วันเวลาปัจจุบัน 04 พ.ค. 2025, 07:52  



เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง




กลับไปยังกระทู้  [ 133 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1, 2, 3, 4, 5, 6, 7 ... 9  ต่อไป  Bookmark and Share
เจ้าของ ข้อความ
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 03 มิ.ย. 2011, 16:31 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 09 มิ.ย. 2007, 21:13
โพสต์: 2631

อายุ: 0
ที่อยู่: กทม.

 ข้อมูลส่วนตัว


my-way เขียน:
eragon_joe เขียน:
LuiPan เขียน:
คำว่า ละ นั้น มีปัญหามากในการให้คำอธิาย เสมือนการตอกลิ่มไม้ใหม่เข้าไปในเนื้อกลองจัญไร

ดังนั้น ควรใช้คำของตถาคต

คำว่า ละ ที่เป็นคำเดิมของพระตถาคต คือ ไม่เผลอเพลิน หรือ ไม่เผลอมีนันทิราคะ

ละ แบบ ละนันทิราคะ หากกลับไปอ่านสำนวนบาลีเดิม จะพบว่า คำเดิมก็ใช้คำว่า
ขจัดนันทิราคะ นี่แหละ แต่เพราะลิ่มสลักที่แปลเข้าไปใหม่ แล้วนิยมใช้กัน ก็เอา
คำว่า ละ เข้าไปแทนที่ ทำให้คำของตถาคตที่กล่าวไว้ดีแล้ว อันตรธานหายไป


อันตรธาน มิได้เริ่มที่ บัญญัติ

ละนันทิราคะ หรือ ขจัดนันทิราคะ เพื่อให้ได้ผลซึ่งอะไร นี่คือนัยที่หายไป

ถ้าปัจจัยหนึ่งมิจางไป การแตกร้าวย่อมไม่ปรากฎ

ความเสื่อมแรกที่ปรากฎก่อนที่ ความเสื่อมอื่น ๆ จะปรากฎตามมาก็คือ

สมดุลแห่งความเป็นกลอง เมื่อสมดุลเสีย สิ่งแรกที่สังเกตได้คือ เสียงกลองที่เพี้ยนไป

ส่วนรูปลักษณ์ภายนอก เป็นสิ่งที่เห็นได้หลังจากนั้นมา

ผู้ที่จะรู้ว่าเสียงกลองนั้นเพี้ยนไป มีเพียง ผู้ที่ชำนาญในอุปกรณ์นั้น

สำเนียงที่เพี้ยนไป คือ สิ่งแรกที่ทำให้เรารู้ว่า
กลองนั้นเสียสมดุล และกำลังเดินทางเข้าสู่การเสื่อมในกาลต่อไป

การเห็น นัยยะแห่งกลอง สะท้อน
หนึ่ง กลองที่เราเห็น ไม่ใช่สิ่งเดียวกับกลองใบเก่า
ดังนั้นการตีกลอง ยังกลองใบนี้ เสียงที่ได้ ก็ไม่ใช่เสียงเดียวกับเสียงที่ได้ออกมาจากกลองใบเก่า

สอง เราไม่อาจจะยึดกลองใบนี้ เสียงกลองเสียงนี้ ว่าเป็นสำเนียงที่แท้จริงของกลองได้ไม่

สาม สำเนียงดั่งเดิมของกลองนั้น จางหายไปจากความทรงจำของพวกเราได้อย่างไร
แล้วอะไรคือ สิ่งที่จะช่วยให้เราแกะรอยกลับไปหาสำเนียงนั้นได้ อีกครั้ง

นี่คือเหตุผลที่ ทำไม พุทธจึงแบ่งแยกออกเป็นสองสาย
ก็คือ แบ่งหน้าที่ในการเก็บรักษา
เพื่อสักวันหนึ่ง จะมีผู้นำสมบัติทั้งสองชิ้น กลับมาเชื่อมต่อกันอีกครั้ง

:b8: ไร้สาระท่าน ... ไม่มีอะไร
แค่อ่านความเห็นท่านแล้ว มันรู้สึกไปถึงสำเนียงที่หายไปก่อนที่เนื้อกลองจะหายไป

:b8: :b8: :b8:


กลองหุ้มด้วยหนังอะไร ถึงจะตีดัง

มุสิละ ดีดพิณเจ็ดสาย เสียงไพเราะเสนาะโสตจับใจคนฟัง

แต่อาจารย์ของมุสิละ ใช้พิณจัญไร ไม่มีสายสักสายเดียว
แต่เสียงธรรม กระจายไปถึงเทวโลก

เสียงของธรรม หาได้เกิดจากหนังกลอง
เสียงของธรรม หาได้เกิดจาสายพิณ


สรุปว่าอย่างนี้ได้ไหม

สิ่งที่เกิดจากการปรุ่งแต่งไม่ใช่วิมุติธรรม

.....................................................
นิพพานที่นี่ เดี๋ยวนี้


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 03 มิ.ย. 2011, 16:41 
 
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 3
สมาชิก ระดับ 3
ลงทะเบียนเมื่อ: 27 พ.ค. 2011, 23:50
โพสต์: 143


 ข้อมูลส่วนตัว


mes เขียน:
my-way เขียน:
eragon_joe เขียน:
LuiPan เขียน:
คำว่า ละ นั้น มีปัญหามากในการให้คำอธิาย เสมือนการตอกลิ่มไม้ใหม่เข้าไปในเนื้อกลองจัญไร

