วันเวลาปัจจุบัน 24 ก.ค. 2025, 05:48  



เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง




กลับไปยังกระทู้  [ 59 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1, 2, 3, 4  ต่อไป  Bookmark and Share
เจ้าของ ข้อความ
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 24 ก.พ. 2010, 19:34 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว




869.gif
869.gif [ 12.15 KiB | เปิดดู 4272 ครั้ง ]
เจ้าหญิงน้อยหายไปไหนแล้ว :b32:

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 24 ก.พ. 2010, 19:39 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 5
สมาชิก ระดับ 5
ลงทะเบียนเมื่อ: 10 ก.พ. 2010, 13:35
โพสต์: 355

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
อ้างคำพูด:
“ภิกษุทั้งหลาย การที่บุถุชนผู้มิได้เรียนรู้ จะเข้าไปยึดถือร่างกาย...ว่าเป็นตัวตน ยังดีกว่าจะยึดถือจิต

ว่าเป็นตัวตน เพราะว่าร่างกาย ยังปรากฏให้เห็นว่า ดำรงอยู่ปีหนึ่งบ้าง 2 ปีบ้าง 3-4-5 ปีบ้าง 10-20-

30-40-50 ปีบ้าง 100 ปีบ้าง เกินกว่านั้นบ้าง แต่สิ่งที่เรียกว่า จิต มโน หรือ วิญญาณ นี้เกิดดับอยู่เรื่อย

ทั้งคืนทั้งวัน”

(สํ.นิ.16/231/114)



แม้พุทธพจน์นั่น ก็แยกร่างกาย...ส่วนหนึ่ง

กับจิต มโน หรือ วิญญาณ ส่วนหนึ่ง

ไม่ได้เรียกกายว่าจิต ว่ามโน ว่าวิญญาณ ดังกระทู้ตั้งสะหน่อย :b1:


สรรพสัตว์ มนุษย์ เทพ พรหม เปรต ฯลฯ ใน 3 ภพ ล้วนเป็นมายาออกมาจากจิตสังข่ารทั้งสิ้น เราจะเรียกสิ่งนั้นว่าอย่างไร เช่น จิต กาย นาม รูป มันก็คือ จิตสังขาร พระพุทธเจ้าบางครั้งก็เรียก สังขตธาตุ

สอนคนที่มีทิฏฐิมานะสูง หลงว่าตนเองเป็นอาจารย์ผู้รู้ธรรมะ และคิดแต่การเอาชนะคนอื่น มันสอนยากจริงหนอ

เรื่องไร้สาระบ้าๆบอๆ ผมคงไม่เถียงด้วย

ถ้ามีปัญหาทางธรรมอีก ผมจะเข้ามาตอบ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 24 ก.พ. 2010, 19:48 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
เมื่อเรียนรู้ว่า ชีวิต (คือกายใจ) นี้เป็นไปตามกฎไตรลักษณ์ แต่ก็มีพุทธพจน์ =>

"การประสบไตรลักษณ์อย่างไม่รู้เท่าทัน กลับทำให้เกิดทุกข์"

(เช่น สํ.ข.17/4/4; 32/21; 87/53)

เพราะอะไร? จึงเป็นเช่นนั้นล่ะ :b1:



ความจริงไตรลักษณ์แสดงตัวอยู่ตลอดเวลา แต่เรา (มนุษย์) ไม่เห็น เพราะขาดมนสิการ

เมื่อมนสิการแล้วจะเห็น ครั้นเห็นแล้วประสบกับไตรลักษณ์แล้ว ตนไม่รู้เท่ารู้ทันก็ทำให้เกิดทุกข์ได้

อย่างเช่นตัวอย่างซึ่งนำมาจากบอร์ดหนึ่งดังนี้


นั่งกรรมฐานบ่อย แล้วเกิดอาการกังวลวิตกจริตเกินไป แก้ไขอย่างไรดี

เดี๋ยวนี้กลายไปว่ารู้สึกกังวลกลัวตายมากเกินไป กลัวเกือบตลอดเวลา ไปไหนมาไหนเหมือนมันจะไม่ปลอดภัย

ไปเสียทุกที่ มันกังวลไปหมด ไม่อยากเห็นตัวเองแก่ ไม่อยากเห็นตัวเองตาย

ไม่อยากจะมีชีวิตอยู่ แต่ก็ไม่อยากตาย ไม่อยากไปสนุกกับสังคมกลัวจะหลงฟุ้งตามเขาไป

แต่ก็ไม่อยากอยู่ปฏิบัติเหมือนบ้าบออยู่เพียงลำพัง บางทีก็คิดว่าจะปฏิบัติต่อไปหรือจะหยุดปฏิบัติชั่วคราวดี


ธรรมะอยู่ใกล้ๆ คือ กายใจนี่แหละ เป็นธรรมะชั้นสุดยอด ทุกข์เกิดที่นี่ จะดับก็ต้องดับที่นี่ :b1:

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


แก้ไขล่าสุดโดย กรัชกาย เมื่อ 24 ก.พ. 2010, 19:59, แก้ไขแล้ว 1 ครั้ง

โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 24 ก.พ. 2010, 19:52 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


อ้างคำพูด:
(คนดีที่โลกลืมเขียน)

สรรพสัตว์ มนุษย์ เทพ พรหม เปรต ฯลฯ ใน 3 ภพ ล้วนเป็นมายาออกมาจากจิตสังข่ารทั้งสิ้น เราจะเรียกสิ่งนั้นว่าอย่างไร เช่น จิต กาย นาม รูป มันก็คือ จิตสังขาร พระพุทธเจ้าบางครั้งก็เรียก สังขตธาตุ

สอนคนที่มีทิฏฐิมานะสูง หลงว่าตนเองเป็นอาจารย์ผู้รู้ธรรมะ และคิดแต่การเอาชนะคนอื่น มันสอนยากจริงหนอ

เรื่องไร้สาระบ้าๆบอๆ ผมคงไม่เถียงด้วย

ถ้ามีปัญหาทางธรรมอีก ผมจะเข้ามาตอบ


เอาเรื่องคนหรือมนุษย์ดีกว่าขอรับ เทพ พรหม เปรต อสุรกาย ยกไว้ก่อน ไกลตัวไกลชีวิต ณ ปัจจุบัน

ปล่อยให้เขาอยู่ของเขาไป เอาเรื่องของคนให้จบก่อนนี่แหละคือธรรมะชั้นสุดยอดและจะนำตนออกจากทุกข์

ได้ เมื่อรู้เข้าใจอย่างแท้จริง :b1: :b12:

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


แก้ไขล่าสุดโดย กรัชกาย เมื่อ 24 ก.พ. 2010, 19:57, แก้ไขแล้ว 1 ครั้ง

โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 24 ก.พ. 2010, 20:16 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


อ้างคำพูด:
สรรพสัตว์ มนุษย์ เทพ พรหม เปรต ฯลฯ ใน 3 ภพ ล้วนเป็นมายาออกมาจากจิตสังข่ารทั้งสิ้น เราจะเรียกสิ่งนั้นว่าอย่างไร เช่น จิต กาย นาม รูป มันก็คือ จิตสังขาร พระพุทธเจ้าบางครั้งก็เรียก สังขตธาตุ

สอนคนที่มีทิฏฐิมานะสูง หลงว่าตนเองเป็นอาจารย์ผู้รู้ธรรมะ และคิดแต่การเอาชนะคนอื่น มันสอนยากจริงหนอ

เรื่องไร้สาระบ้าๆบอๆ ผมคงไม่เถียงด้วย

ถ้ามีปัญหาทางธรรมอีก ผมจะเข้ามาตอบ



อย่าเพิ่งท้อขอรับ :b1:

