Home  • กระดานสนทนา  • สมาธิ  •  สติปัฏฐาน  • กฎแห่งกรรม  • นิทาน  • หนังสือ  •  บทความ  • กวีธรรม  • ข่าวกิจกรรม  • แจ้งปัญหา
คู่มือการใช้คู่มือการใช้  ค้นหาค้นหา   สมัครสมาชิกสมัครสมาชิก   รายชื่อสมาชิกรายชื่อสมาชิก  กลุ่มผู้ใช้กลุ่มผู้ใช้   ข้อมูลส่วนตัวข้อมูลส่วนตัว  เช็คข้อความส่วนตัวเช็คข้อความส่วนตัว  เข้าสู่ระบบ(Log in)เข้าสู่ระบบ(Log in)
 
ได้ทำการย้ายไปเว็บบอร์ดแห่งใหม่แล้ว คลิกที่นี่
www.dhammajak.net/forums
15 ตุลาคม 2551
 นิยาม 5 อ่านหัวข้อถัดไป
อ่านหัวข้อก่อนหน้า
สร้างหัวข้อใหม่ตอบ
ผู้ตั้ง ข้อความ
ชัย
ผู้เยี่ยมชม





ตอบตอบเมื่อ: 26 ส.ค. 2006, 5:41 pm ตอบโดยอ้างข้อความขึ้นไปข้างบน

จากที่ได้อ่านหนังสือธรรมคีตาของนภาจรี หน้า64-65 แล้วเกิดความประทับใจในเรื่องของธรรมะของกฎแห่งธรรมชาติ แล้วมีข้อความที่เป็นประโยชน์แก่เยาวชนจึงต้องการที่จะเผยแพร่แก่เยาวชน เพื่อเป็นประโยชน์ในการดำเนินชีวิต
นิยาม 5
นิยาม 5 (กำหนดอันแน่นอน, ความเป็นไปอันมีระเบียบแน่นอนของธรรมชาติ, กฎธรรมชาติ — orderliness of nature; the five aspects of natural law)
1. อุตุนิยาม (กฎธรรมชาติเกี่ยวกับอุณหภูมิ หรือปรากฏการณ์ธรรมชาติต่างๆ โดยเฉพาะดินน้ำอากาศ และฤดูกาล อันเป็นสิ่งแวดล้อมสำหรับมนุษย์ — physical inorganic order; physical laws)
2. พีชนิยาม (กฎธรรมชาติเกี่ยวกับการสืบพันธุ์ มีพันธุกรรมเป็นต้น — physical organic order; biological laws)
3. จิตตนิยาม (กฎธรรมชาติเกี่ยวกับการทำงานของจิต — psychic law)
4. กรรมนิยาม (กฎธรรมชาติเกี่ยวกับพฤติกรรมของมนุษย์ คือ กระบวนการให้ผลของการกระทำ — order of act and result; the law of Karma; moral laws)
5. ธรรมนิยาม (กฎธรรมชาติเกี่ยวกับความสัมพันธ์และอาการที่เป็นเหตุเป็นผลแก่กันแห่งสิ่งทั้งหลาย — order of the norm; the general law of cause and effect; causality and conditionality)
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม พระธรรมปิฎก (ป.อ.ปยุตโต) พิมพ์บริษัท สื่อตะวัน จำกัด กทม. พ.ศ.2545 (ที.อ. 2/34;สงฺคณี.อ. 408.
กฎแห่งธรรมชาติ
กฎ 5 ประการที่เป็นธรรมชาติ อันเป็นระเบียบและกฎเกณฑ์แห่งจักวาล อันยากที่จะเปลี่ยนแปร ด้วยศาสตร์แห่งมนุษย์ มนุษย์ควรตระหนัก และเข้าใจในธรรมชาติเหล่านี้ เพื่อปฏิบัติตนให้สอดคล้องและมีความสุขกับกฎแห่งธรรมชาตินี้ อันได้แก่
- อุณหภูมิความร้อน-หนาว ฤดูกาล
- พันธุกรรม และการสืบพันธุ์ แห่งสัตว์โลก
- การทำงานของจิตอย่างลึกซึ้ง
- ผลของการกระทำ ที่เป็นกฎแห่งกรรม
- เหตุปัจจัยที่เป็นเหตุ เป็นผลแก่กันแห่งสรรพสิ่ง
(นภาจรี)
 
ผู้เยี่ยมชม






ตอบตอบเมื่อ: 26 ส.ค. 2006, 11:07 pm ตอบโดยอ้างข้อความขึ้นไปข้างบน

คนทุกควรควรที่จะรู้ถึงสื่งที่เป็นธรรมชาติของตยเองเพื่อใช้ในการดำเนินชีวิตของตนเอง
 