ดังนั้น ควรใช้คำของตถาคต

คำว่า ละ ที่เป็นคำเดิมของพระตถาคต คือ ไม่เผลอเพลิน หรือ ไม่เผลอมีนันทิราคะ

ละ แบบ ละนันทิราคะ หากกลับไปอ่านสำนวนบาลีเดิม จะพบว่า คำเดิมก็ใช้คำว่า
ขจัดนันทิราคะ นี่แหละ แต่เพราะลิ่มสลักที่แปลเข้าไปใหม่ แล้วนิยมใช้กัน ก็เอา
คำว่า ละ เข้าไปแทนที่ ทำให้คำของตถาคตที่กล่าวไว้ดีแล้ว อันตรธานหายไป


อันตรธาน มิได้เริ่มที่ บัญญัติ

ละนันทิราคะ หรือ ขจัดนันทิราคะ เพื่อให้ได้ผลซึ่งอะไร นี่คือนัยที่หายไป

ถ้าปัจจัยหนึ่งมิจางไป การแตกร้าวย่อมไม่ปรากฎ

ความเสื่อมแรกที่ปรากฎก่อนที่ ความเสื่อมอื่น ๆ จะปรากฎตามมาก็คือ

สมดุลแห่งความเป็นกลอง เมื่อสมดุลเสีย สิ่งแรกที่สังเกตได้คือ เสียงกลองที่เพี้ยนไป

ส่วนรูปลักษณ์ภายนอก เป็นสิ่งที่เห็นได้หลังจากนั้นมา

ผู้ที่จะรู้ว่าเสียงกลองนั้นเพี้ยนไป มีเพียง ผู้ที่ชำนาญในอุปกรณ์นั้น

สำเนียงที่เพี้ยนไป คือ สิ่งแรกที่ทำให้เรารู้ว่า
กลองนั้นเสียสมดุล และกำลังเดินทางเข้าสู่การเสื่อมในกาลต่อไป

การเห็น นัยยะแห่งกลอง สะท้อน
หนึ่ง กลองที่เราเห็น ไม่ใช่สิ่งเดียวกับกลองใบเก่า
ดังนั้นการตีกลอง ยังกลองใบนี้ เสียงที่ได้ ก็ไม่ใช่เสียงเดียวกับเสียงที่ได้ออกมาจากกลองใบเก่า

สอง เราไม่อาจจะยึดกลองใบนี้ เสียงกลองเสียงนี้ ว่าเป็นสำเนียงที่แท้จริงของกลองได้ไม่

สาม สำเนียงดั่งเดิมของกลองนั้น จางหายไปจากความทรงจำของพวกเราได้อย่างไร
แล้วอะไรคือ สิ่งที่จะช่วยให้เราแกะรอยกลับไปหาสำเนียงนั้นได้ อีกครั้ง

นี่คือเหตุผลที่ ทำไม พุทธจึงแบ่งแยกออกเป็นสองสาย
ก็คือ แบ่งหน้าที่ในการเก็บรักษา
เพื่อสักวันหนึ่ง จะมีผู้นำสมบัติทั้งสองชิ้น กลับมาเชื่อมต่อกันอีกครั้ง

:b8: ไร้สาระท่าน ... ไม่มีอะไร
แค่อ่านความเห็นท่านแล้ว มันรู้สึกไปถึงสำเนียงที่หายไปก่อนที่เนื้อกลองจะหายไป

:b8: :b8: :b8:


กลองหุ้มด้วยหนังอะไร ถึงจะตีดัง

มุสิละ ดีดพิณเจ็ดสาย เสียงไพเราะเสนาะโสตจับใจคนฟัง

แต่อาจารย์ของมุสิละ ใช้พิณจัญไร ไม่มีสายสักสายเดียว
แต่เสียงธรรม กระจายไปถึงเทวโลก

เสียงของธรรม หาได้เกิดจากหนังกลอง
เสียงของธรรม หาได้เกิดจาสายพิณ


สรุปว่าอย่างนี้ได้ไหม

สิ่งที่เกิดจากการปรุ่งแต่งไม่ใช่วิมุติธรรม


ยังสรุปอย่างนั้นไม่ได้ ครับ
วิมุติธรรม วิมุตญารทรรศนะ ยังเป็นสิ่งปรุงแต่ง
ยังไม่เป็นของแท้
เอาเข้านิพพานไม่ได้
พระสารีบุตรยังทิ้งไว้ เอาไปไม่ได้ ครับ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 03 มิ.ย. 2011, 16:45 
 
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 3
สมาชิก ระดับ 3
ลงทะเบียนเมื่อ: 27 พ.ค. 2011, 23:50
โพสต์: 143


 ข้อมูลส่วนตัว


[๗๓๖] พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสถามว่า ดูก่อนอานนท์ สารี-

บุตรพาเอาศีลขันธ์ สมาธิขันธ์ ปัญญาขันธ์ วิมุตติขันธ์ หรือวิมุตติ-

ญาณทัสสนขันธ์ปรินิพพานไปด้วยหรือ.
ท่านพระอานนท์กราบทูลว่า หามิได้ พระเจ้าข้า ท่านพระ-

สารีบุตร มิได้พาศีลขันธ์ปรินิพพานไปด้วย ฯลฯ มิได้พาวิมุตติญาณ-

ทัสสนขันธ์ปรินิพพานไปด้วย.