อีกทั้งเราสองไม่พึงคิดว่าจะตั้งตนเป็นอาจารย์สอนกันและกัน เพราะต่างก็ยังไม่รู้แจ้งแทงตลอดทั้งหมด แต่เรา

เป็นสหายธรรมกัน

ต่างก็นำหลักฐานมาวาง แจงเหตุผลประกอบที่มนุษย์มองเห็นคิดเห็นได้ เป็นไปเพื่อประโยชน์สุขแก่ชีวิต ณ

ปัจจุบัน ขีดวงประมาณนี้ก่อน :b12:

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 24 ก.พ. 2010, 20:30 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว




d_5_3.jpeg
d_5_3.jpeg [ 33.2 KiB | เปิดดู 4254 ครั้ง ]
อย่าเครียดครับไม่มีอะไรหรอก :b1:

ฟังเพลง

อสูรกายครวญ-แทรกอีกทีก็ :b3:

http://www.charyen.com/jukebox/play.php?id=296

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 24 ก.พ. 2010, 20:38 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 6
สมาชิก ระดับ 6
ลงทะเบียนเมื่อ: 28 พ.ย. 2009, 18:14
โพสต์: 435

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


มหาวรรคที่ ๗
๑. อัสสุตวตาสูตรที่ ๑


[๒๓๐] ข้าพเจ้าได้สดับมาอย่างนี้-
สมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ ณ พระเชตวัน อารามของท่าน
อนาถบิณฑิกเศรษฐี เขตพระนครสาวัตถี ณ ที่นั้นแล พระผู้มีพระภาคตรัสเรียก
ภิกษุทั้งหลายว่า ... ดูกรภิกษุทั้งหลาย ปุถุชนผู้มิได้สดับ จะพึงเบื่อหน่ายบ้าง
คลายกำหนัดบ้าง หลุดพ้นบ้าง ในร่างกายอันเป็นที่ประชุมแห่งมหาภูตทั้ง ๔ นี้ ข้อ
นั้นเพราะเหตุไร เพราะเหตุว่า ความเจริญก็ดี ความเสื่อมก็ดี การเกิดก็ดี การตาย
ก็ดี ของร่างกายอันเป็นที่ประชุมแห่งมหาภูตทั้ง ๔ นี้ ย่อมปรากฏ ปุถุชนผู้มิได้สดับ
จึงเบื่อหน่ายบ้าง คลายกำหนัดบ้าง หลุดพ้นบ้าง ในร่างกายนั้น แต่ตถาคตเรียก
ร่างกายอันเป็นที่ประชุมแห่งมหาภูตทั้ง ๔ นี้ว่า จิตบ้าง มโนบ้าง วิญญาณบ้าง

ปุถุชนผู้มิได้สดับ ไม่อาจเบื่อหน่าย คลายกำหนัด หลุดพ้นในจิต เป็นต้นนั้นได้
เลย ข้อนั้นเพราะเหตุไร เพราะว่าจิตเป็นต้นนี้ อันปุถุชนมิได้สดับ รวบรัดถือ
ไว้ด้วยตัณหา ยึดถือด้วยทิฐิว่า นั่นของเรา นั่นเป็นเรา นั่นเป็นตัวตนของเรา
ดังนี้ ตลอดกาลช้านานฉะนั้น ปุถุชนผู้มิได้สดับ จึงไม่อาจจะเบื่อหน่าย คลาย
กำหนัด หลุดพ้นในจิตเป็นต้นนั้นได้เลย ฯ

[๒๓๑] ดูกรภิกษุทั้งหลาย ปุถุชนผู้มิได้สดับ จะพึงเข้าไปยึดถือเอา
ร่างกายอันเป็นที่ประชุมแห่งมหาภูต ๔ นี้ โดยความเป็นตน ยังชอบกว่า แต่จะ
เข้าไปยึดถือเอาจิตโดยความเป็นตนหาชอบไม่ ข้อนั้นเพราะเหตุไร เพราะร่างกาย
อันเป็นที่ประชุมแห่งมหาภูตทั้ง ๔ นี้ เมื่อดำรงอยู่ ปีหนึ่งบ้าง สองปีบ้าง สามปี
บ้าง สี่ปีบ้าง ห้าปีบ้าง สิบปีบ้าง ยี่สิบปีบ้าง สามสิบปีบ้าง สี่สิบปีบ้าง ห้าสิบปี
บ้าง ร้อยปีบ้าง ยิ่งกว่าร้อยปีบ้าง ย่อมปรากฏ แต่ว่าตถาคตเรียกร่างกายอันเป็น
ที่ประชุมแห่งมหาภูตทั้ง ๔ นี้ว่า จิตบ้าง มโนบ้าง วิญญาณบ้าง
จิตเป็นต้นนั้น
ดวงหนึ่งเกิดขึ้น ดวงหนึ่งดับไป ในกลางคืนและกลางวัน ฯ

[๒๓๒] ดูกรภิกษุทั้งหลาย วานรเมื่อเที่ยวไปในป่าใหญ่จับกิ่งไม้ ปล่อย
กิ่งนั้น ยึดเอากิ่งอื่น ปล่อยกิ่งที่ยึดเดิม เหนี่ยวกิ่งใหม่ต่อไป แม้ฉันใด ร่างกาย
อันเป็นที่ประชุมแห่งมหาภูตทั้ง ๔ นี้ ที่ตถาคตเรียกว่า จิตบ้าง มโนบ้าง วิญญาณ
บ้าง
จิตเป็นต้นนั้นดวงหนึ่งเกิดขึ้น ดวงหนึ่งดับไป ในกลางคืนและกลางวัน ก็ฉัน
นั้นแล ฯ

[๒๓๓] ดูกรภิกษุทั้งหลาย อริยสาวกผู้สดับ ย่อมใส่ใจโดยแยบคาย
ด้วยดีถึงปฏิจจสมุปบาทธรรม ในร่างกายและจิตที่ตถาคตกล่าวมานั้นว่า เพราะเหตุ
ดังนี้ เมื่อสิ่งนี้มี สิ่งนี้จึงมี เพราะสิ่งนี้เกิดขึ้น สิ่งนี้จึงเกิดขึ้น เมื่อสิ่งนี้ไม่มี
สิ่งนี้จึงไม่มี เพราะสิ่งนี้ดับ สิ่งนี้จึงดับ คือ เพราะอวิชชาเป็นปัจจัย จึงมีสังขาร
เพราะสังขารเป็นปัจจัย จึงมีวิญญาณ เพราะวิญญาณเป็นปัจจัย จึงมีนามรูป
เพราะนามรูปเป็นปัจจัย จึงมีสฬายตนะ เพราะสฬายตนะเป็นปัจจัย จึงมีผัสสะ
เพราะผัสสะเป็นปัจจัย จึงมีเวทนา เพราะเวทนาเป็นปัจจัย จึงมีตัณหา เพราะ
ตัณหาเป็นปัจจัย จึงมีอุปาทาน เพราะอุปาทานเป็นปัจจัย จึงมีภพ เพราะภพ
เป็นปัจจัย จึงมีชาติ เพราะชาติเป็นปัจจัย จึงมีชราและมรณะ โสกปริเทวทุกข-
*โทมนัสและอุปายาส ความเกิดขึ้นแห่งกองทุกข์ทั้งมวลนี้ ย่อมมีด้วยประการอย่างนี้
อนึ่ง เพราะอวิชชาดับด้วยสำรอกโดยไม่เหลือ สังขารจึงดับ เพราะสังขารดับ
วิญญาณจึงดับ ฯลฯ ความดับแห่งกองทุกข์ทั้งมวลนี้ ย่อมมีด้วยประการอย่างนี้ ฯ

