เว็บบอร์ด สนทนาธรรม สอบถามห้องแชดสนทนาธรรมสมุดเยี่ยม ฝากข้อความ ติชมรวมเว็บพระพุทธศาสนารวมรูปภาพ พุทธศิลป์ พระพุทธเจ้า พระพุทธรูป พระเจดีย์ พระสงฆ์
  ตั้งเป็นหน้าแรก   เก็บเข้า Favorites   สั่งพิมพ์   แจ้งปัญหา
   
 
 
 
สารบัญหลัก
  หน้าหลัก
  หนังสือธรรมะ
  บทสวดมนต์
  เสียงธรรม mp3
  เสียงสวดมนต์ mp3
  ห้องสวดมนต์ออนไลน์
  สมาธิ
  กฎแห่งกรรม
  วัดป่า-พระป่า
  วันสำคัญทางศาสนา
  ดาวน์โหลด e-book
  คำสอนจากครูบาอาจารย์
  บทความ..ธรรมจักร
  รูปภาพ
  กระดานสนทนา
  ห้องสนทนา
  สมุดเยี่ยม
  รวมเว็บ
  ติดต่อทีมงาน
ขึ้นบน
 
เว็บบอร์ด
  สนทนาธรรม
  ข่าวกิจกรรม
  สติปัฏฐาน
  สมาธิ
  กฎแห่งกรรม
  นิทานธรรมะ
  หนังสือธรรมะ
  บทความธรรมะ
  กวีธรรม
  นานาสาระ
  วิทยุธรรมะ
  สถานที่ปฏิบัติธรรม
  เสียงธรรมออนไลน์
  เสียงสวดมนต์ออนไลน์
  พระพุทธเจ้า
  ประวัติอสีติมหาสาวก
  ประวัติเอตทัคคะ
  ประวัติครูบาอาจารย์
 
 
^-^ มาฝึกสมาธิกันดีกว่า ^-^
 
@ อยากรู้  ประวัติศาสตร์ วงล้อมธรรมจักร ลัญลักษณ์ของพุทธศาสนา  คลิกอ่าน @
 
รวมเว็บพระพุทธศาสนา แบ่งออกเป็นหมวดหมู่ ง่ายต่อการค้นคว้าหาข้อมูล
 
คำสอนของครูบาอาจารย์ เช่นหลวงปู่ดูลย์,หลวงปู่เทสก์,หลวงพ่อชา,หลวงพ่อพุธ,หลวงพ่อจรัญ,พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) เป็นต้น
 
อัลบั้มภาพพระพุทธศาสนา
 
เรือนธรรม - บ้านพักผ่อนทางจิตใจด้วยธรรมะ
 
ขอเชิญเข้ามาร่วมสนทนาธรรมด้วยกันครับ
 
ดูซิ ! ว่ามีใครอยู่ในห้องบ้าง
 
ฝากข้อความติชมของท่านได้ที่นี่ครับ
 
 
 
 
   ธรรมจักร   หนังสือธรรมะ ทาน ปรับขนาดตัวอักษร เพิ่มขนาด ลดขนาด ขนาดปกติ  
 

ทาน

         ทาน การให้, สิ่งที่ให้, ให้ของที่ควรให้แก่คนที่ควรให้ เพื่อประโยชน์แก่เขา, สละให้ปันสิ่งของตน เพื่อประโยชน์แก่ผู้อื่น

ทาน มี ๒ หมวด ดังนี้
ทาน ๒ คือ - อามิสทาน ให้สิ่งของ
               - ธรรมทาน ให้ธรรมะ

ทาน ๒ คือ - สังฆทาน ให้แก่สงฆ์ หรือให้เพื่อส่วนรวม
               - ปาฏิบุคลิกทาน ให้เจาะจงแก่บุคคลผู้ใดผู้หนึ่งโดยเฉพาะ

         คำนิยามความหมายของทานข้างต้นนี้ นำมาจากพจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลศัพท์ ของ พระธรรมปิฎก (ประยุทธ์ ปยุตฺโต)

