Home  • กระดานสนทนา  • สมาธิ  •  สติปัฏฐาน  • กฎแห่งกรรม  • นิทาน  • หนังสือ  •  บทความ  • กวีธรรม  • ข่าวกิจกรรม  • แจ้งปัญหา
คู่มือการใช้คู่มือการใช้  ค้นหาค้นหา   สมัครสมาชิกสมัครสมาชิก   รายชื่อสมาชิกรายชื่อสมาชิก  กลุ่มผู้ใช้กลุ่มผู้ใช้   ข้อมูลส่วนตัวข้อมูลส่วนตัว  เช็คข้อความส่วนตัวเช็คข้อความส่วนตัว  เข้าสู่ระบบ(Log in)เข้าสู่ระบบ(Log in)
 
ได้ทำการย้ายไปเว็บบอร์ดแห่งใหม่แล้ว คลิกที่นี่
www.dhammajak.net/forums
15 ตุลาคม 2551
 เวทนา 6 อ่านหัวข้อถัดไป
อ่านหัวข้อก่อนหน้า
สร้างหัวข้อใหม่ตอบ
ผู้ตั้ง ข้อความ
นุ้ย
ผู้เยี่ยมชม





ตอบตอบเมื่อ: 26 ส.ค. 2006, 5:30 pm ตอบโดยอ้างข้อความขึ้นไปข้างบน

จากที่ได้อ่านหนังสือธรรมคีตาของนภาจรี หน้า36-37 แล้วเกิดความประทับใจในเรื่องของเวทนาด้านต่าง แล้วมีข้อความที่เป็นประโยชน์แก่เยาวชนจึงต้องการที่จะเผยแพร่แก่เยาวชน เพื่อเป็นประโยชน์ในการดำเนินชีวิต
เวทนา 6
เวทนา 6 (การเสวยอารมณ์ — feeling)
1. จักขุสัมผัสสชา เวทนา (เวทนาเกิดจากสัมผัสทางตา — feeling arisen from visual contact)
2. โสต ~ เวทนา (เวทนาเกิดจากสัมผัสทางหู — from auditory contact)
3. ฆาน ~ เวทนา (เวทนาเกิดจากสัมผัสทางจมูก — from olfactory contact)
4. ชิวหา ~ เวทนา (เวทนาเกิดจากสัมผัสทางลิ้น — from gustatory contact)
5. กาย ~ เวทนา (เวทนาเกิดจากสัมผัสทางกาย — from physical contact)
6. มโน ~ เวทนา (เวทนาเกิดจากสัมผัสทางใจ — from mental contact)
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม พระธรรมปิฎก (ป.อ.ปยุตโต) พิมพ์บริษัท สื่อตะวัน จำกัด กทม. พ.ศ.2545 (สํ.สฬ. 18/434/287)
อายตนะ6
เมื่อ ตา, หู, จมูก, ลิ้น, กาย ใจ อันเป็นอายตนะ6แห่งมนุษย์ ได้มองเห็น, ได้ยิน, รู้กลิ่น, รู้รส, รู้สัมผัส และรู้ความเจ็บปวด
เมื่อนั้นจิตจะเสวยอารมณ์เกิดเวทนา ทุกข์ สุข ถ้าเมื่อใดนำอารมณ์มาปรุงแต่ง ย่อมนำไปสู่กิเลส โลภ โกรธ หลง ในที่สุด แล้วกิเลสก็จะเผาผลาญให้เร่าร้อนทุรนทุราย จึงควรระงับดับอารมณ์ด้วยการมีสติ ทุกขณะแห่งจิตตน
(นภาจรี) ขำ
 
ผู้เยี่ยมชม






ตอบตอบเมื่อ: 26 ส.ค. 2006, 11:10 pm ตอบโดยอ้างข้อความขึ้นไปข้างบน

ถ้าคนรู้จักความสงสารผู้อื่นโลกก็จะน่าอยู่ไปด้วย ยิ้ม
 
ผู้เยี่ยมชม






ตอบตอบเมื่อ: 27 ส.ค. 2006, 4:39 am ตอบโดยอ้างข้อความขึ้นไปข้างบน

คนทุกคนควรที่จะมีการแบ่งปันสิ่งของที่แบ่งปันได้ให้กับผู้ที่ไม่มี หรือผู้ที่ด้อยกว่าเรา ดอกไม้
 
ตรงประเด็น
บัวบานเต็มที่
บัวบานเต็มที่


เข้าร่วม: 25 ก.ค. 2006
ตอบ: 773

ตอบตอบเมื่อ: 27 ส.ค. 2006, 5:55 am ตอบโดยอ้างข้อความขึ้นไปข้างบน

สาธุครับ ยิ้ม

มีคำกล่าวที่ว่า พระอรหันต์ ท่านจะมีเฉพาะเวทนาทางกาย แต่ไม่มีเวทนาทางใจแล้ว....