[๒๓๔] ดูกรภิกษุทั้งหลาย อริยสาวกผู้ได้สดับ มาพิจารณาอยู่อย่างนี้
ย่อมหน่ายแม้ในรูป ย่อมหน่ายแม้ในเวทนา ย่อมหน่ายแม้ในสัญญา ย่อมหน่าย
แม้ในสังขารทั้งหลาย ย่อมหน่ายแม้ในวิญญาณ เมื่อหน่าย ย่อมคลายกำหนัด
เพราะคลายกำหนัดจึงหลุดพ้น เมื่อหลุดพ้นแล้ว ก็เกิดญาณหยั่งรู้ว่าหลุดพ้นแล้ว
ย่อมทราบชัดว่าชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว กิจที่ควรทำ ทำเสร็จแล้ว
กิจอื่นเพื่อความเป็นอย่างนี้มิได้มี ดังนี้แล ฯ

จบสูตรที่ ๑

http://www.84000.org/tipitaka/book/v.ph ... 519&Z=2566

.....................................................
สรุปคำสอนของสมเด็จองค์ปฐม
"ท่านทั้งหลาย การหลบหลีกไม่ต้องตกอบายภูมิ มีนรกเป็นต้น เป็นของ ไม่ยาก
1. ขอทุกท่านจงอย่าลืมความตาย จงคิดว่าความตาย อาจจะมีกับเราเดี๋ยวนี้ไว้เสมอๆ
2. เคารพพระพุทธเจ้า พระธรรม พระอริยสงฆ์ ด้วยศรัทธาแท้ (ด้วยความจริงใจ)
3. มีศีลบริสุทธิ์เป็นปกติ และ
4. เป็นกรณีพิเศษ ปฏิเสธการเกิดเป็นมนุษย์ เทวดา นางฟ้า และพรหม ในชาติต่อไป ทุกท่านเห็นนิพพาน แล้วตั้งใจไปพระนิพพานได้ในที่สุด"


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 24 ก.พ. 2010, 21:59 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


ขอบคุณคุณ sirisuk ที่นำข้อความทั้งหมดมาวางแบให้ดู :b1:

ที่นี่จะขอเชิญชวนสมาชิกทุกท่าน (โดยเฉพาะคุณคนดีที่โลกลืมและคุณ sirisuk) ช่วยกันพิเคราะห์

สารธรรมจากข้อความทั้งหมดดู พินิจดูตั้งแต่ต้นจนถึงข้อสุดท้ายว่ามีนัยอย่างไร




(๒๓๐)....ดูกรภิกษุทั้งหลาย ปุถุชนผู้มิได้สดับ จะพึงเบื่อหน่ายบ้าง

คลายกำหนัดบ้าง หลุดพ้นบ้าง ในร่างกายอันเป็นที่ประชุมแห่งมหาภูตทั้ง ๔ นี้

ข้อนั้นเพราะเหตุไร เพราะเหตุว่า ความเจริญก็ดี ความเสื่อมก็ดี การเกิดก็ดี

การตายก็ดี ของร่างกายอันเป็นที่ประชุมแห่งมหาภูตทั้ง ๔ นี้ ย่อมปรากฏ

ปุถุชนผู้มิได้สดับ จึงเบื่อหน่ายบ้าง คลายกำหนัดบ้าง หลุดพ้นบ้าง ในร่างกายนั้น

แต่ตถาคตเรียกร่างกายอันเป็นที่ประชุมแห่งมหาภูตทั้ง ๔ นี้ว่า จิตบ้าง มโนบ้าง วิญญาณบ้าง

ปุถุชนผู้มิได้สดับ ไม่อาจเบื่อหน่าย คลายกำหนัด หลุดพ้นในจิต เป็นต้นนั้นได้


เลย ข้อนั้นเพราะเหตุไร เพราะว่าจิตเป็นต้นนี้ อันปุถุชนมิได้สดับ รวบรัดถือ

ไว้ด้วยตัณหา ยึดถือด้วยทิฐิว่า นั่นของเรา นั่นเป็นเรา นั่นเป็นตัวตนของเรา

ดังนี้ ตลอดกาลช้านานฉะนั้น ปุถุชนผู้มิได้สดับ จึงไม่อาจจะเบื่อหน่าย คลาย

กำหนัด หลุดพ้นในจิตเป็นต้นนั้นได้เลย ฯ

[๒๓๑] ดูกรภิกษุทั้งหลาย ปุถุชนผู้มิได้สดับ จะพึงเข้าไปยึดถือเอา

ร่างกายอันเป็นที่ประชุมแห่งมหาภูต ๔ นี้ โดยความเป็นตน ยังชอบกว่า แต่จะ

เข้าไปยึดถือเอาจิตโดยความเป็นตนหาชอบไม่ ข้อนั้นเพราะเหตุไร เพราะร่างกาย

อันเป็นที่ประชุมแห่งมหาภูตทั้ง ๔ นี้ เมื่อดำรงอยู่ ปีหนึ่งบ้าง สองปีบ้าง สามปี

บ้าง สี่ปีบ้าง ห้าปีบ้าง สิบปีบ้าง ยี่สิบปีบ้าง สามสิบปีบ้าง สี่สิบปีบ้าง ห้าสิบปี

บ้าง ร้อยปีบ้าง ยิ่งกว่าร้อยปีบ้าง ย่อมปรากฏ แต่ว่าตถาคตเรียกร่างกายอันเป็น

ที่ประชุมแห่งมหาภูตทั้ง ๔ นี้ว่า จิตบ้าง มโนบ้าง วิญญาณบ้าง จิตเป็นต้นนั้น

ดวงหนึ่งเกิดขึ้น ดวงหนึ่งดับไป
ในกลางคืนและกลางวัน ฯ

[๒๓๒] ดูกรภิกษุทั้งหลาย วานรเมื่อเที่ยวไปในป่าใหญ่จับกิ่งไม้ ปล่อย

กิ่งนั้น ยึดเอากิ่งอื่น ปล่อยกิ่งที่ยึดเดิม เหนี่ยวกิ่งใหม่ต่อไป แม้ฉันใด ร่างกาย

อันเป็นที่ประชุมแห่งมหาภูตทั้ง ๔ นี้ ที่ตถาคตเรียกว่า จิตบ้าง มโนบ้าง

วิญญาณบ้าง จิตเป็นต้นนั้น ดวงหนึ่งเกิดขึ้น ดวงหนึ่งดับไป ในกลางคืนและกลางวัน

ก็ฉันนั้นแล ฯ

[๒๓๓] ดูกรภิกษุทั้งหลาย อริยสาวกผู้สดับ ย่อมใส่ใจโดยแยบคาย

ด้วยดีถึงปฏิจจสมุปบาทธรรม ในร่างกาย และ จิต
ที่ตถาคตกล่าวมานั้นว่า

เพราะเหตุดังนี้ เมื่อสิ่งนี้มี สิ่งนี้จึงมี เพราะสิ่งนี้เกิดขึ้น สิ่งนี้จึงเกิดขึ้น เมื่อสิ่งนี้ไม่มี

สิ่งนี้จึงไม่มี เพราะสิ่งนี้ดับ สิ่งนี้จึงดับ
คือ เพราะอวิชชาเป็นปัจจัย จึงมีสังขาร