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 03 มิ.ย. 2011, 17:02 
 
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 1
สมาชิก ระดับ 1
ลงทะเบียนเมื่อ: 02 มิ.ย. 2011, 19:46
โพสต์: 12


 ข้อมูลส่วนตัว


อ้างคำพูด:
สรุปว่าอย่างนี้ได้ไหม

สิ่งที่เกิดจากการปรุ่งแต่งไม่ใช่วิมุติธรรม


คุณ mes สรุปได้เฉียดญาณเลยทีเดียว สมกับเป็น ธรรมประยุกติ ค่าย ธรรมโฆษณ์( ตายลายเซ็น)

ที่นี้ ขออนุญาติ พาพิจารณา สิ่งปรุงแต่ง

ในทางบาลีเขามีคำว่า สสังขาริกัง กับ อสังขาริกัง ทั้งสองเป็นสิ่งปรุงแต่งทั้งคู่
แต่ สสังขาริกังนั้น เกิดจาก มีเจตนาชักชวนให้เกิด เรียกว่า มีตัณหาเจือปนอยู่มาก

ส่วน อสังขาริกังนั้น ไม่มีเจตนาชักชวน แต่มันเกิดเองจากจิตที่มีอวิชชาบ้าง หรือ
เกิดจากจิตที่มีวิชชาบ้าง

ทีนี้ สังเกตุดีๆว่า มีการเกิดจากการไม่เจตนาให้เกิด อันมีเหตุเกิดจากการมี วิชชา

ดังนั้น สิ่งที่เกิดย่อมถูกเรียกว่า สิ่งที่ปรุงแต่ง แต่เป็นการปรุงแต่งแบบไม่เจตนา

แล้วมันเป็นอะไร ก็หากเกิดจาก วิชชา เป็นตัวส่งให้เกิด นั่นก็แปลว่า สิ่งปรุง
แต่งนั้นได้มาเพราะ มีสมบัติอันงามเฉพาะตน และสมบัติแบบนี้เกิดขึ้นกับใคร
แล้วผู้ที่มีวาสนาเสมอกับสมบัตินั้น (สมาบัติ) นั้นย่อมต้องเสวย หลีกหนีไม่ได้

แต่การเสวยนั้น ไม่ใช่การเสวยเพราะ มีกิเลส

แต่มันเป็นการเสวยไปตามกริยา แรงผลักดัน ต้นทุนของจิตที่ส่งออกไปทางที่ดี

ซึ่งการเสวยแบบนี้ ไม่ได้เสวยเพราะอยากเสวย แต่มี และรู้ว่ามี และมีดีกว่า
ทำความคิดนึกๆเอาเอง เพราะมันจะออกมาจากข้อเท็จจริงของจิต รู้ได้เฉพาะตน

และจะทราบชัดอยู่เองว่า ไม่ได้เสวยเพราะ"ติด" การที่เสวยด้วยการไม่ติด ไม่ถือ
ไม่สำคัญมั่นหมาย แต่มันเสวยไปตามวิบากวาสนาที่ตบแต่งไว้ดีแล้ว อบรมไว้ดีแล้ว
มันก็เสวยไปตามนั้น

และแน่นอน มันยังเป็นการเสวย แต่ดีกว่า ไม่มีไว้เสวยเอาเสียเลย

การที่คุณ สรุปว่า นั่นยังไม่ใช่ วิมุตติ นี่ย่อมแสดงได้ถึงความ แยบคายในการพิจารณาธรรม

มี ธัมมวิจัยยะ ที่สมกับการมีลายเซ็น "นิพพานที่นี่ เดี๋ยวนี้"

แบบนี้ ขออนุญาติโยนคำหวานๆให้ อุปสัมมานสติกัมมัฏฐาน กับ ปฏิสัมภิทามรรค
เอาไว้ยั่วใจ

อย่าปรักปรำ ภาษานะ และอย่าดูถูกตัวเอง

อย่างไรเสีย

"คนเรา รู้อรรถธรรมได้ด้วยพยัญชนะ (พุทธพจน์)"

ดังนั้น จะได้รับคำแปลกๆ หรือ ดูเวอร์ๆ เกิน ก็อย่าพึงปฏิเสธ แต่ก็อย่ารีบร้อนรับ


แก้ไขล่าสุดโดย LuiPan เมื่อ 03 มิ.ย. 2011, 17:12, แก้ไขแล้ว 1 ครั้ง

โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 03 มิ.ย. 2011, 17:04 
 
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 3
สมาชิก ระดับ 3
ลงทะเบียนเมื่อ: 27 พ.ค. 2011, 23:50
โพสต์: 143


 ข้อมูลส่วนตัว


LuiPan เขียน:
กรัชกาย เขียน:
ท่านผู้รู้ผู้ทราบที่นับถือ ชาวพุทธอยากได้วิธีปฏิบัติเพื่อการ ละ ว่าต้องทำยังไง ปฏิบัติยังไง จึงจะละกิเลส ละสังโยชน์ได้ วิธีทำ วิธีปฏิบัติน่ะทำยังไง :b1: :b9:


ก่อนจะถามหาการปฏิบัตินั้นทำอย่างไร ก็ต้องมาทำความเข้าใจเรื่อง อินทรีย์ ที่ระบุในลาย
เซ็นนั้นเสียใหม่ให้ถูกก่อน

หากยังทำอะไรๆ แล้ว เซ็นลายเซ็นเรื่อง อินทรีย์ อยู่แบบนั้น ก็คง ป่วยการที่จะถามหาการปฏิบัติ

คำว่า อินทีรย์ คือ คือ สภาพธรรมที่เป็นใหญ่

ความเป็นใหญ่ของสภาพธรรม คือ เหนือการควบคุม เป็นสภาพธรรมที่เหนือบุคคล
สัตว ตัวตน บุคคล เราเขา ทั้งปวง จึงชื่อว่า อินทรีย์ธรรม

ยกตัวอย่างเช่น

ลูกตา หรือ ตา ซึ่งเป็น อินทรีย์อย่างหนึ่ง มีความเป็นใหญ่เหนือสรรพสิ่ง เหนือชีวิตตา

การที่มีการระบุว่า จะบังคับบัญชาได้ หรือ ขั้นสูงนั้นจะสำรวมอินทรีย์คือบังคับบัญชาได้