ผู้เยี่ยมชม






ตอบตอบเมื่อ: 27 ส.ค. 2006, 4:42 am ตอบโดยอ้างข้อความขึ้นไปข้างบน

การรู้จักธรรมชาติของตัวเองทำให้ดำรงชีพได้อย่างมีความสุข สู้ สู้
 
ผู้เยี่ยมชม






ตอบตอบเมื่อ: 27 ส.ค. 2006, 4:24 pm ตอบโดยอ้างข้อความขึ้นไปข้างบน

การเข้าใจในสรรพสิ่งจะทำให้มนุษย์สามารถดำรงชีพได้อย่างปรับตัวเองให้เข้ากับธรรมชาติที่เป็นอยู่ได้ อายหน้าแดง
 
ผู้เยี่ยมชม






ตอบตอบเมื่อ: 27 ส.ค. 2006, 4:30 pm ตอบโดยอ้างข้อความขึ้นไปข้างบน

ขออนุธมธนาด้วย ยิ้ม
 
ผู้เยี่ยมชม






ตอบตอบเมื่อ: 27 ส.ค. 2006, 7:35 pm ตอบโดยอ้างข้อความขึ้นไปข้างบน

ธรรมชาติเป็นปัจจัยอย่างหนึ่งในการดำรงชีพของมนุษย์โดยทั่วไป ปรบมือ
 
ผู้เยี่ยมชม






ตอบตอบเมื่อ: 27 ส.ค. 2006, 7:45 pm ตอบโดยอ้างข้อความขึ้นไปข้างบน

ธรรมชาติในบ้างครั้งแล้วสามารถให้คนเปลี่ยนแปลงไปอย่างมากๆจริงๆ ร้องไห้
 
ผู้เยี่ยมชม






ตอบตอบเมื่อ: 27 ส.ค. 2006, 7:51 pm ตอบโดยอ้างข้อความขึ้นไปข้างบน

สาธุ สาธุ
 
natdanai
บัวบาน
บัวบาน


เข้าร่วม: 18 เม.ย. 2008
ตอบ: 387
ที่อยู่ (จังหวัด): bangkok

ตอบตอบเมื่อ: 10 ส.ค. 2008, 12:06 pm ตอบโดยอ้างข้อความขึ้นไปข้างบน

นิยาม 5

วัฏจักรของ การเกิดขึ้น ตั้งอยู่ และแตกกระจาย ของโลกธาตุ เปรียบเหมือนการเวียนว่ายตายเกิดของสัตว์ ในสังสารวัฏ
 

_________________
ตั้งสติไว้ มองความจริงตามความเป็นจริง
ดูข้อมูลส่วนตัวส่งข้อความส่วนตัวส่ง EmailMSN Messenger
แสดงเฉพาะข้อความที่ตอบในระยะเวลา:      
สร้างหัวข้อใหม่ตอบ
 


 ไปที่:   


อ่านหัวข้อถัดไป
อ่านหัวข้อก่อนหน้า
คุณไม่สามารถสร้างหัวข้อใหม่
คุณไม่สามารถพิมพ์ตอบ
คุณไม่สามารถแก้ไขข้อความของคุณ
คุณไม่สามารถลบข้อความของคุณ
คุณไม่สามารถลงคะแนน
คุณ ไม่สามารถ แนบไฟล์ในกระดานข่าวนี้
คุณ ไม่สามารถ ดาวน์โหลดไฟล์ในกระดานข่าวนี้


 
 
เลือกบอร์ด  • กระดานสนทนา  • สมาธิ  • สติปัฏฐาน  • กฎแห่งกรรม  • นิทานธรรมะ  • หนังสือธรรมะ  • บทความ  • กวีธรรม  • สถานที่ปฏิบัติธรรม  • ข่าวกิจกรรม
นานาสาระ  • วิทยุธรรมะ  • เสียงธรรม  • เสียงสวดมนต์  • ประวัติพระพุทธเจ้า  • ประวัติมหาสาวก  • ประวัติเอตทัคคะ  • ประวัติพระสงฆ์  • ธรรมทาน  • แจ้งปัญหา

จัดทำโดย  กลุ่มเผยแผ่หลักคำสอนทางพระพุทธศาสนา ธรรมจักรดอทเน็ต
เพื่อส่งเสริมคุณธรรม และจริยธรรมในสังคม
เมื่อวันที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2546
ติดต่อ webmaster@dhammajak.net
Powered by phpBB © 2001, 2002 phpBB Group :: ปรับเวลา GMT + 7 ชั่วโมง