Home  • กระดานสนทนา  • สมาธิ  •  สติปัฏฐาน  • กฎแห่งกรรม  • นิทาน  • หนังสือ  •  บทความ  • กวีธรรม  • ข่าวกิจกรรม  • แจ้งปัญหา
คู่มือการใช้คู่มือการใช้  ค้นหาค้นหา   สมัครสมาชิกสมัครสมาชิก   รายชื่อสมาชิกรายชื่อสมาชิก  กลุ่มผู้ใช้กลุ่มผู้ใช้   ข้อมูลส่วนตัวข้อมูลส่วนตัว  เช็คข้อความส่วนตัวเช็คข้อความส่วนตัว  เข้าสู่ระบบ(Log in)เข้าสู่ระบบ(Log in)
 
ได้ทำการย้ายไปเว็บบอร์ดแห่งใหม่แล้ว คลิกที่นี่
www.dhammajak.net/forums
15 ตุลาคม 2551
 พุทธศิลป์ (Buddhist Arts) : ท่านพุทธทาสภิกขุ อ่านหัวข้อถัดไป
อ่านหัวข้อก่อนหน้า
สร้างหัวข้อใหม่ตอบ
ผู้ตั้ง ข้อความ
กุหลาบสีชา
บัวเงิน
บัวเงิน


เข้าร่วม: 30 เม.ย. 2007
ตอบ: 1466
ที่อยู่ (จังหวัด): กทม.

ตอบตอบเมื่อ: 24 ก.ย. 2007, 7:47 pm ตอบโดยอ้างข้อความขึ้นไปข้างบน

Image

พุทธศิลป์ (Buddhist Arts) *
ท่านพุทธทาสภิกขุ

ตามหลักของอารตนั้น
Fine Arts เพ่งผลเปนความงดงามจับใจ
Arts of Conduct เพ่งผลเปนความทางธรรมจรรยาและอื่นๆ ,
Liberal Arts ผลเปนการใช้ประโยชน์โดยตรง

ซึ่งตามปกติ Arts เหล่านี้
แยกกันหยู่เปนแผนกตามความมุ่งหมายแห่งอารตนั้นๆ ก็ตาม

Buddhist Arts ซึ่งโดยตรงเป็น Arts of Conduct นั้น
เปนได้ทั้ง ๓ อารต ในคราวเดียว คือ อัฏฐังคิกมรรค

เมื่อทำให้บริบรูณ์แล้ว ย่อมเกิดผล คือ

ความงามในเบื้องต้น -ท่ามกลาง-เบื้องปลาย
ที่กาย วาจา ใจ ของผู้นั้นหย่างเหลือที่จะมีความงามอะไรเปรียบได้


และนั่นก็เปนความดี
ซึ่งเปนความมุ่งหมายแห่ง Arts of Conduct หย่างยิ่งไปในตัว

พร้อมกันนั้นก็เปนความมีประโยชน์อันเป็นผลแห่ง Liberal Arts อย่างสูงสูดแก่ตน
คือ นิพพาน และแก่ส่วนรวมคือสันติภาพอันถาวรของโลก

มีอารตไหนบ้าง ที่ให้ผลมหาศาลเช่นนี่

อีกทางหนึ่ง ถ้าเพ่งกันในทางวัตถุ
ซึ่งเปนผลที่มุ่งหมายของ Fine Arts แล้ว ในทางพุทธศาสนาก็มีหยู่มากมาย
เช่น วิจิตรกรรมต่างๆ ของสิ่งก่อสร้างและปฏิมากรรม ฯลฯ

แม้ที่สุดแต่ทางนามธรรมก็มีการใช้ Fine Arts กันได้เต็มที่
เช่น “ภาพแห่งนิพพิทาญาณ”
(อันมีการเขียนเปนภาพ บุรุษเห็นภรรยาทำชู้) เปนต้น
ซึ่งข้อนี้หมายความว่า Buddhist Arts นั้นเปนสิ่งที่รวบเอาไว้ซึ่งอารตทั้งปวง
และเหมาะสมที่จะเปนอารตสากล
และเปนสื่อแห่งเอกีภาพของโลก เปนหย่างยิ่ง

เราจงจัดทำ และเผยแพร่ Arts นี้แก่โลก เพื่อสันติภาพอันถาวรของโลกเถิด

แม้ในปัจจุบันนี้ ส่วนใหญ่ Arts จะหมายถึง
สิ่งที่เพ่งผลแต่ในทางความงามหย่างเดียว (คือ Fine Arts) ก็ตาม