ถามว่า หากมีมัจจุมารหมายทวงคืนวาระกรรม คือ จิ้มลูกตาให้บอดเสีย

ผู้ที่มี อินทรีย์สังวรณ์ ที่ไหนในโลกธาตุ จะบังคับให้ตน มองเห็น หรือ มีความเป็นใหญ่
กว่า ตาอินทรีย์ ที่เสียหายไปแล้วได้บ้าง

จะเห็นว่า อินทรีย์คือ ความเป็นใหญ่

การระบุว่า

อ้างคำพูด:
ในขั้นสูง เมื่อกลายเป็นผู้เจริญอินทรีย์แล้ว มีความหมายถึงขั้นเป็นนายเหนือความรู้สึกต่างๆที่จะเกิดจากการรับรู้อารมณ์ทางตา ทางหู เป็นต้นเหล่านั้น สามารถบังคับให้เกิดความรู้สึกต่างๆได้ตามต้องการ


จึงเป็นเรื่องของบุคคล ที่ถือ สิ่งที่ไม่ถูกต้องอยู่ในมือ หากไม่วางลงก่อนเสีย ก็ป่วยการที่จะถาม
หา วิธีปฏิบัติ


:b4:

คุณลูแปงนี่ ก็ตาแหลม เหมือนกัน ใช้ได้ ๆๆ

สงสัยว่า คุณกรัชกายคงจะยังไม่รู้
ว่าที่ถูกต้องของลายเซนต์ ควรเป็นยังไงครับ
ถ้าได้ปฎิบัติบ้าง ไม่ถึงกับมากมาย ต้องรู้ว่าลายเซนต์ นั่นมันเพี้ยน


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 03 มิ.ย. 2011, 17:17 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 09 มิ.ย. 2007, 21:13
โพสต์: 2631

อายุ: 0
ที่อยู่: กทม.

 ข้อมูลส่วนตัว


my-way เขียน:
[๗๓๖] พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสถามว่า ดูก่อนอานนท์ สารี-

บุตรพาเอาศีลขันธ์ สมาธิขันธ์ ปัญญาขันธ์ วิมุตติขันธ์ หรือวิมุตติ-

ญาณทัสสนขันธ์ปรินิพพานไปด้วยหรือ.
ท่านพระอานนท์กราบทูลว่า หามิได้ พระเจ้าข้า ท่านพระ-

สารีบุตร มิได้พาศีลขันธ์ปรินิพพานไปด้วย ฯลฯ มิได้พาวิมุตติญาณ-

ทัสสนขันธ์ปรินิพพานไปด้วย.



ครับวิมุติธรรมเป็นดังแหข้ามฟาก

เมื่อข้ามฟากได้แล้วควรวางแพลง

จะคิดว่าแพนี้มีคุณควรทูนเอาไว้บนห้วด้วยความเคารพนั้นไม่ควร
:b8:

.....................................................
นิพพานที่นี่ เดี๋ยวนี้


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 03 มิ.ย. 2011, 17:22 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 09 มิ.ย. 2007, 21:13
โพสต์: 2631

อายุ: 0
ที่อยู่: กทม.

 ข้อมูลส่วนตัว


LuiPan เขียน:
อ้างคำพูด:
สรุปว่าอย่างนี้ได้ไหม

สิ่งที่เกิดจากการปรุ่งแต่งไม่ใช่วิมุติธรรม


คุณ mes สรุปได้เฉียดญาณเลยทีเดียว สมกับเป็น ธรรมประยุกติ ค่าย ธรรมโฆษณ์( ตายลายเซ็น)

ที่นี้ ขออนุญาติ พาพิจารณา สิ่งปรุงแต่ง

ในทางบาลีเขามีคำว่า สสังขาริกัง กับ อสังขาริกัง ทั้งสองเป็นสิ่งปรุงแต่งทั้งคู่
แต่ สสังขาริกังนั้น เกิดจาก มีเจตนาชักชวนให้เกิด เรียกว่า มีตัณหาเจือปนอยู่มาก

ส่วน อสังขาริกังนั้น ไม่มีเจตนาชักชวน แต่มันเกิดเองจากจิตที่มีอวิชชาบ้าง หรือ
เกิดจากจิตที่มีวิชชาบ้าง

ทีนี้ สังเกตุดีๆว่า มีการเกิดจากการไม่เจตนาให้เกิด อันมีเหตุเกิดจากการมี วิชชา

ดังนั้น สิ่งที่เกิดย่อมถูกเรียกว่า สิ่งที่ปรุงแต่ง แต่เป็นการปรุงแต่งแบบไม่เจตนา


แล้วมันเป็นอะไร ก็หากเกิดจาก วิชชา เป็นตัวส่งให้เกิด นั่นก็แปลว่า สิ่งปรุง
แต่งนั้นได้มาเพราะ มีสมบัติอันงามเฉพาะตน และสมบัติแบบนี้เกิดขึ้นกับใคร
แล้วผู้ที่มีวาสนาเสมอกับสมบัตินั้น (สมาบัติ) นั้นย่อมต้องเสวย หลีกหนีไม่ได้

แต่การเสวยนั้น ไม่ใช่การเสวยเพราะ มีกิเลส

แต่มันเป็นการเสวยไปตามกริยา แรงผลักดัน ต้นทุนของจิตที่ส่งออกไปทางที่ดี

ซึ่งการเสวยแบบนี้ ไม่ได้เสวยเพราะอยากเสวย แต่มี และรู้ว่ามี และมีดีกว่า
ทำความคิดนึกๆเอาเอง เพราะมันจะออกมาจากข้อเท็จจริงของจิต รู้ได้เฉพาะตน

