วันเวลาปัจจุบัน 03 ธ.ค. 2024, 02:08  



เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


พบ 8327 ผลลัพธ์
ผลจากการค้นหา:

เจ้าของ ข้อความ

 บอร์ด: พระอภิธรรม   หัวข้อ: เวทนา

 หัวข้อกระทู้: Re: เวทนา
เมื่อ: 30 พ.ย. 2024, 14:03 

ตอบกลับ: 2
แสดง: 431


ไม่ได้ทำนึงถึงว่าเป็นสิ่งที่สูญหรือเที่ยงแต่อย่างใด ๆ เลย ๓. กล่าวโดยพิสดาร เป็นการกล่าวอย่างกว้างขวางนั้น ตัณหามีถึง ๑๐๘ คือ อารมณ์ของตัณหามี ๖ และอาการที่เป็นไปของตัณหามี ๓ จึงเป็นตัณหา (๖×๓ ) = ๑๘ ตัณหา ๑๘ นี้มีทั้งที่เป็นภายในและภายนอก ภายใน ๑๘ ภายนอก ๑๘ ก็เป็น ๓๖ ตัณหา ๓๖ มีทั้งกาล คือมีในอดีตก...

 บอร์ด: พระอภิธรรม   หัวข้อ: เวทนา

 หัวข้อกระทู้: Re: เวทนา
เมื่อ: 30 พ.ย. 2024, 12:58 

ตอบกลับ: 2
แสดง: 431


รูปตัณหา > ยินดีอยากได้ > รูปารมณ์ สัททตัณหา > ยินดีอยากได้ > สัททารมณ์ คันธตัณหา > ยินดีอยากได้ > คันธารมณ์ รสตัณหา > ยินดีอยากได้ > รสารมณ์ โผฏฐัพพตัณหา > ยินดีอยากได้ >โผฏฐัพพารมณ์ ธัมมตัณหา > ยินดีอยากได้ > ธัมมารมณ์ ๒. กล่าวโดยอาการที่เป็นไป คือเมื่อมีความยินดีติดใจอยากได้ในอารมณ์ทั้ง ๖ นั้นแล้...

 บอร์ด: พระอภิธรรม   หัวข้อ: เวทนา

 หัวข้อกระทู้: เวทนา
เมื่อ: 30 พ.ย. 2024, 10:39 

ตอบกลับ: 2
แสดง: 431


เวทนา เป็นปัจจัยแก่ ตัณหา คือ ตัณหาจะปรากฎเกิดขึ้นได้ก็เพราะมีเวทนาเป็นปัจจัย เวทนา มีลักขณาทิจตุกะดังนี้ อนุภวนลกฺขณา มีการเสวยอารมณ์ เป็นลักษณะ วิสยรสสมฺโภครสา มีการเสวยอารมณ์เป็นกิจ สุขทุกฺขปจฺจุปฎฺฐานา มีการสุขและทุกข์เป็นผล ผสฺสปทฎฺฐานา มีผัสสะเป็นเหตุใกล้ ในบทก่อน เวทนาที่เป็นปัจจยุบบันธรรมของ...

 บอร์ด: พระอภิธรรม   หัวข้อ: ตัณหา

 หัวข้อกระทู้: Re: ตัณหา
เมื่อ: 30 พ.ย. 2024, 05:53 

ตอบกลับ: 2
แสดง: 587


ในข้อ ๓ สีลัพพตุปาทาน ที่ประพฤติปฏิบัติเยี่ยงโคเยี่ยงสุนัข เป็นต้นนั้น ก็เพราะ มีความเห็นผิดโดยสำคัญไปว่า การที่เราเป็นลูกหนี้ ไม่มีเงินและไม่สามารถที่จะหาเงินไปใช้ หนี้ได้ แต่ถ้าได้ยอมมอบตัวเราให้เจ้าหนี้ใช้การงานแทน ก็ย่อมปลดเปลื้องหนี้สินได้ ข้อนี้ฉันใด การที่เราได้กระทำบาปกรรมไว้มากมาย ถ้ายอมตัว...

 บอร์ด: พระอภิธรรม   หัวข้อ: ตัณหา

 หัวข้อกระทู้: Re: ตัณหา
เมื่อ: 29 พ.ย. 2024, 14:46 

ตอบกลับ: 2
แสดง: 587


ปุพพันตกัปปิกทิฏฐิ ไม่เชื่อเหตุในอดีต มี ๑๘ คือ (๑) สัสสตทิฏฐิ ๔ เห็นว่า อัตตาและโลกเที่ยง (อกริยทิฏฐิ) (๒) เอกัจจสัสสตเอกัจจอสัสตตทิฏฐิ ๔ เห็นว่าอัตตาและโลกบางอย่างเที่ยง บางอย่างไม่เที่ยง (๓) อันตามันติกทิฏฐิ ๔ เห็นว่าโลกมีที่สุด และไม่มีที่สุด (๔) อมราวิกเขปีกทิฏฐิ ๔ ความเห็นชัดส่ายไม่ตายตัว จะว...