พุทธธรรม ก็ยังคงทำให้เกิดความงามแท้จริง
คือ งามในเบื้องต้น-ท่ามกลาง-เบื้องปลาย หยู่นั่นเอง


หมายเหตุ * :
๑. บทความนี้ ใช้อักขรวิธีตามต้นฉบับ

๒. ภาพพุทธศิลป์ : สร้างสรรค์ โดย อาจารย์เฉลิมชัย โฆษิตพิพัฒน์

ที่มา : พุทธศิลป์ (Buddhist Arts) : (จากอนุทินประจำวันปี ๒๔๙๕ ที่ ท่านพุทธทาสภิกขุ บันทึกไว้ เมื่อวันพฤหัสบดีที่ ๑๘ กันยายน พ.ศ. ๒๔๙๕) ใน พุทธทาสลิขิตข้อธรรม บันทึกนึกได้เอง : ว่าด้วยชีวิต สังคม การเมือง สันติภาพ และหลักคิดสำคัญๆ, ฉบับตีพิมพ์ครั้งแรก, ๒๕๔๗.


สาธุ สาธุ สาธุ

ขอขอบคุณ สาธุ คุณลองภูมิ : กัลยาณมิตรตลอดกาลของข้าพเจ้า....
สำหรับหนังสืออันทรงคุณค่ายิ่งของท่านพุทธทาสเล่มนี้ ที่มอบไว้เป็นธรรมบรรณาการ
เมื่อ ๑๔ กรกฏาคม ๒๕๔๗ ค่ะ
 
ดูข้อมูลส่วนตัวส่งข้อความส่วนตัวส่ง Emailชมเว็บส่วนตัว
ลูกโป่ง
บัวแก้ว
บัวแก้ว


เข้าร่วม: 01 ส.ค. 2005
ตอบ: 4089

ตอบตอบเมื่อ: 25 ก.ย. 2007, 12:00 pm ตอบโดยอ้างข้อความขึ้นไปข้างบน

สาธุ สาธุ สาธุค่ะ...คุณกุหลาบสีชา

ธรรมะสวัสดีค่ะ

ยิ้ม อายหน้าแดง ยิ้ม
 
ดูข้อมูลส่วนตัวส่งข้อความส่วนตัวชมเว็บส่วนตัว
I am
บัวบานเต็มที่
บัวบานเต็มที่


เข้าร่วม: 25 ต.ค. 2006
ตอบ: 972

ตอบตอบเมื่อ: 25 ก.ย. 2007, 1:42 pm ตอบโดยอ้างข้อความขึ้นไปข้างบน

โมทนาครับ.. สาธุ
 

_________________
ทุกข์ใดดับได้ด้วยปัญญา ทุกข์นั้นจะไม่เกิดอีก
ดูข้อมูลส่วนตัวส่งข้อความส่วนตัวส่ง Emailชมเว็บส่วนตัวMSN Messenger
แสดงเฉพาะข้อความที่ตอบในระยะเวลา:      
สร้างหัวข้อใหม่ตอบ
 


 ไปที่:   


อ่านหัวข้อถัดไป
อ่านหัวข้อก่อนหน้า
คุณไม่สามารถสร้างหัวข้อใหม่
คุณไม่สามารถพิมพ์ตอบ
คุณไม่สามารถแก้ไขข้อความของคุณ
คุณไม่สามารถลบข้อความของคุณ
คุณไม่สามารถลงคะแนน
คุณ สามารถ แนบไฟล์ในกระดานข่าวนี้
คุณ สามารถ ดาวน์โหลดไฟล์ในกระดานข่าวนี้


 
 
เลือกบอร์ด  • กระดานสนทนา  • สมาธิ  • สติปัฏฐาน  • กฎแห่งกรรม  • นิทานธรรมะ  • หนังสือธรรมะ  • บทความ  • กวีธรรม  • สถานที่ปฏิบัติธรรม  • ข่าวกิจกรรม
นานาสาระ  • วิทยุธรรมะ  • เสียงธรรม  • เสียงสวดมนต์  • ประวัติพระพุทธเจ้า  • ประวัติมหาสาวก  • ประวัติเอตทัคคะ  • ประวัติพระสงฆ์  • ธรรมทาน  • แจ้งปัญหา

จัดทำโดย  กลุ่มเผยแผ่หลักคำสอนทางพระพุทธศาสนา ธรรมจักรดอทเน็ต
เพื่อส่งเสริมคุณธรรม และจริยธรรมในสังคม
เมื่อวันที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2546
ติดต่อ webmaster@dhammajak.net
Powered by phpBB © 2001, 2002 phpBB Group :: ปรับเวลา GMT + 7 ชั่วโมง