และจะทราบชัดอยู่เองว่า ไม่ได้เสวยเพราะ"ติด" การที่เสวยด้วยการไม่ติด ไม่ถือ
ไม่สำคัญมั่นหมาย แต่มันเสวยไปตามวิบากวาสนาที่ตบแต่งไว้ดีแล้ว อบรมไว้ดีแล้ว
มันก็เสวยไปตามนั้น

และแน่นอน มันยังเป็นการเสวย แต่ดีกว่า ไม่มีไว้เสวยเอาเสียเลย

การที่คุณ สรุปว่า นั่นยังไม่ใช่ วิมุตติ นี่ย่อมแสดงได้ถึงความ แยบคายในการพิจารณาธรรม

มี ธัมมวิจัยยะ ที่สมกับการมีลายเซ็น "นิพพานที่นี่ เดี๋ยวนี้"

แบบนี้ ขออนุญาติโยนคำหวานๆให้ อุปสัมมานสติกัมมัฏฐาน กับ ปฏิสัมภิทามรรค
เอาไว้ยั่วใจ

อย่าปรักปรำ ภาษานะ และอย่าดูถูกตัวเอง

อย่างไรเสีย

"คนเรา รู้อรรถธรรมได้ด้วยพยัญชนะ (พุทธพจน์)"

ดังนั้น จะได้รับคำแปลกๆ หรือ ดูเวอร์ๆ เกิน ก็อย่าพึงปฏิเสธ แต่ก็อย่ารีบร้อนรับ


ที่ท่านอ้างมาเห็นพอจะเข้าใจได้ว่าเป็นการกระทำหรือกรรมของพระอรหันต์ที่ผมเคยอ่านในพระสูตร

การกระทำหรือกรรมของพระอรหันต์เป็นกริยาครับ

ไม่เกิดวิบาก เป็นอโหสิกรรมครับ

.....................................................
นิพพานที่นี่ เดี๋ยวนี้


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 03 มิ.ย. 2011, 17:35 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 11 ต.ค. 2010, 12:11
โพสต์: 5013


 ข้อมูลส่วนตัว


LuiPan เขียน:
อ้างคำพูด:
สรุปว่าอย่างนี้ได้ไหม

สิ่งที่เกิดจากการปรุ่งแต่งไม่ใช่วิมุติธรรม


คุณ mes สรุปได้เฉียดญาณเลยทีเดียว สมกับเป็น ธรรมประยุกติ ค่าย ธรรมโฆษณ์( ตามลายเซ็น)

ที่นี้ ขออนุญาติ พาพิจารณา สิ่งปรุงแต่ง

....



smiley smiley smiley

rolleyes rolleyes rolleyes

เห็นเป็นเวลาอันเหมาะแล้วที่เอกอนจะ :b21: และนั่งยล

smiley smiley smiley


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 03 มิ.ย. 2011, 17:44 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 3
สมาชิก ระดับ 3
ลงทะเบียนเมื่อ: 20 พ.ค. 2010, 23:10
โพสต์: 194

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:

:b35: :b35: :b35: :b35: :b35: :b35: :b35: :b35:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 03 มิ.ย. 2011, 18:33 
 
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 1
สมาชิก ระดับ 1
ลงทะเบียนเมื่อ: 02 มิ.ย. 2011, 19:46
โพสต์: 12


 ข้อมูลส่วนตัว


mes เขียน:
ที่ท่านอ้างมาเห็นพอจะเข้าใจได้ว่าเป็นการกระทำหรือกรรมของพระอรหันต์ที่ผมเคยอ่านในพระสูตร

การกระทำหรือกรรมของพระอรหันต์เป็นกริยาครับ

ไม่เกิดวิบาก เป็นอโหสิกรรมครับ


ตรงนี้ สำคัญมาก เวลาเรากล่าวถึง การภาวนา ที่เป็นเรื่อง เฉียดการ ตัดภพ ตัดชาติ

เป็นธรรมดาที่ เราจะกระเดิดไปเห็นว่า นี้เป็นเรื่อง อรหัตถมรรค

แท้จริงแล้ว จะอรหัตถมรรค หรือ โสดาปฏิมรรค หรือ มรรคจิต ผลจิต ไหน ขอให้โยนทิ้งไปก่อน
อย่าเอา ปัญญาลำหน้าการพิจารณา อรรถสาระของธรรม

การภาวนาตัดภพตัดชาตินั้น เป็นเรื่อง ธรรมะในปัจจุบัน ธรรมดาๆ

ใครๆก็ทำได้ หยุดกรรมลงได้ ที่นี้ เดี๋ยวนี้

แต่ การที่จิตจะตัดสินว่า เห็นมรรคแล้ว เห็นมรรคแล้ว อันนั้น มันเรื่องของ จิตที่จะ
ทำการสะสม ซึ่งการจะสะสมหรือตั้งมั่นอยู่ในการงานนี้ไม่ใช่ของง่าย ยังอีกเยอะ

แต่การตัดภพ ตัดชาติ นี้เป็นเรื่องที่ทำได้เลย ทำได้เดี๋ยวนี้

จิตจะมีหน้าที่ประจักษ์ต่อสิ่งที่เกิดขึ้นนี้ไปตามความเป็นจริง จนกว่าจะอิ่มการเห็น

แล้วพอเขาอิ่มการเห็น อิ่มอารมณ์ จิตเขาจะรวมเล็ก รวมใหญ่ ใส่ข้าวเหนียว ปู ปลาร้า
ก็ปล่อยให้เป็นเรื่อง "ของเก่า" หรือ วาสนามันจะนำพาไป