เพราะสังขารเป็นปัจจัย จึงมีวิญญาณ เพราะวิญญาณเป็นปัจจัย จึงมีนามรูป

เพราะนามรูปเป็นปัจจัย จึงมีสฬายตนะ เพราะสฬายตนะเป็นปัจจัย จึงมีผัสสะ

เพราะผัสสะเป็นปัจจัย จึงมีเวทนา เพราะเวทนาเป็นปัจจัย จึงมีตัณหา เพราะ

ตัณหาเป็นปัจจัย จึงมีอุปาทาน เพราะอุปาทานเป็นปัจจัย จึงมีภพ เพราะภพ

เป็นปัจจัย จึงมีชาติ เพราะชาติเป็นปัจจัย จึงมีชราและมรณะ โสกปริเทวทุกข-

*โทมนัสและอุปายาส ความเกิดขึ้นแห่งกองทุกข์ทั้งมวลนี้ ย่อมมีด้วยประการอย่างนี้

อนึ่ง เพราะอวิชชาดับด้วยสำรอกโดยไม่เหลือ สังขารจึงดับ เพราะสังขารดับ

วิญญาณจึงดับ ฯลฯ ความดับแห่งกองทุกข์ทั้งมวลนี้ ย่อมมีด้วยประการอย่างนี้


[๒๓๔] ดูกรภิกษุทั้งหลาย อริยสาวกผู้ได้สดับ มาพิจารณาอยู่อย่างนี้

ย่อมหน่ายแม้ในรูป ย่อมหน่ายแม้ในเวทนา ย่อมหน่ายแม้ในสัญญา ย่อมหน่าย

แม้ในสังขารทั้งหลาย ย่อมหน่ายแม้ในวิญญาณ เมื่อหน่าย ย่อมคลายกำหนัด

เพราะคลายกำหนัดจึงหลุดพ้น เมื่อหลุดพ้นแล้ว ก็เกิดญาณหยั่งรู้ว่าหลุดพ้นแล้ว

ย่อมทราบชัดว่าชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว กิจที่ควรทำ ทำเสร็จแล้ว

กิจอื่นเพื่อความเป็นอย่างนี้มิได้มี ดังนี้แล ฯ

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


แก้ไขล่าสุดโดย กรัชกาย เมื่อ 24 ก.พ. 2010, 22:23, แก้ไขแล้ว 3 ครั้ง.

โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 25 ก.พ. 2010, 09:07 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


คนดีที่โลกลืม เขียน:
เหตุใดพระพุทธเจ้าจึงเรียก ร่างกายว่า จิตบ้าง มโนบ้าง วิญญาณบ้าง

...แต่ตถาคตเรียก ร่างกายอันเป็นที่ประชุมแห่งมหาภูตทั้ง ๔ นี้ว่า จิตบ้าง มโนบ้าง วิญญาณบ้าง

(...ตถาคตเรียกร่างกายอันเป็นที่ประชุมแห่งมหาภูตทั้ง ๔ นี้ว่า จิตบ้าง มโนบ้าง วิญญาณบ้าง ปุถุชนผู้มิได้สดับ ไม่อาจเบื่อหน่าย คลายกำหนัด หลุดพ้นในจิต เป็นต้นนั้นได้เลย ฯลฯ)


ตอบ

ในทัศนะของผม ทั้งหมดเป็นเรื่องของปฏิจจสมุปบาท ตัวต้นคือ สังขาร เป็นปัจจัย ให้เกิด วิญญาณ, แล้ววิญญาณเป็นปัจจัยให้เกิดนามรูป และก็ต่อไปเรื่อยๆ จนถึงภพ ชาติ และก็ชรามรณะ แล้วก็วนกลับมาใหม่(เวียนว่ายตายเกิด) ถ้ายังมีอวิชชาอยู่

1. จะเห็นว่า คำว่าสังขาร ที่สร้างวิญญาณนั้น คือ จิตสังขาร หรือจิตที่คิดปรุงแต่งไปเรื่อยๆ ด้วยเหตุนี้ พระพุทธองค์จึงเรียก จิตสังขาร ว่า จิตบ้าง มโนบ้าง วิญญาณบ้าง เพราะสิ่งนี้เป็นสิ่งต่อเนื่องมาจากสังขาร(จิต) นอกจากนี้ พระพุทธองค์จะเรียก สิ่งที่ต่อเนื่องลงมาอีก คือ นามรูป หรือ ขันธ์ 5 หรือร่ายกายว่า อันเป็นที่ประชุมแห่งมหาภูตทั้ง ๔ นี้ว่า จิตบ้าง มโนบ้าง วิญญาณบ้าง ก็ไม่ผิด เพราะเป็นสิ่งเกี่ยวเนื่องกัน พวกมันว่าจากสังขาร(จิต)ทั้งนั้น ไม่มีอะไรนอกเหนือจากจิต(สังขาร)ที่คิดปรุงแต่งเลย

ตัวอย่าง ทุกสรรพสิ่งประกอบด้วยสสาร มีโมเลกุลเป็นสิ่งเล็กสุดที่รับรู้ได้ในยุคหนึ่ง ต่อมาเมื่อพบว่า อะตอมเป็นสิ่งที่เล็กสุดในสสารหรือโมเลกุล เราจะเรียกสิ่งนั้นเป็นอะไรก็ได้ เป็น สสาร เป็นโมเลกุล เป็นอะตอม หรือจะแยกแยะออกไปอีกก็ได้ ตามแต่ว่าเราจะสื่ออะไรให้เข้าใจได้ง่ายที่สุดในสาขาวิชานั้น

สมมุติ เราเรียกโมเลกุลว่าเป็น จิตสังขาร, โมเลกุลในไม้ เราเอามาใช้ทำบ้าน เราจะเรียกบ้านของเราว่า "บ้านไม้" ถ้าเราเอาไม้ไปทำอุปกรณ์ทุกชิ้นในบ้าน เช่น โต๊ะไม้ เก้าอี้ไม้ ตะเกียบไม้ เราจะเรียกอุปกรณ์เหล่านั้นว่า โต๊ะไม้ เก้าอี้ไม้ ตะเกียบไม้

หรือเราจะเรียกโมเลกุลของไม้ที่เป็นพื้นฐาน ก็ย่อมได้ จะเรียกเป็นอะตอมก็ได้ แต่คงจะสื่อกันยืดยาวหน่อย เราเลยเรียกเป็นชื่อ สิ่งสมมุตินั้นแทน ในกรณีนี้คือ โต๊ะไม้ เก้าอี้ไม้ ตะเกียบไม้

2. พระพุทธเจ้าบางครั้งก็เรียกสังขาร(จิต) ว่า "โลก" บางครั้งก็เรียกว่า "อุปทาน" บางครั้งก็เรียก "อัตตานุทิฎฐิ" บางครั้งก็เรียก "สังสารวัฏฏ์" บางครั้งก็เรียก "อนัตตา" ขึ้นอยู่กับจุดประสงค์ว่าท่านจะแสดงธรรมระดับไหน

ที่องค์สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช เทศน์ว่า

แม้ จิตสังขาร คือสัญญาเวทนาก็เช่นเดียวกัน เมื่อมีสัญญามีเวทนา จิตจึงจะคิดนึกตรึกตรอง วิญญาณจึงเกิดขึ้นในเรื่องที่จิตคิดนึกตรึกตรองนั้น ...

