ผู้ตั้ง |
ข้อความ |
ปุ๋ย
บัวเงิน


เข้าร่วม: 02 มิ.ย. 2004
ตอบ: 1275
|
ตอบเมื่อ:
17 ก.ค.2005, 11:39 pm |
  |
|
   |
 |
ปุ๋ย
บัวเงิน


เข้าร่วม: 02 มิ.ย. 2004
ตอบ: 1275
|
ตอบเมื่อ:
17 ก.ค.2005, 11:43 pm |
  |
|
   |
 |
ปุ๋ย
บัวเงิน


เข้าร่วม: 02 มิ.ย. 2004
ตอบ: 1275
|
ตอบเมื่อ:
17 ก.ค.2005, 11:45 pm |
  |
|
   |
 |
ปุ๋ย
บัวเงิน


เข้าร่วม: 02 มิ.ย. 2004
ตอบ: 1275
|
ตอบเมื่อ:
18 ก.ค.2005, 12:02 am |
  |
สร้างตึกสูงเสียดฟ้า.............ไปไย
หากบ่ทำจิตให้.....................แกร่งแท้
ธรรมชาติห่อนทำลาย...........จริงอยู่
ทาสแห่งอารมย์แพ้...............ถล่มล้าง สิ้นพลัน
ธรรมะคอยช่วยค้ำ...............ใจตรง
วางจิตในทรัพย์ลง..............เถิดบ้าง
กายนอกผ่อนปลดปลง.........เป็นสิ่ง ดีเอย
จิตผ่องใจสะอ้าง.................ปลดร้อน ในทรวง
สร้างตึก ให้ใครอยู่...............หากไม่รู้จักตนเอง
ธรรมชาติไม่กลัวเกรง...........ทาสใจตน คนพังภิณท์
ธรรมะท่านให้ทาง................วางจิตว่างในทรัพย์สิน
กายนอกปลงให้สิ้น...............จิตผ่องสะอาด ดับร้อนทรวง
Last edited by ayethebing on Thu May 27, 2004 6:19 pm; |
|
|
|
   |
 |
ปุ๋ย
บัวเงิน


เข้าร่วม: 02 มิ.ย. 2004
ตอบ: 1275
|
ตอบเมื่อ:
18 ก.ค.2005, 12:10 am |
  |
จากการเจริญสติทำให้เกิดความเข้าใจในจิตหลายอย่างหลายประการ โดยในชั้นแรก ๆ จิตก็ไม่เข้าตัวมันเองว่าการเจริญสตินั้นเพื่อแสวงหาอะไร และสิ่งที่แสวงหานั้นมีลักษณะอย่างไร แต่เมื่อเจริญมาก ๆ เข้า จิตก็จะพบตัวมันเองว่าสิ่งที่แสวงหานั้น ไม่ใช่อื่นไกล แต่เป็นสิ่งเดิม ๆ ที่เคยพบเห็นมาแล้วทั้งชีวิต แต่เหตุที่จิตไม่รู้จัก จึงได้แสวงหามาอย่างผิด ๆ มาตลอด และเมื่อรู้จักแล้วว่าเป็นอย่างนี้เอง จิตจึงสงบและหยุดการแสวงหาสิ่งใด ๆ อีก และยอมปล่อยวางไม่ยึดถือสิ่งทั้งปวงที่เป็นตัวทุกข์ออก
จิตผ่อง |
|
|
|
   |
 |
ปุ๋ย
บัวเงิน


เข้าร่วม: 02 มิ.ย. 2004
ตอบ: 1275
|
ตอบเมื่อ:
18 ก.ค.2005, 12:18 am |
  |
ในการเจริญสติคราวก่อน ๆ จิตสงสัย
ในตัวเองว่าการปฏิบัติธรรมด้วยการเจริญสติ เพื่อให้หลุดพ้นจาก
ทุกข์นั้น จะต้องให้พบสิ่งใด และสิ่งนั้นมีลักษณะอย่างไร ซึ่งจาก
ข้อสงสัยที่ว่านี้ ทำให้จิตต้องแสวงหาสิ่งต่าง ๆ ที่อยู่ในกายและใจ
ไปอย่างไม่จบสิ้น และที่พบได้จากการเจริญสติในขณะนั้น พบเพียง
แต่สมมุติบัญญัติที่เรียกว่า รูป รส กลิ่น เสียง สัมผัส และคิดนึก
ทางตา ลิ้น จมูก หู ผิวกาย และใจเท่านั้น
จิตผ่อง |
|
|
|
   |
 |
ปุ๋ย
บัวเงิน


