมดจึงกลายเป็นเพียงกิริยา อาการ หรือ สักแต่ว่า หาความสำคัญมั่นหมายใดๆไม่ได้
:b37:


แสดงโพสต์จาก:  เรียงตาม  
กลับไปยังกระทู้  [ 925 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1 ... 24, 25, 26, 27, 28, 29, 30 ... 62  ต่อไป

เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


 ผู้ใช้งานขณะนี้

่กำลังดูบอร์ดนี้: Google [Bot] และ บุคคลทั่วไป 1 ท่าน


ท่าน ไม่สามารถ โพสต์กระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ตอบกระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แก้ไขโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ลบโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แนบไฟล์ในบอร์ดนี้ได้

ค้นหาสำหรับ:
ไปที่:  
Google
ทั่วไป เว็บธรรมจักร