องค์สมเด็จพระญาณสังวร จะเรียก จิตว่ากายก็ได้ เพราะตัวกาย(นามรูป)นั้นย่อมต้องมีจิตสังขาร( กายทิพย์, โอปาติกะ, เจตภูต, อทิสมานกาย)อยู่ในกาย หรืออยู่ในขันธ์ 5(นามรูป - รูปขันธ์,เวทนาขันธ์,สังขารขันธ์, สัญญาขันธ์, วิญญาณขันธ์) ชีวิตจึงจะมีขึ้นได้



คุณพลศักดิ์ (คนดีที่โลกลืม) ขอรับ พระสูตรเต็มๆที่คุณ sirisud ยกมานั่น

แล้วคุณตัดมาเท่านี้

อ้างคำพูด:
...แต่ตถาคตเรียก ร่างกายอันเป็นที่ประชุมแห่งมหาภูตทั้ง ๔ นี้ว่า จิตบ้าง มโนบ้าง วิญญาณบ้าง

(...ตถาคตเรียกร่างกายอันเป็นที่ประชุมแห่งมหาภูตทั้ง ๔ นี้ว่า จิตบ้าง มโนบ้าง วิญญาณบ้าง ปุถุชนผู้มิได้สดับ ไม่อาจเบื่อหน่าย คลายกำหนัด หลุดพ้นในจิต เป็นต้นนั้นได้เลย ฯลฯ)



แล้วคุณก็ตอบ(อธิบาย)สารัตถะในพระสูตรนี้ใช่ไหมครับ :b1:

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


แก้ไขล่าสุดโดย กรัชกาย เมื่อ 25 ก.พ. 2010, 09:12, แก้ไขแล้ว 1 ครั้ง

โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 25 ก.พ. 2010, 09:16 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


ชัดๆอีกที ข้างล่าง(ตอบ) คุณตีความพระสูตรนั้นใช่ไหมครับ

อ้างคำพูด:
ตอบ

ในทัศนะของผม ทั้งหมดเป็นเรื่องของปฏิจจสมุปบาท ตัวต้นคือ สังขาร เป็นปัจจัย ให้เกิด วิญญาณ, แล้ววิญญาณเป็นปัจจัยให้เกิดนามรูป และก็ต่อไปเรื่อยๆ จนถึงภพ ชาติ และก็ชรามรณะ แล้วก็วนกลับมาใหม่(เวียนว่ายตายเกิด) ถ้ายังมีอวิชชาอยู่

1. จะเห็นว่า คำว่าสังขาร ที่สร้างวิญญาณนั้น คือ จิตสังขาร หรือจิตที่คิดปรุงแต่งไปเรื่อยๆ ด้วยเหตุนี้ พระพุทธองค์จึงเรียก จิตสังขาร ว่า จิตบ้าง มโนบ้าง วิญญาณบ้าง เพราะสิ่งนี้เป็นสิ่งต่อเนื่องมาจากสังขาร(จิต) นอกจากนี้ พระพุทธองค์จะเรียก สิ่งที่ต่อเนื่องลงมาอีก คือ นามรูป หรือ ขันธ์ 5 หรือร่ายกายว่า อันเป็นที่ประชุมแห่งมหาภูตทั้ง ๔ นี้ว่า จิตบ้าง มโนบ้าง วิญญาณบ้าง ก็ไม่ผิด เพราะเป็นสิ่งเกี่ยวเนื่องกัน พวกมันว่าจากสังขาร(จิต)ทั้งนั้น ไม่มีอะไรนอกเหนือจากจิต(สังขาร)ที่คิดปรุงแต่งเลย

ตัวอย่าง ทุกสรรพสิ่งประกอบด้วยสสาร มีโมเลกุลเป็นสิ่งเล็กสุดที่รับรู้ได้ในยุคหนึ่ง ต่อมาเมื่อพบว่า อะตอมเป็นสิ่งที่เล็กสุดในสสารหรือโมเลกุล เราจะเรียกสิ่งนั้นเป็นอะไรก็ได้ เป็น สสาร เป็นโมเลกุล เป็นอะตอม หรือจะแยกแยะออกไปอีกก็ได้ ตามแต่ว่าเราจะสื่ออะไรให้เข้าใจได้ง่ายที่สุดในสาขาวิชานั้น

สมมุติ เราเรียกโมเลกุลว่าเป็น จิตสังขาร, โมเลกุลในไม้ เราเอามาใช้ทำบ้าน เราจะเรียกบ้านของเราว่า "บ้านไม้" ถ้าเราเอาไม้ไปทำอุปกรณ์ทุกชิ้นในบ้าน เช่น โต๊ะไม้ เก้าอี้ไม้ ตะเกียบไม้ เราจะเรียกอุปกรณ์เหล่านั้นว่า โต๊ะไม้ เก้าอี้ไม้ ตะเกียบไม้

หรือเราจะเรียกโมเลกุลของไม้ที่เป็นพื้นฐาน ก็ย่อมได้ จะเรียกเป็นอะตอมก็ได้ แต่คงจะสื่อกันยืดยาวหน่อย เราเลยเรียกเป็นชื่อ สิ่งสมมุตินั้นแทน ในกรณีนี้คือ โต๊ะไม้ เก้าอี้ไม้ ตะเกียบไม้

2. พระพุทธเจ้าบางครั้งก็เรียกสังขาร(จิต) ว่า "โลก" บางครั้งก็เรียกว่า "อุปทาน" บางครั้งก็เรียก "อัตตานุทิฎฐิ" บางครั้งก็เรียก "สังสารวัฏฏ์" บางครั้งก็เรียก "อนัตตา" ขึ้นอยู่กับจุดประสงค์ว่าท่านจะแสดงธรรมระดับไหน

ที่องค์สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช เทศน์ว่า

แม้ จิตสังขาร คือสัญญาเวทนาก็เช่นเดียวกัน เมื่อมีสัญญามีเวทนา จิตจึงจะคิดนึกตรึกตรอง วิญญาณจึงเกิดขึ้นในเรื่องที่จิตคิดนึกตรึกตรองนั้น ...

องค์สมเด็จพระญาณสังวร จะเรียก จิตว่ากายก็ได้ เพราะตัวกาย(นามรูป)นั้นย่อมต้องมีจิตสังขาร( กายทิพย์, โอปาติกะ, เจตภูต, อทิสมานกาย)อยู่ในกาย หรืออยู่ในขันธ์ 5(นามรูป - รูปขันธ์,เวทนาขันธ์,สังขารขันธ์, สัญญาขันธ์, วิญญาณขันธ์) ชีวิตจึงจะมีขึ้นได้

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


แก้ไขล่าสุดโดย กรัชกาย เมื่อ 25 ก.พ. 2010, 14:46, แก้ไขแล้ว 2 ครั้ง.

โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 25 ก.พ. 2010, 14:49 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
ชัดๆอีกที ข้างล่าง(ตอบ) คุณตีความพระสูตรนั้นใช่ไหมครับ

อ้างคำพูด:
ตอบ

ในทัศนะของผม ทั้งหมดเป็นเรื่องของปฏิจจสมุปบาท ตัวต้นคือ สังขาร เป็นปัจจัย ให้เกิด วิญญาณ, แล้ววิญญาณเป็นปัจจัยให้เกิดนามรูป และก็ต่อไปเรื่อยๆ จนถึงภพ ชาติ และก็ชรามรณะ แล้วก็วนกลับมาใหม่(เวียนว่ายตายเกิด) ถ้ายังมีอวิชชาอยู่

1. จะเห็นว่า คำว่าสังขาร ที่สร้างวิญญาณนั้น คือ จิตสังขาร หรือจิตที่คิดปรุงแต่งไปเรื่อยๆ ด้วยเหตุนี้ พระพุทธองค์จึงเรียก จิตสังขาร ว่า จิตบ้าง มโนบ้าง วิญญาณบ้าง เพราะสิ่งนี้เป็นสิ่งต่อเนื่องมาจากสังขาร(จิต) นอกจากนี้ พระพุทธองค์จะเรียก สิ่งที่ต่อเนื่องลงมาอีก คือ นามรูป หรือ ขันธ์ 5 หรือร่ายกายว่า อันเป็นที่ประชุมแห่งมหาภูตทั้ง ๔ นี้ว่า จิตบ้าง มโนบ้าง วิญญาณบ้าง ก็ไม่ผิด เพราะเป็นสิ่งเกี่ยวเนื่องกัน พวกมันว่าจากสังขาร(จิต)ทั้งนั้น ไม่มีอะไรนอกเหนือจากจิต(สังขาร)ที่คิดปรุงแต่งเลย