         ทาน เป็นชื่อของการให้ และสิ่งที่ให้ คนที่ให้ทานท่านเรียกว่า ทานบดี (ทานนะบอดี) เจ้าของทาน คือ เป็นเจ้าของแห่งทานนั้นตลอดไป ใครจะมาแย่งชิงเอาไปไม่ได้
ในทาน ๒ หมวดข้างต้นนี้ พระพุทธองค์ทรงสรรเสริญว่า ธรรมทาน (การให้ธรรมะเป็นทาน) และสังฆทาน (การให้แก่สงฆ์หรือส่วนรวม) ว่าเป็นทานอันเลิศของแต่ละฝ่าย

         แต่ในทาน ๒ อย่างนี้ ย่อมจะต้องมีคู่กันไป จะตัดออกแล้วเอาแต่ส่วนใดส่วนหนึ่งนั้น ก็หาสำเร็จประโยชน์ไม่ โดยเฉพาะในหมวดที่ ๑ อามิสทานและธรรมทานย่อมนั้นจะต้องเดินไปด้วยกัน
เหตุทั้งนี้ เพราะ……….....
         อามิสทาน เป็นเครื่องบริหารกาย
         ธรรมทาน เป็นเครื่องบริหารใจ

         ในสองอย่างนี้จะต้องเดินเคียงคู่กันเสมอ ถ้าขาดอย่างใดอย่างหนึ่ง ก็ไม่อาจที่จะสำเร็จประโยชน์อันสูงสุดได้ ดังนั้น ในฐานะปุถุชนเต็มขั้น จึงควรที่จะต้องบำเพ็ญทาน ๒ อย่างนี้ควบคู่กันไป ไม่ควรที่จะมุ่งทำแต่เพียงอย่างใดอย่างหนึ่งเท่านั้น เพราะทานทั้งสองอย่างนี้ย่อมต้องอาศัยซึ่งกันและกัน

         ร่างกายของคน ย่อมต้องอาศัยวัตถุทานเป็นเครื่องหล่อเลี้ยง ฉันใด ?
จิตใจก็ย่อมจะต้องอาศัยธรรมะ เป็นเครื่องหล่อเลี้ยงฉันนั้น !

         โดยเฉพาะอย่างยิ่ง สำหรับชาวบ้านด้วยแล้ว ถ้าไม่บำเพ็ญทานเลย ภิกษุทั้งหลายก็อยู่ไม่ได้ เมื่อภิกษุไม่มีเสียแล้ว พระพุทธศาสนาจะตั้งอยู่อย่างครบถ้วนบริบูรณ์ได้อย่างไร ?
ขอแต่ว่า ผู้ที่บำเพ็ญทานอยู่เป็นประจำแล้ว ขออย่าได้ย่ำเท้าอยู่กับที่ ขอให้รักษาศีล และเจริญภาวนาร่วมด้วย มิฉะนั้นท่านก็ไม่อาจที่จะรับอานิสงส์แห่งพระพุทธศาสนาได้ครบวงจร

 

     

สารบัญ
คำนำ
ทาน
ติโรกุฑฑกัณฑ์
ผลของทาน
เงื่อนไขแห่งทาน
ทานที่เห็นผลในปัจจุบัน
ทักขิณาวิภังคสูตร
 
 
 
 
 
 
 
  หน้าหลัก l หนังสือธรรมะ l เสียงสวดมนต์ mp3 l เสียงธรรม mp3 l บทสวดมนต์ l สมาธิ l รูปภาพ
ดาวน์โหลด e-book l ห้องสวดมนต์ออนไลน์  l กระดานสนทนา l ห้องสนทนา chat  l สมุดเยี่ยม lรวมเว็บ
 
จัดทำโดย  กลุ่มเผยแผ่หลักคำสอนทางพระพุทธศาสนา ธรรมจักรดอทเน็ต
เพื่อส่งเสริมคุณธรรม และจริยธรรมในสังคม
เมื่อวันที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2546
ติดต่อ webmaster@dhammajak.net
ขึ้นบน