ซึ่งจะเป็นผล หรือไม่ อย่างไรตรงนี้ ต้องมีครูบาอาจารย์คอยชี้ให้

ครูบาอาจารย์ยังอยู่ ก็ขอให้ใช้ท่านให้คุ้ม กับ สหชาติที่มีอยู่

เพราะถ้าไม่มี ครูบาอาจารย์แล้ว หรือ เอาแต่ตัดครูบาอาจารย์คนอื่นอยู่

นั่นมันจะส่งผลให้ เราต้อง ระหกระเหิน และคาดเดาเอาเองว่า จบหรือยัง

ถ้าครูบาอาจารย์ ลาลับล่วงไปหมดแล้ว เหลือเพียงรูปกลุ่มไฟอุ้มบาตรให้ปิติ เท่านั้น

ก็มีแต่ "เสียดาย คนตาย ไม่ได้สอบอารมณ์"

คนเป็นก็ได้แต่ ว่างๆ ว่างๆ ไม่รู้อิโหน่อิเหน่ มันก็ไม่ดีต่อใครทั้งนั้นแหละ
มันเป็นเรื่องน่าเสียดาย ได้แค่ "ดีกว่าไม่ทำ" เท่านั้นเอง

* * * *

จาก บาลี ที่ให้ไปคราวก่อน เพื่อแทงกั๊ก ลองสังเกตใหม่ กับคำว่า "อุปสัมมานสติกรรมฐาน"

กรรมฐานนี้เป็น 1 ใน 40 กรรมฐาน หรือเปล่า หากใช่ ทำไมต้องไปตีโพยตีพายว่า
การภาวนาตัดภพตัดชาติ อุปสัมมานสติกรรมฐาน เป็นเรื่อง อรหัตถผล เสียถ่ายเดียว

อย่า ดูถูกตัวเอง จน มองข้ามเรื่องพื้นฐานง่ายๆแค่ กรรมฐาน40


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 03 มิ.ย. 2011, 19:26 
 
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 5
สมาชิก ระดับ 5
ลงทะเบียนเมื่อ: 17 มี.ค. 2011, 21:46
โพสต์: 373

ชื่อเล่น: ฮานะ ธรรมอาสา
อายุ: 28

 ข้อมูลส่วนตัว


LuiPan เขียน:
ทีนี้ สังเกตุดีๆว่า มีการเกิดจากการไม่เจตนาให้เกิด อันมีเหตุเกิดจากการมี วิชชา

ดังนั้น สิ่งที่เกิดย่อมถูกเรียกว่า สิ่งที่ปรุงแต่ง แต่เป็นการปรุงแต่งแบบไม่เจตนา

แล้วมันเป็นอะไร ก็หากเกิดจาก วิชชา เป็นตัวส่งให้เกิด นั่นก็แปลว่า สิ่งปรุง
แต่งนั้นได้มาเพราะ มีสมบัติอันงามเฉพาะตน และสมบัติแบบนี้เกิดขึ้นกับใคร
แล้วผู้ที่มีวาสนาเสมอกับสมบัตินั้น (สมาบัติ) นั้นย่อมต้องเสวย หลีกหนีไม่ได้

แต่การเสวยนั้น ไม่ใช่การเสวยเพราะ มีกิเลส

แต่มันเป็นการเสวยไปตามกริยา แรงผลักดัน ต้นทุนของจิตที่ส่งออกไปทางที่ดี


ซึ่งการเสวยแบบนี้ ไม่ได้เสวยเพราะอยากเสวย แต่มี และรู้ว่ามี และมีดีกว่า
ทำความคิดนึกๆเอาเอง เพราะมันจะออกมาจากข้อเท็จจริงของจิต รู้ได้เฉพาะตน

และจะทราบชัดอยู่เองว่า ไม่ได้เสวยเพราะ"ติด" การที่เสวยด้วยการไม่ติด ไม่ถือ
ไม่สำคัญมั่นหมาย แต่มันเสวยไปตามวิบากวาสนาที่ตบแต่งไว้ดีแล้ว อบรมไว้ดีแล้ว
มันก็เสวยไปตามนั้น

และแน่นอน มันยังเป็นการเสวย แต่ดีกว่า ไม่มีไว้เสวยเอาเสียเลย


:b6: ฮานะ ดี ชั่ว รู้หมด แต่ อดไม่ได้

.....................................................
ผู้ใดประพฤติธรรม ผู้นั้นชื่อว่าบูชาตถาคตอย่างยิ่ง


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 03 มิ.ย. 2011, 19:33 
 
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 5
สมาชิก ระดับ 5
ลงทะเบียนเมื่อ: 17 มี.ค. 2011, 21:46
โพสต์: 373

ชื่อเล่น: ฮานะ ธรรมอาสา
อายุ: 28

 ข้อมูลส่วนตัว


LuiPan เขียน:

จิตจะมีหน้าที่ประจักษ์ต่อสิ่งที่เกิดขึ้นนี้ไปตามความเป็นจริง จนกว่าจะอิ่มการเห็น

แล้วพอเขาอิ่มการเห็น อิ่มอารมณ์ จิตเขาจะรวมเล็ก รวมใหญ่ ใส่ข้าวเหนียว ปู ปลาร้า
ก็ปล่อยให้เป็นเรื่อง "ของเก่า" หรือ วาสนามันจะนำพาไป


:b6: แค่ เห็น ก็ เบื่อ และ

.....................................................
ผู้ใดประพฤติธรรม ผู้นั้นชื่อว่าบูชาตถาคตอย่างยิ่ง


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 03 มิ.ย. 2011, 22:49 
 
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 3
สมาชิก ระดับ 3
ลงทะเบียนเมื่อ: 27 พ.ค. 2011, 23:50
โพสต์: 143