ตัวอย่าง ทุกสรรพสิ่งประกอบด้วยสสาร มีโมเลกุลเป็นสิ่งเล็กสุดที่รับรู้ได้ในยุคหนึ่ง ต่อมาเมื่อพบว่า อะตอมเป็นสิ่งที่เล็กสุดในสสารหรือโมเลกุล เราจะเรียกสิ่งนั้นเป็นอะไรก็ได้ เป็น สสาร เป็นโมเลกุล เป็นอะตอม หรือจะแยกแยะออกไปอีกก็ได้ ตามแต่ว่าเราจะสื่ออะไรให้เข้าใจได้ง่ายที่สุดในสาขาวิชานั้น

สมมุติ เราเรียกโมเลกุลว่าเป็น จิตสังขาร, โมเลกุลในไม้ เราเอามาใช้ทำบ้าน เราจะเรียกบ้านของเราว่า "บ้านไม้" ถ้าเราเอาไม้ไปทำอุปกรณ์ทุกชิ้นในบ้าน เช่น โต๊ะไม้ เก้าอี้ไม้ ตะเกียบไม้ เราจะเรียกอุปกรณ์เหล่านั้นว่า โต๊ะไม้ เก้าอี้ไม้ ตะเกียบไม้

หรือเราจะเรียกโมเลกุลของไม้ที่เป็นพื้นฐาน ก็ย่อมได้ จะเรียกเป็นอะตอมก็ได้ แต่คงจะสื่อกันยืดยาวหน่อย เราเลยเรียกเป็นชื่อ สิ่งสมมุตินั้นแทน ในกรณีนี้คือ โต๊ะไม้ เก้าอี้ไม้ ตะเกียบไม้

2. พระพุทธเจ้าบางครั้งก็เรียกสังขาร(จิต) ว่า "โลก" บางครั้งก็เรียกว่า "อุปทาน" บางครั้งก็เรียก "อัตตานุทิฎฐิ" บางครั้งก็เรียก "สังสารวัฏฏ์" บางครั้งก็เรียก "อนัตตา" ขึ้นอยู่กับจุดประสงค์ว่าท่านจะแสดงธรรมระดับไหน

ที่องค์สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช เทศน์ว่า

แม้ จิตสังขาร คือสัญญาเวทนาก็เช่นเดียวกัน เมื่อมีสัญญามีเวทนา จิตจึงจะคิดนึกตรึกตรอง วิญญาณจึงเกิดขึ้นในเรื่องที่จิตคิดนึกตรึกตรองนั้น ...

องค์สมเด็จพระญาณสังวร จะเรียก จิตว่ากายก็ได้ เพราะตัวกาย(นามรูป)นั้นย่อมต้องมีจิตสังขาร( กายทิพย์, โอปาติกะ, เจตภูต, อทิสมานกาย)อยู่ในกาย หรืออยู่ในขันธ์ 5(นามรูป - รูปขันธ์,เวทนาขันธ์,สังขารขันธ์, สัญญาขันธ์, วิญญาณขันธ์) ชีวิตจึงจะมีขึ้นได้




ถามอีกครั้งครับ คำตอบนั่น คุณต้องการอธิบายสาระพระสูตรดังกล่าวนั่นใช่ไหมครับ

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 25 ก.พ. 2010, 18:18 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว




011.gif
011.gif [ 120.52 KiB | เปิดดู 4108 ครั้ง ]
คุณพลศักดิ์ (คนดีที่โลกลืม) คุณจะเข้ามาที่กระทู้นี้อีกไหมขอรับ

กลับมาคุยกันให้จบๆไป


ที่คุณถูกเว็ปบอร์ดต่างๆ ให้ใบแดงบ้าง แบนชั่วคราวบ้าง ตลอดกาลบ้าง เพราะคุณตัดพระสูตรมาบางส่วน

แล้วก็อธิบายเอาเอง (ตอบเอง) ตามความเข้าใจของตน โดยนำศัพท์ธรรมตรงนั้นตรงนี้มามาอธิบายผสมกัน

ทำนองจับแพะชนแกะ จนข้อปนเปขัดแย้งกันเอง

เช่น ตัวอย่างพระสูตรเต็มๆข้างต้น คุณก็ตัดมาส่วนหนึ่ง (หน่อยหนึ่ง) แล้วร่ายไปตามถนัด

จนกรัชกายเข้าใจผิดว่าคุณไปนำหนังสือใครเขียนไว้แล้วคุณนำมาโพสต์ จึงได้แนะนำให้เอาหนังสือเล่มนั้นไป

เผาไฟเสีย

แต่เมื่อมีผู้นำพระสูตรนั้นมาเต็มสูตร ก็ไมมีอะไรขัดแย้งกัน จึงประกาศถอนการเผาหนังสือนั้น

แต่แนะนำให้เผาคุณพลศักดิ์ (คนดีที่โลกลืม) แล้วนำเถ้าถ่านไปลอยอังคารแทน :b1:


แต่จะใช้มอไซนำไปลอย :b28:

http://www.baanmaha.com/forums/showthread.php?t=1549

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


แก้ไขล่าสุดโดย กรัชกาย เมื่อ 25 ก.พ. 2010, 20:28, แก้ไขแล้ว 4 ครั้ง.
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 25 ก.พ. 2010, 23:54 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 5
สมาชิก ระดับ 5
ลงทะเบียนเมื่อ: 10 ก.พ. 2010, 13:35
โพสต์: 355

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:

ที่คุณถูกเว็ปบอร์ดต่างๆ ให้ใบแดงบ้าง แบนชั่วคราวบ้าง ตลอดกาลบ้าง เพราะคุณตัดพระสูตรมาบางส่วน

แล้วก็อธิบายเอาเอง (ตอบเอง) ตามความเข้าใจของตน โดยนำศัพท์ธรรมตรงนั้นตรงนี้มามาอธิบายผสมกัน

ทำนองจับแพะชนแกะ จนข้อปนเปขัดแย้งกันเอง

เช่น ตัวอย่างพระสูตรเต็มๆข้างต้น คุณก็ตัดมาส่วนหนึ่ง (หน่อยหนึ่ง) แล้วร่ายไปตามถนัด


1. ผมผ่านมาหลายเว็บ จึงรู้ว่าพุทธพจน์ต่างๆนั้น คนที่นำเอาข้อความเต็มๆมาลงนั้น ตัวเขาเองก็ไม่รู้ว่าหมายความว่าอย่างไร พุทธพจน์แต่ละจุดนั้น ตีความยากสุดๆ ปัญญาระดับปถุชน และสมมุติสงฆ์ ตีความไม่ได้ ทำให้ศาสนาพุทธกลายเป็นสัทธรรมปฏิรูปจนถึงทุกวันนี้

2. ผมแยกแต่ละพุทธพจน์ออกมา เพื่อให้ง่ายต่อการตีความเท่านั้น


กรัชกาย เขียน:
จนกรัชกายเข้าใจผิดว่าคุณไปนำหนังสือใครเขียนไว้แล้วคุณนำมาโพสต์ จึงได้แนะนำให้เอาหนังสือเล่มนั้นไป

เผาไฟเสีย

แต่เมื่อมีผู้นำพระสูตรนั้นมาเต็มสูตร ก็ไมมีอะไรขัดแย้งกัน จึงประกาศถอนการเผาหนังสือนั้น

แต่แนะนำให้เผาคุณพลศักดิ์ (คนดีที่โลกลืม) แล้วนำเถ้าถ่านไปลอยอังคารแทน :b1:




1. คุณกรัชกายสารภาพว่าเข้าใจผิดก็ดีแล้ว ตอนหลังจะต่อว่าใครจะได้ระมัดระวังตัว จะได้ไม่หลงไปต่อว่าพระพุทธเจ้าอีก ไม่งั้นวันหลังโดนชาวพุทธคนอื่นต่อว่าอีก