 บอร์ด: พระอภิธรรม   หัวข้อ: ตัณหา

 หัวข้อกระทู้: ตัณหา
เมื่อ: 29 พ.ย. 2024, 07:14 

ตอบกลับ: 2
แสดง: 587


องค์ที่ ๘ ตัณหา ตัณหา เป็นปัจจัยแก่ อุปาทาน คือ อุปาทานจะปรากฏเกิดขึ้นได้ก็เพราะมีตัณหา เป็นปัจจัย ตัณหามีลักขณาทิจตุกะดังนี้ เหตุลกฺขณา เป็นเหตุแห่งทุกข์ทั้งปวง เป็นลักษณะ อภินนฺทนรสา มีความยินดีติดใจในอารมณ์ ภูมิ ภพ เป็นกิจ อติตฺตภาวปจฺจุปฏฺฐานา มีความไม่อิ่มในอารมณ์ต่างๆ เป็นผล เวทนาปทฏฺฐานา มีเ...

 บอร์ด: พระอภิธรรม   หัวข้อ: อุปาทาน

 หัวข้อกระทู้: Re: อุปาทาน
เมื่อ: 25 พ.ย. 2024, 18:18 

ตอบกลับ: 3
แสดง: 1163


ข. ทิฏฐุปาทาน สีลัพพตุปาทาน และ อัตตวาทุปาทาน เป็นปัจจัยแก่ภพ ก็ ด้วยอำนาจแห่งปัจจัย ๗ ปัจจัยตามสมควร. นับเอาเฉพาะที่แตกต่างจากข้อ ก. คือ ๔. มัคคปัจจัย มัคค คือธรรมที่เป็นประดุจหนทางที่นำไปสู่ ทุคติ สุคติ และ นิพพาน จัดเป็น สัมปาปกเหตุ คือเหตุที่ทำให้ถึง เปรียบเหมือนยวดยานพาหนะที่สามารถพาผู้โดยสารให...

 บอร์ด: พระอภิธรรม   หัวข้อ: อุปาทาน

 หัวข้อกระทู้: Re: อุปาทาน
เมื่อ: 23 พ.ย. 2024, 14:23 

ตอบกลับ: 3
แสดง: 1163


อธิบายปัจจัย ก. กามุปาทาน เป็นปัจจัยภพ ก็ด้วยอ่านาจแห่งปัจจัย ๗ ปัจจัย คือ ๑. เหตุปัจจัย กล่าวถึงเหตุ ๖ โมหเจตสิกเป็นปัจจัยแก่อกุศลจิต นั้นในที่นี้ โมหะ เป็น เหตุปัจจัย อกุศลจิต ๑๒ และเจตสิกที่ประกอบเป็นเหตุปัจจยุบัน ๒ สหชาตปัจจัย กล่าวถึงธรรมที่เกิดพร้อมกัน ในที่นี้โมหเจตสิกย่อมเกิดพร้อมกันกับอกุศ...

 บอร์ด: พระอภิธรรม   หัวข้อ: อุปาทาน

 หัวข้อกระทู้: Re: อุปาทาน
เมื่อ: 21 พ.ย. 2024, 20:04 

ตอบกลับ: 3
แสดง: 1163


ปัจจัย ๒๔ ที่เกี่ยวแก่อุปาทาน ไนบท อุปาทาน เป็นปัจจัยแก่ภพนี้ เมื่อกล่าวโดยปัจจัย ๒๔ แล้วก็เป็นไปได้ ด้วยอำนาจแห่งปัจจัยดังต่อไปนี้ คือ ก. กามุปาทาน เป็นปัจจัยภพ ก็ด้วยอ่านาจแห่งปัจจัย ๗ ปัจจัย คือ ๑, เหตุปัจจัย ๒. สหชาตปัจจัย ๓. อัญญมัญญปัจจัย ๔. นิสสยปัจจัย ๕. สัมปยุตตปัจจัย ๖. อัตถิปัจจัย ๗. อวิ...

 บอร์ด: พระอภิธรรม   หัวข้อ: อุปาทาน

 หัวข้อกระทู้: อุปาทาน
เมื่อ: 21 พ.ย. 2024, 09:53 

ตอบกลับ: 3
แสดง: 1163


อุปาทานเป็นปัจจัยแก่ภพ คือ ภพจะเกิดมีขึ้นได้ก็เพราะอุปาทานเป็นปัจจัย อุปาทานมีลักขณาทิจตุกะ ดังนี้ คหณลกฺขณํ มีการยึดไว้ เป็นลักษณะ อมฺุจนรสํ มีการไม่ปล่อย เป็นกิจ ตณฺหาทฬุหตุตทิฏฐิ ปจฺจุปฎฺฐานํ มีตัณหาที่มีกำลังอย่างมั่นคงและมีความเห็นผิดเป็นผล ตณฺหา ปทฎฺฐานํ. มีตัณหา เป็นเหตุใกลั ในบทก่อน อุปาทานท...