กล่าวคือ ท่านก็ยังรู้สึก ร้อน หนาว ต้องกระทบกับอารมณ์ที่น่าพอใจหรือไม่น่าพอใจอยู่ต่างๆอยู่..... แต่เวทนาเหล่านั้น ก็ สักแต่ว่าเป็นเวทนา เท่านั้น...... ใจท่านไม่เป็นสุขจนลุ่มหลง หรือทุกข์จนต้องผลักไสเวทนาเหล่านั้นแล้ว

ถ้าดูจากวงจรปฏิจจสมุปบาท ก็คือ ว่า เวทนานั้นไม่มีอำนาจที่จะสืบต่อจนเป็นตัณหาแล้ว(เวทนาดับ ตัณหาจึงดับ)..... เวนาดับ ก็เพราะผัสสะดับ นั้น หมายถึง ผัสสะนั้นเป็นผัสสะธรรมดาที่ไม่มีอวิชชาเป็นรากเหง้าผ่านมาตามสายของปฏิจจสมุปบาท ผัสสะนั้นจึงปราศจากอำนาจที่จะทำให้ใจเกิดชอบ หรือ ไม่ชอบขึ้น

จะเรียกว่า เหนือเวทนา แบบธรรมเทศนาของ หลวงปู่ ชา สุภัทโท ก็ได้ สาธุ

เหนือเวทนา

http://www.ajahn-chah.org/aj12.htm
 
ดูข้อมูลส่วนตัวส่งข้อความส่วนตัว
ผู้เยี่ยมชม






ตอบตอบเมื่อ: 27 ส.ค. 2006, 4:18 pm ตอบโดยอ้างข้อความขึ้นไปข้างบน

เห็นด้วยครับการเวทนาบางครั้งขึ้นอยู่กับอารมณ์ของเจ้าตัวเอง ว่าจะมีเวทนาเป็นอย่างไรบ้าง จะมีเวทนาในระดับใด
 
ผู้เยี่ยมชม






ตอบตอบเมื่อ: 27 ส.ค. 2006, 4:28 pm ตอบโดยอ้างข้อความขึ้นไปข้างบน

ขออนุโมธนากับคุณตรงประเด็นด้วยครับเพราะการเวทนาทางกายแต่ไม่เวทนาทางใจแล้ว จะทำให้รู้สึกร้อนๆหนาวนา สงสัย
 
ผู้เยี่ยมชม






ตอบตอบเมื่อ: 27 ส.ค. 2006, 7:49 pm ตอบโดยอ้างข้อความขึ้นไปข้างบน

การเวทนานั้นควรต้องเวทนาทั้งกายและใจจึงจะเกิดความสุขที่แท้จริง ยิ้มแก้มปริ
 
ผู้เยี่ยมชม






ตอบตอบเมื่อ: 27 ส.ค. 2006, 7:53 pm ตอบโดยอ้างข้อความขึ้นไปข้างบน

สาธุ สาธุ
 
แสดงเฉพาะข้อความที่ตอบในระยะเวลา:      
สร้างหัวข้อใหม่ตอบ
 


 ไปที่:   


อ่านหัวข้อถัดไป
อ่านหัวข้อก่อนหน้า
คุณไม่สามารถสร้างหัวข้อใหม่
คุณไม่สามารถพิมพ์ตอบ
คุณไม่สามารถแก้ไขข้อความของคุณ
คุณไม่สามารถลบข้อความของคุณ
คุณไม่สามารถลงคะแนน
คุณ ไม่สามารถ แนบไฟล์ในกระดานข่าวนี้
คุณ ไม่สามารถ ดาวน์โหลดไฟล์ในกระดานข่าวนี้


 
 
เลือกบอร์ด  • กระดานสนทนา  • สมาธิ  • สติปัฏฐาน  • กฎแห่งกรรม  • นิทานธรรมะ  • หนังสือธรรมะ  • บทความ  • กวีธรรม  • สถานที่ปฏิบัติธรรม  • ข่าวกิจกรรม
นานาสาระ  • วิทยุธรรมะ  • เสียงธรรม  • เสียงสวดมนต์  • ประวัติพระพุทธเจ้า  • ประวัติมหาสาวก  • ประวัติเอตทัคคะ  • ประวัติพระสงฆ์  • ธรรมทาน  • แจ้งปัญหา

จัดทำโดย  กลุ่มเผยแผ่หลักคำสอนทางพระพุทธศาสนา ธรรมจักรดอทเน็ต
เพื่อส่งเสริมคุณธรรม และจริยธรรมในสังคม
เมื่อวันที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2546
ติดต่อ webmaster@dhammajak.net
Powered by phpBB © 2001, 2002 phpBB Group :: ปรับเวลา GMT + 7 ชั่วโมง