2. ผมดีใจที่คุณกรัชกายไม่คิดเผาพุทธพจน์นั้นทิ้งอีกแล้ว ผมล่ะกลัวว่า คุณกรัชกายจะไม่สารภาพผิด แล้วยังมีจิตใจอาฆาตผู้ตรัสพุทธพจน์นั้น(พระพุทธเจ้า) ซึ่งกรรมนั้นจะนำคุณกรัชกายไปโดนเผาด้วยไฟนรกเป็นกัปเป็นกัลป์

3. คุณกรัชกายอาฆาตอะไรผมหนักหนา ผมมาเพื่อเผยแพร่พุทธศาสนาที่ถูกต้อง คุณกรัชกายควรขอบคุณผม จึงจะถูกต้อง เพราะสิ่งที่ผมบอกไป เปิดทัศนะการตีความพุทธศาสนาที่ถูกต้องให้คนในเว็บ คุณเองและคนในเว็บนี้ รวมทั้งเว็บอื่นๆ ต่างโดนมารหลอกมานาน วันนี้ผมเปิดแสงสว่างให้คุณแล้ว โดยไม่คิดมูลค่า


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 26 ก.พ. 2010, 09:38 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


อ้างคำพูด:
(.....ตถาคตเรียกร่างกายอันเป็นที่ประชุมแห่งมหาภูตทั้ง ๔ นี้ว่า จิตบ้าง มโนบ้าง วิญญาณบ้าง ปุถุชนผู้มิได้สดับ ไม่อาจเบื่อหน่าย คลายกำหนัด หลุดพ้นในจิต เป็นต้นนั้นได้เลย.....ฯลฯ.....)

ตอบ

ในทัศนะของผม ทั้งหมดเป็นเรื่องของปฏิจจสมุปบาท ตัวต้นคือ สังขาร เป็นปัจจัย ให้เกิด วิญญาณ, แล้ววิญญาณเป็นปัจจัยให้เกิดนามรูป และก็ต่อไปเรื่อยๆ จนถึงภพ ชาติ และก็ชรามรณะ แล้วก็วนกลับมาใหม่(เวียนว่ายตายเกิด) ถ้ายังมีอวิชชาอยู่

1. จะเห็นว่า คำว่าสังขาร ที่สร้างวิญญาณนั้น คือ จิตสังขาร หรือจิตที่คิดปรุงแต่งไปเรื่อยๆ ด้วยเหตุนี้ พระพุทธองค์จึงเรียก จิตสังขาร ว่า จิตบ้าง มโนบ้าง วิญญาณบ้าง เพราะสิ่งนี้เป็นสิ่งต่อเนื่องมาจากสังขาร(จิต) นอกจากนี้ พระพุทธองค์จะเรียก สิ่งที่ต่อเนื่องลงมาอีก คือ นามรูป หรือ ขันธ์ 5 หรือร่ายกายว่า อันเป็นที่ประชุมแห่งมหาภูตทั้ง ๔ นี้ว่า จิตบ้าง มโนบ้าง วิญญาณบ้าง ก็ไม่ผิด เพราะเป็นสิ่งเกี่ยวเนื่องกัน พวกมันว่าจากสังขาร(จิต)ทั้งนั้น ไม่มีอะไรนอกเหนือจากจิต(สังขาร)ที่คิดปรุงแต่งเลย

ตัวอย่าง ทุกสรรพสิ่งประกอบด้วยสสาร มีโมเลกุลเป็นสิ่งเล็กสุดที่รับรู้ได้ในยุคหนึ่ง ต่อมาเมื่อพบว่า อะตอมเป็นสิ่งที่เล็กสุดในสสารหรือโมเลกุล เราจะเรียกสิ่งนั้นเป็นอะไรก็ได้ เป็น สสาร เป็นโมเลกุล เป็นอะตอม หรือจะแยกแยะออกไปอีกก็ได้ ตามแต่ว่าเราจะสื่ออะไรให้เข้าใจได้ง่ายที่สุดในสาขาวิชานั้น

สมมุติ เราเรียกโมเลกุลว่าเป็น จิตสังขาร, โมเลกุลในไม้ เราเอามาใช้ทำบ้าน เราจะเรียกบ้านของเราว่า "บ้านไม้" ถ้าเราเอาไม้ไปทำอุปกรณ์ทุกชิ้นในบ้าน เช่น โต๊ะไม้ เก้าอี้ไม้ ตะเกียบไม้ เราจะเรียกอุปกรณ์เหล่านั้นว่า โต๊ะไม้ เก้าอี้ไม้ ตะเกียบไม้

หรือเราจะเรียกโมเลกุลของไม้ที่เป็นพื้นฐาน ก็ย่อมได้ จะเรียกเป็นอะตอมก็ได้ แต่คงจะสื่อกันยืดยาวหน่อย เราเลยเรียกเป็นชื่อ สิ่งสมมุตินั้นแทน ในกรณีนี้คือ โต๊ะไม้ เก้าอี้ไม้ ตะเกียบไม้

2. พระพุทธเจ้าบางครั้งก็เรียกสังขาร(จิต) ว่า "โลก" บางครั้งก็เรียกว่า "อุปทาน" บางครั้งก็เรียก "อัตตานุทิฎฐิ" บางครั้งก็เรียก "สังสารวัฏฏ์" บางครั้งก็เรียก "อนัตตา" ขึ้นอยู่กับจุดประสงค์ว่าท่านจะแสดงธรรมระดับไหน

ที่องค์สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช เทศน์ว่า

แม้ จิตสังขาร คือสัญญาเวทนาก็เช่นเดียวกัน เมื่อมีสัญญามีเวทนา จิตจึงจะคิดนึกตรึกตรอง วิญญาณจึงเกิดขึ้นในเรื่องที่จิตคิดนึกตรึกตรองนั้น ...

องค์สมเด็จพระญาณสังวร จะเรียก จิตว่ากายก็ได้ เพราะตัวกาย(นามรูป)นั้นย่อมต้องมีจิตสังขาร( กายทิพย์, โอปาติกะ, เจตภูต, อทิสมานกาย)อยู่ในกาย หรืออยู่ในขันธ์ 5(นามรูป - รูปขันธ์,เวทนาขันธ์,สังขารขันธ์, สัญญาขันธ์, วิญญาณขันธ์) ชีวิตจึงจะมีขึ้นได้


คุณตัดพระสูตรมาเท่าที่เห็น (เน้นสีแดง) แล้วคุณก็มาพร่ำตอบอย่างที่เห็น กรัชกายก็คิดว่า คุณนำคำตอบนั้นมาจากหนังสืออื่น ซึ่งมีขายตามท้องตลาด จึงแนะนำให้เอาไปเผา แต่ไม่ใช่ ความเห็นของคุณเองทั้งนั้น

เมื่อกรัชกายรู้อย่างนี้ จึงให้เก็บหนังสือไว้ (หลังจากเห็นสูตรเต็มๆ) แล้วแนะนำให้คุณไปเผาตัวตายแทน ไม่มีอะไรซับซ้อน :b1:

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


แก้ไขล่าสุดโดย กรัชกาย เมื่อ 26 ก.พ. 2010, 09:41, แก้ไขแล้ว 2 ครั้ง.

โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 26 ก.พ. 2010, 10:29 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
ขอบคุณคุณ sirisuk ที่นำข้อความทั้งหมดมาวางแบให้ดู :b1:

ที่นี่จะขอเชิญชวนสมาชิกทุกท่าน (โดยเฉพาะคุณคนดีที่โลกลืมและคุณ sirisuk) ช่วยกันพิเคราะห์

สารธรรมจากข้อความทั้งหมดดู พินิจดูตั้งแต่ต้นจนถึงข้อสุดท้ายว่ามีนัยอย่างไร




(๒๓๐)....ดูกรภิกษุทั้งหลาย ปุถุชนผู้มิได้สดับ จะพึงเบื่อหน่ายบ้าง

คลายกำหนัดบ้าง หลุดพ้นบ้าง ในร่างกายอันเป็นที่ประชุมแห่งมหาภูตทั้ง ๔ นี้

ข้อนั้นเพราะเหตุไร เพราะเหตุว่า ความเจริญก็ดี ความเสื่อมก็ดี การเกิดก็ดี

การตายก็ดี ของร่างกายอันเป็นที่ประชุมแห่งมหาภูตทั้ง ๔ นี้ ย่อมปรากฏ

ปุถุชนผู้มิได้สดับ จึงเบื่อหน่ายบ้าง คลายกำหนัดบ้าง หลุดพ้นบ้าง ในร่างกายนั้น

แต่ตถาคตเรียกร่างกายอันเป็นที่ประชุมแห่งมหาภูตทั้ง ๔ นี้ว่า จิตบ้าง มโนบ้าง วิญญาณบ้าง

ปุถุชนผู้มิได้สดับ ไม่อาจเบื่อหน่าย คลายกำหนัด หลุดพ้นในจิต เป็นต้นนั้นได้


เลย ข้อนั้นเพราะเหตุไร เพราะว่าจิตเป็นต้นนี้ อันปุถุชนมิได้สดับ รวบรัดถือ

ไว้ด้วยตัณหา ยึดถือด้วยทิฐิว่า นั่นของเรา นั่นเป็นเรา นั่นเป็นตัวตนของเรา

ดังนี้ ตลอดกาลช้านานฉะนั้น ปุถุชนผู้มิได้สดับ จึงไม่อาจจะเบื่อหน่าย คลาย

กำหนัด หลุดพ้นในจิตเป็นต้นนั้นได้เลย ฯ

[๒๓๑] ดูกรภิกษุทั้งหลาย ปุถุชนผู้มิได้สดับ จะพึงเข้าไปยึดถือเอา

ร่างกายอันเป็นที่ประชุมแห่งมหาภูต ๔ นี้ โดยความเป็นตน ยังชอบกว่า แต่จะ

เข้าไปยึดถือเอาจิตโดยความเป็นตนหาชอบไม่ ข้อนั้นเพราะเหตุไร เพราะร่างกาย

อันเป็นที่ประชุมแห่งมหาภูตทั้ง ๔ นี้ เมื่อดำรงอยู่ ปีหนึ่งบ้าง สองปีบ้าง สามปี

บ้าง สี่ปีบ้าง ห้าปีบ้าง สิบปีบ้าง ยี่สิบปีบ้าง สามสิบปีบ้าง สี่สิบปีบ้าง ห้าสิบปี

บ้าง ร้อยปีบ้าง ยิ่งกว่าร้อยปีบ้าง ย่อมปรากฏ แต่ว่าตถาคตเรียกร่างกายอันเป็น

ที่ประชุมแห่งมหาภูตทั้ง ๔ นี้ว่า จิตบ้าง มโนบ้าง วิญญาณบ้าง จิตเป็นต้นนั้น

ดวงหนึ่งเกิดขึ้น ดวงหนึ่งดับไป
ในกลางคืนและกลางวัน ฯ


[๒๓๒] ดูกรภิกษุทั้งหลาย วานรเมื่อเที่ยวไปในป่าใหญ่จับกิ่งไม้ ปล่อย

กิ่งนั้น ยึดเอากิ่งอื่น ปล่อยกิ่งที่ยึดเดิม เหนี่ยวกิ่งใหม่ต่อไป แม้ฉันใด ร่างกาย

อันเป็นที่ประชุมแห่งมหาภูตทั้ง ๔ นี้ ที่ตถาคตเรียกว่า จิตบ้าง มโนบ้าง

วิญญาณบ้าง จิตเป็นต้นนั้น ดวงหนึ่งเกิดขึ้น ดวงหนึ่งดับไป ในกลางคืนและกลางวัน

ก็ฉันนั้นแล ฯ

[๒๓๓] ดูกรภิกษุทั้งหลาย อริยสาวกผู้สดับ ย่อมใส่ใจโดยแยบคาย

ด้วยดีถึงปฏิจจสมุปบาทธรรม ในร่างกาย และ จิต
ที่ตถาคตกล่าวมานั้นว่า

เพราะเหตุดังนี้ เมื่อสิ่งนี้มี สิ่งนี้จึงมี เพราะสิ่งนี้เกิดขึ้น สิ่งนี้จึงเกิดขึ้น เมื่อสิ่งนี้ไม่มี

สิ่งนี้จึงไม่มี เพราะสิ่งนี้ดับ สิ่งนี้จึงดับ
คือ เพราะอวิชชาเป็นปัจจัย จึงมีสังขาร

เพราะสังขารเป็นปัจจัย จึงมีวิญญาณ เพราะวิญญาณเป็นปัจจัย จึงมีนามรูป

เพราะนามรูปเป็นปัจจัย จึงมีสฬายตนะ เพราะสฬายตนะเป็นปัจจัย จึงมีผัสสะ

เพราะผัสสะเป็นปัจจัย จึงมีเวทนา เพราะเวทนาเป็นปัจจัย จึงมีตัณหา เพราะ

ตัณหาเป็นปัจจัย จึงมีอุปาทาน เพราะอุปาทานเป็นปัจจัย จึงมีภพ เพราะภพ

เป็นปัจจัย จึงมีชาติ เพราะชาติเป็นปัจจัย จึงมีชราและมรณะ โสกปริเทวทุกข-

*โทมนัสและอุปายาส ความเกิดขึ้นแห่งกองทุกข์ทั้งมวลนี้ ย่อมมีด้วยประการอย่างนี้

อนึ่ง เพราะอวิชชาดับด้วยสำรอกโดยไม่เหลือ สังขารจึงดับ เพราะสังขารดับ

วิญญาณจึงดับ ฯลฯ ความดับแห่งกองทุกข์ทั้งมวลนี้ ย่อมมีด้วยประการอย่างนี้


[๒๓๔] ดูกรภิกษุทั้งหลาย อริยสาวกผู้ได้สดับ มาพิจารณาอยู่อย่างนี้

ย่อมหน่ายแม้ในรูป ย่อมหน่ายแม้ในเวทนา ย่อมหน่ายแม้ในสัญญา ย่อมหน่าย

แม้ในสังขารทั้งหลาย ย่อมหน่ายแม้ในวิญญาณ เมื่อหน่าย ย่อมคลายกำหนัด

เพราะคลายกำหนัดจึงหลุดพ้น เมื่อหลุดพ้นแล้ว ก็เกิดญาณหยั่งรู้ว่าหลุดพ้นแล้ว

ย่อมทราบชัดว่าชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว กิจที่ควรทำ ทำเสร็จแล้ว

กิจอื่นเพื่อความเป็นอย่างนี้มิได้มี ดังนี้แล ฯ



นำสูตรเต็มๆมาวางให้ดูอีกที (แล้วเชิญคุณ sirisuk ร่วมสนทนาทำความเข้าใจด้วย)

ขออนุญาตให้ข้อคิดนิดว่า การอ่านพระสูตร ต้องดูทั้งหมดจับสารธรรมทั้งสุตรดูบริบทด้วย

ท่านกำลังพูดถึงเรื่องอะไร แล้วตอนจบเป็นยังไง

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


แสดงโพสต์จาก:  เรียงตาม  
กลับไปยังกระทู้  [ 59 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1, 2, 3, 4  ต่อไป

เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


 ผู้ใช้งานขณะนี้

่กำลังดูบอร์ดนี้: ไม่มีสมาชิก และ บุคคลทั่วไป 1 ท่าน


ท่าน ไม่สามารถ โพสต์กระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ตอบกระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แก้ไขโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ลบโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แนบไฟล์ในบอร์ดนี้ได้

ค้นหาสำหรับ:
ไปที่:  
Google
ทั่วไป เว็บธรรมจักร