 ข้อมูลส่วนตัว


Hana เขียน:
LuiPan เขียน:
ทีนี้ สังเกตุดีๆว่า มีการเกิดจากการไม่เจตนาให้เกิด อันมีเหตุเกิดจากการมี วิชชา

ดังนั้น สิ่งที่เกิดย่อมถูกเรียกว่า สิ่งที่ปรุงแต่ง แต่เป็นการปรุงแต่งแบบไม่เจตนา

แล้วมันเป็นอะไร ก็หากเกิดจาก วิชชา เป็นตัวส่งให้เกิด นั่นก็แปลว่า สิ่งปรุง
แต่งนั้นได้มาเพราะ มีสมบัติอันงามเฉพาะตน และสมบัติแบบนี้เกิดขึ้นกับใคร
แล้วผู้ที่มีวาสนาเสมอกับสมบัตินั้น (สมาบัติ) นั้นย่อมต้องเสวย หลีกหนีไม่ได้

แต่การเสวยนั้น ไม่ใช่การเสวยเพราะ มีกิเลส

แต่มันเป็นการเสวยไปตามกริยา แรงผลักดัน ต้นทุนของจิตที่ส่งออกไปทางที่ดี


ซึ่งการเสวยแบบนี้ ไม่ได้เสวยเพราะอยากเสวย แต่มี และรู้ว่ามี และมีดีกว่า
ทำความคิดนึกๆเอาเอง เพราะมันจะออกมาจากข้อเท็จจริงของจิต รู้ได้เฉพาะตน

และจะทราบชัดอยู่เองว่า ไม่ได้เสวยเพราะ"ติด" การที่เสวยด้วยการไม่ติด ไม่ถือ
ไม่สำคัญมั่นหมาย แต่มันเสวยไปตามวิบากวาสนาที่ตบแต่งไว้ดีแล้ว อบรมไว้ดีแล้ว
มันก็เสวยไปตามนั้น

และแน่นอน มันยังเป็นการเสวย แต่ดีกว่า ไม่มีไว้เสวยเอาเสียเลย


:b6: ฮานะ ดี ชั่ว รู้หมด แต่ อดไม่ได้


ฮานะ อดอะไรไม่ได้ครับ

อดส่งออก เป็นสมุทัยหรือเปล่า

ส่งออกแบบเจตนา และส่งออกแบบไม่เจตนา

ตรงนี้สำคัญยิ่งยวด และเป้นข้อธรรมที่ลึกซี้ง

จิตเมื่อส่งออก ไปเสวยอารมณ์จนอิ่ม จิตจะไม่มีกำลัง
ไม่อาจทำให้เกิดกำลังของจิตได้
จึงแล่นออกไป เสวยอารมณ์จนอิ่ม

ระหว่างที่เสวยอารมณ์ ก็เข้าไปข้องไปเสวยอยู่ในอารมณ์นั่น
คำว่าจิตเสวยอารณ์จนอื่ม
มันต่างกับความหมายในทางสมมุติ
ธรรมะจะสวนทางเสมอ

การเข้าไปติดอยู่อารณ์นี่น และเสวยอารณ์จนอิ่มทำให้จิตยิ่งไม่มีกำลัง
เพราะข้องอยู่ในอารมณ์ กว่าจะคลายตัวออกมาได้ ก็ซีดไปหละครับ

จิตส่งออกนอก จึงเป็นสมุทัย
ผลจากการส่งจิตออกนอก จึงเป็นทุกข์

เวอร์ชั่น 1 และ 2 ไง

จิตส่งออกนอกสองมาตรฐาน


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 03 มิ.ย. 2011, 22:56 
 
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 3
สมาชิก ระดับ 3
ลงทะเบียนเมื่อ: 27 พ.ค. 2011, 23:50
โพสต์: 143


 ข้อมูลส่วนตัว


ลองอ่านดู พื้นฐานการปฎิบัติเจริญจิตภาวนา ตามแบบหลวงปู่ดูย์
สำหรับผู้เรื่มปฎิบัติ

อันนีท่านพูดไว้ชัดเจน เรื่องการส่งออกไปเสวยอารณ์



วิธีเจริญจิตภาวนา (ตามวิธีหลวงปู่ดูลย์ อตุโล)

1. เริ่มต้นอิริยาบถที่สบาย

ยืน เดิน นั่ง นอน ได้ตามสะดวก ทำความรู้ตัวเต็มที่ และ รู้อยู่กับที่ โดยไม่ต้องรู้อะไร หรือ รู้ "ตัว" อย่างเดียว รักษาจิตเช่นนี้ไว้เรื่อย ๆ ให้ "รู้อยู่เฉย ๆ " ไม่ต้องไปจำแนกแยกแยะ อย่าบังคับ อย่าพยายาม อย่าปล่อยล่องลอยตามยถากรรม เมื่อรักษาได้สักครู่ จิตจะคิดแส่ไปในอารมณ์ต่าง ๆ โดยไม่มีทางรู้ทันก่อน เป็นตามธรรมดาสำหรับผู้ฝึกใหม่ ต่อเมื่อจิตแล่นไป คิดไปในอารมณ์นั้น ๆ จนอิ่มแล้ว ก็จะรู้สึกตัวขึ้นมาเอง เมื่อรู้สึกตัวแล้วให้พิจารณาเปรียบเทียบสภาวะของตนเอง ระหว่างที่มีความรู้อยู่กับที่ และระหว่างที่จิตคิดไปในอารมณ์ว่ามีความแตกต่างกันอย่างไร เพื่อเป็นอุบายสอนจิตให้จดจำ จากนั้น ค่อย ๆ รักษาจิตให้อยู่ในสภาวะรู้อยู่กับที่ต่อไป ครั้นพลั้งเผลอ รักษาไม่ดีพอ จิตก็จะแล่นไปเสวยอารมณ์ข้างนอกอีก จนอิ่มแล้ว ก็จะกลับรู้ตัว รู้ตัวแล้วก็พิจารณา และรักษาจิตต่อไป ด้วยอุบายอย่างนี้ ไม่นานนัก ก็จะสามารถควบคุมจิตได้ และบรรลุสมาธิในที่สุด และจะเป็นผู้ฉลาดใน "พฤติแห่งจิต" โดยไม่ต้องไปปรึกษาหารือใคร