 บอร์ด: พระอภิธรรม   หัวข้อ: ความแตกต่างกันระหว่างตัณหากับอุปาทาน

เมื่อ: 17 พ.ย. 2024, 10:37 

ตอบกลับ: 0
แสดง: 1384


ความแตกต่างกันระหว่างตัณหากับอุปาทาน ใน อภิธัมมัตถวิภาวินีฎีกา ว่า เอตฺถ จ ทุพฺพลตณฺหา นาม พลวติ อุปาทานานํ แปลความว่า ในที่นี้ตัณหาที่มีกำลังน้อยเรียกว่า ตัณหา ตัณหาที่มีกำลังมากเรียกว่า อุปาทาน อีกนัยหนึ่งว่า ปริเยสนทุกฺขมูลํ ตณฺหา อารกฺขมูลํ อุปาทานํ อยเมเตสํ วิเสโส แปลความว่า ตัณหามีทุกข์ในการแ...

 บอร์ด: พระอภิธรรม   หัวข้อ: โสกะ ปริเทวะ เป็นต้น ไม่นับเป็นองค์

เมื่อ: 16 พ.ย. 2024, 17:30 

ตอบกลับ: 3
แสดง: 677


ทุกขทุกข์ ได้แก่ ธรรมที่เกิดพร้อมกับ ทุกขเวทนา วิปริณามทุกข์ ได้แก่ ธรรมที่เกิดพร้อมกับ สุขเวทนา สังขารทุกข์. ได้แก่ ธรรมที่เกิดพร้อมกับ อุเบกขาเวทนา ปริยายทุกข์ . ได้แก่ ธรรมที่เกิดพร้อมกับ สุขเวทนา และอุเบกบาเวทนา ซึ่งจะต้องวิปริตผันแปรกลับไปเป็นทุกข์อีก. โทมนัสสะ ทุมนสฺสภาโว โทมนสฺสํ สภาพที่เป็น...

 บอร์ด: พระอภิธรรม   หัวข้อ: โสกะ ปริเทวะ เป็นต้น ไม่นับเป็นองค์

เมื่อ: 16 พ.ย. 2024, 15:37 

ตอบกลับ: 3
แสดง: 677


๑, ทุกขทุกข ได้แก่ กายิกทุกขเวทนาและเจตสิกทุกขเวทนา ที่เรียกว่าทุกขทุกข์ เพราะเมื่อว่าโดยสภาพ ก็มีสภาพเป็นทุกข์ ว่าโดยชื่อ ก็มีชื่อเป็นทุกข์ กายิกทุกขเวทนา ได้แก่ ทุกขสหคตกายวิญญาณ ๑ เจดสิก ๗ เจตสิกทุกขเวทนา ได้แก่ โทมนัสสหคตจิต ๒ เจตสิก ๒๒ ๒. วิปริณามทุกฺข ได้แก่ กายิกสุขเวทนา และเจตสิกสุขเวทนาที่...

 บอร์ด: พระอภิธรรม   หัวข้อ: โสกะ ปริเทวะ เป็นต้น ไม่นับเป็นองค์

เมื่อ: 16 พ.ย. 2024, 13:30 

ตอบกลับ: 3
แสดง: 677


๑. ญาติพยสนะ ความพิบัติไปแห่งญาติ หมายถึงมิตรสหายด้วย ๒. โภคพยสนะ ความพิบัติไปแห่งทรัพย์สมบัติ ตลอดจนยศศักดิ์ด้วย ๓. โรคพยสนะ ถูกโรคภัยเบียดเบียน ๔. สีลพยสนะ ความเสียศีล ศีลที่รักษาอยู่นั้นขาดไป ๕. ทิฏฐิพยสนะ. ความเห็นที่ถูกต้องนั้นพิบัติไป มีความเห็นผิดเกิดขึ้น ทำให้สูญเสีย สัมมาทิฏฐิไป ปริเทวะ ปริ...

 บอร์ด: พระอภิธรรม   หัวข้อ: โสกะ ปริเทวะ เป็นต้น ไม่นับเป็นองค์

เมื่อ: 16 พ.ย. 2024, 12:20 

ตอบกลับ: 3
แสดง: 677


โสกะ ปริเทวะ เป็นต้น ไม่นับเป็นองค์ โสกะ ปริเทวะ ทุกขะ โทมนัสสะ และ อุปายาสะ ๕ ประการนี้ไม่นับเป็นองค์ แห่งปฏิจจสมุปปาท เพราะว่าธรรมเหล่านี้เป็นเพียงผลของชาติเท่านั้น ชรา มรณะ ก็เป็น แต่เพียงผลของชาติเช่นเดียวกัน แต่นับว่าเป็นองค์แห่งปฏิจจสมุปปาทด้วย ก็ด้วยเหตุว่าเมื่อ มีชาติ คือความเกิดปรากฏขึ้นมา...
เรียงตาม:  
หน้า 1 จากทั้งหมด 556 [ พบ 8327 ผลลัพธ์ ]


เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


ไปที่:  
Google
ทั่วไป เว็บธรรมจักร