เข้าร่วม: 02 มิ.ย. 2004
ตอบ: 1275
|
ตอบเมื่อ:
18 ก.ค.2005, 12:22 am |
  |
จากการที่ได้เพียรเจริญสติบ่อย ๆ จนได้รู้จักและเข้าใจที่สมมุติเรียก
ว่าผู้ "รู้" มากขึ้น และการเจริญสติ ณ ขณะหนึ่งปรากฎว่า จิตได้ไปพบ
สิ่งหนึ่งที่ไม่ใช่ รูป รส กลิ่น เสียง สัมผัส คิดนึก และจิตก็ได้เข้าใจอย่าง
แจ่มแจ้งตรงนี้เองว่า การหลุดพ้นจากทุกข์ได้ จิดต้องอยู่ตรงนี้ โดยไม่
สนใจและให้ความหมายกับสิ่งที่มากระทบทาง ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ
จิตจึงสงบและยอมปล่อยวางไม่ยึดถือสิ่งใด ในสิ่งที่สมมุติเรียกว่าตัวทุกข์
เช่น ขันธ์ห้า รูปนาม อายตนะ หรืออะไรก็ตามแล้วแต่จะเรียก
จิตผ่อง |
|
|
|
   |
 |
ปุ๋ย
บัวเงิน


เข้าร่วม: 02 มิ.ย. 2004
ตอบ: 1275
|
ตอบเมื่อ:
18 ก.ค.2005, 1:05 am |
  |
ลูกรัก สมาธิที่ดีไม่ควรจะมีเฉพาะตอนนั่งหลับตา
มันควรจะอยู่ ในทุกอิริยาบถอย่างสม่ำเสมอ จนกลายเป็นปกติธรรม
ลูกรัก เมื่อใดที่เจ้าหยุด
ความนิ่งก็เกิด ความสงบก็จักปรากฏ
ความตรึกตรอง เจ้าก็จักได้เป็นเจ้าของ
เมื่อตรอง จิตผ่อง ก็จักมี
ลูกรัก อารมณ์จะต้องเป็นหนึ่งเดียวกับกาย
ไม่ใช่หนึ่งเดียวกับ พระพุทธเจ้า พระธรรม พระสงฆ์
ธรรมชาติ จักรวาล โลก พลังหรือต่ออะไร อะไร
แต่เป็นปฏิปักษ์ต่อกายตน...นั่นไม่ใช่วิถีคิดแห่งพุทธธรรมนี้แน่
ลูกรัก สมาธิ เป็นพลังของพฤติกรรม ความตั้งมั่น ความระลึก รู้
เป็นผู้ช่วยสนับสนุนพฤติกรรม ความใคร่ครวญไตร่ตรอง
เป็นเครื่อง รองรับพฤติกรรม ความมีคุณมีประโยชน์
เป็นสาระปราศจากโทษ เป็น ประโยชน์ต่อจิตวิญญาณ
ข้อเสนอแนะ
ยามสาม ตื่นขึ้นบำเพ็ญเพียร
ยามสุดท้าย ออกแวะเวียนโปรดสัตว์
กลับมาสรงน้ำและทำวัตร
ปฏิบัติจัดการพัฒนากิจ
เสร็จสิ้นสนิทจิตกังขา
เล่าเรียนเขียนอ่านผ่านตำรา
บูชาธรรมมาในข้ากู
เร่งผนึกตรึกตนค้นให้พบ
จะได้จบเรื่องจริงสิ่งสงสัย
หากมิได้บำเพ็ญเป็นจัญไร
ก็ให้ตายในไพพนาภารตี
http://dhamma-isara.org/vidhi4_7.html
ธรรมะสวัสดี
มณี ปัทมะ ตารา  |
|
|
|
   |
 |
นะโม_เย
บัวใต้ดิน

เข้าร่วม: 07 ก.ค. 2005
ตอบ: 13
|
ตอบเมื่อ:
18 ก.ค.2005, 9:37 pm |
  |
อนุโมทนา สาธุ พระจิตผ่องค่ะ |
|
|
|
   |
 |
สายลม
บัวเงิน


เข้าร่วม: 30 พ.ค. 2004
ตอบ: 1245
|
ตอบเมื่อ:
18 ก.ค.2005, 9:42 pm |
  |
|
    |
 |
f
ผู้เยี่ยมชม
|
ตอบเมื่อ:
26 ก.ค.2005, 8:32 am |
  |
|
|
 |
|