ข้อห้าม ในเวลาจิตฟุ้งเต็มที่ อย่าทำ เพราะไม่มีประโยชน์ และยังทำให้บั่นทอนพลังความเพียร ไม่มีกำลังใจในการเจริญจิตครั้งต่อ ๆ ไป...........



เมื่อรักษาได้สักครู่ จิตจะคิดแส่ไปในอารมณ์ต่าง ๆ โดยไม่มีทางรู้ทันก่อน เป็นตามธรรมดาสำหรับผู้ฝึกใหม่ ต่อเมื่อจิตแล่นไป คิดไปในอารมณ์นั้น ๆ จนอิ่มแล้ว ก็จะรู้สึกตัวขึ้นมาเอง


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 03 มิ.ย. 2011, 23:22 
 
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 3
สมาชิก ระดับ 3
ลงทะเบียนเมื่อ: 27 พ.ค. 2011, 23:50
โพสต์: 143


 ข้อมูลส่วนตัว


เมื่อปรมาจารย์ทางจิตแบบหลวงปู่ดูลย์ กล่าวไปถึงความรู้สึกตัว

แล้วก็ลองดู ว่าปรมาจารย์ ด้านความรู้สึกตัว อย่างหลวงพ่อเทียน กล่าวเรื่องจิตที่ส่งออก เป็นสมุทัย
การไม่เกิดความรู้สึกตัว นั้นเป้นอย่างไร

จากพลิกโลกเหนือความคิด โดยหลวงพ่อเทียน

แมวจับหนู


อุปมาเหมือนบ้านเรามีหนู มันจึงกัดเสื้อผ้าสิ่งของเสียหายหมด เราไม่มีความสามารถที่จะไปไล่หนูออกจากบ้านได้ จำเป็นต้องไปเอาแมวมาเลี้ยงไว้, แมวกับหนูเป็นปรปักษ์กัน ถ้ามีแมวแล้วหนูมันกลัว. สมมติ ทีแรกหนูตัวใหญ่แมวตัวเล็ก, พอหนูมาแมวถึงตัวจะเล็กมันก็ตะครุบอยู่ดี แต่หนูตัวโตก็วิ่งหนี แมวก็เกาะติดหนูไป พอเหนื่อยแล้วแมวตัวเล็กมันก็วางหนูเอง หนูจึงหนีพ้นไปได้. เราไม่ต้องไปสอนแมวให้จับหนู เพราะเป็นธรรมชาติของมันอยู่แล้ว, เราเพียงเอาอาหารให้แมวกินให้มันใหญ่ขึ้นอ้วนโตขึ้นมีกำลังแข็งแรงมากขึ้น. ทีนี้เวลาหนูมันมาอีก แมวซึ่งจ้องคอยทีอยู่โดยธรรมชาติและมีกำลังแล้วนั้น จะกระโจนจับทันทีอย่างแรง หนูมันไม่เคยถูกแมวจับมันก็ตกใจช็อคตายทันที เลือดในตัวหนูก็เลยหยุดวิ่ง แมวกินหนูจึงไม่มีเลือด. ความคิดก็เหมือนกัน พอดีมันคิด – เราเห็นเรารู้เราเข้าใจ – มันหยุดทันที, ความคิดมันเลยไม่ถูกปรุงไป เพราะเรามีสติ-มีสมาธิ-มีปัญญาแล้ว. สติแปลว่าตั้งมั่น สมาธิก็แปลว่าตั้งมั่นตั้งใจไว้มั่น ปัญญาแปลว่ารอบรู้ ตัวสติตั้งมั่น ก็คือ มันคอยจ้องความคิดอยู่เหมือนแมวคอยทีจะจับหนูนั่นเอง, พอดีมันคิดปุ๊บ เราไม่ต้องไปรู้กับมัน ให้มาอยู่กับความรู้สึกตัวนี้ มันคิดแล้วก็หายไป. นี้ก็หมายความว่า เมื่อมีสติเห็นรู้เข้าใจอยู่ความหลงไม่มีหรือมีไม่ได้เลย, เมื่อความหลงไม่มีแล้ว โทสะ-โมหะ-โลภะ ย่อมเกิดขึ้นไม่ได้, นี้เรียกว่า นามรูปไม่ทุกข์ เพราะรู้เท่า-รู้ทัน-รู้กัน-รู้แก้ ซึ่งก็คือ “ตัวสติ” นั่นเอง.


แสดงโพสต์จาก:  เรียงตาม  
กลับไปยังกระทู้  [ 133 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1, 2, 3, 4, 5, 6, 7 ... 9  ต่อไป

เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


 ผู้ใช้งานขณะนี้

่กำลังดูบอร์ดนี้: ไม่มีสมาชิก และ บุคคลทั่วไป 1 ท่าน


ท่าน ไม่สามารถ โพสต์กระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ตอบกระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แก้ไขโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ลบโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แนบไฟล์ในบอร์ดนี้ได้

ค้นหาสำหรับ:
ไปที่:  
Google
ทั่วไป เว็บธรรมจักร