Home  • กระดานสนทนา  • สมาธิ  •  สติปัฏฐาน  • กฎแห่งกรรม  • นิทาน  • หนังสือ  •  บทความ  • กวีธรรม  • ข่าวกิจกรรม  • แจ้งปัญหา
คู่มือการใช้คู่มือการใช้  ค้นหาค้นหา   สมัครสมาชิกสมัครสมาชิก   รายชื่อสมาชิกรายชื่อสมาชิก  กลุ่มผู้ใช้กลุ่มผู้ใช้   ข้อมูลส่วนตัวข้อมูลส่วนตัว  เช็คข้อความส่วนตัวเช็คข้อความส่วนตัว  เข้าสู่ระบบ(Log in)เข้าสู่ระบบ(Log in)
 
ได้ทำการย้ายไปเว็บบอร์ดแห่งใหม่แล้ว คลิกที่นี่
www.dhammajak.net/forums
15 ตุลาคม 2551
 กระโดดเหวกันเถอะ อ่านหัวข้อถัดไป
อ่านหัวข้อก่อนหน้า
สร้างหัวข้อใหม่ตอบ
ผู้ตั้ง ข้อความ
เบ๊
ผู้เยี่ยมชม





ตอบตอบเมื่อ: 05 ก.พ.2006, 11:34 am ตอบโดยอ้างข้อความขึ้นไปข้างบน

พระพุทธเจ้าเปรียบการบวชเหมือนการโจนลงเหว เปรียบให้เห็นว่าถ้าอยากสำเร็จก็ต้องละการยึดถือในกิเลสได้อย่างสิ้นเชิง ข้อปฏิบัติทั้งหลายที่มีจึงอาจดูไม่ค่อยน่าเชื่อถือ แต่ถ้าให้ได้มาซึ่งสมาธิวิมุตติแล้ว ก็สามารถทำให้เกิดขึ้นได้จริง ถ้าต้องการจะสำเร็จแล้วก็ขอให้มุ่งมั่น กระทำถึงขั้นกล้าที่จะกระโดดลงเหวที่พระพุทธเจ้าทรงกล่าวไว้ ไม่ต้องกลัวสิ่งใด ไม่ต้องกล้าแบบบ้าบิ่น กระโดดลงไปอย่างมีสติ ไม่หวั่นไหวต่อสิ่งใดที่เข้ามารุมเร้าจิตใจ เหวนี้อาจเรียกได้ว่าเป็นเหวแห่งศรัทธา ความลึกนั้นเป็นสุญญตา ไร้ซึ่งการกำหนด ไม่มีสูง ไม่มีต่ำ ไม่มีการดับ ไม่มีการเกิด และ มีการเกิดมีการดับ ไม่รู้การเริ่ม ไม่ทราบการจบ เลื่อนลอยอย่างมีสติรู้ตัวเสมอ จะบรรยายให้รู้รสด้วยการอ่านก็ไม่เท่ากับแนะให้ไปชิมเอง ถ้าอยากสัมผัสรู้ว่าเป็นอย่างไรแล้ว กระโดดลงมาเลย แล้วความเลื่อมใสศรัทธาในธรรมของพุทธองค์ จะเพิ่มพูนขึ้นกว่าเดิมอย่างแน่นอน

ตถาคตไม่ได้ป่วย ตถาคตไม่ได้เป็นทุกข์ พระวรกายของตถาคตต่างหากที่เปลี่ยนแปลง ที่ป่วยที่ทุกข์ ถ้าพิจารณาประโยคนี้แล้วก็พอจะทราบได้ว่า ทุกสิ่ง ทุกอย่าง ในโลกธาตุนี้ มีการเกิด มีการดับ มีการเปลี่ยนแปลงอยู่เป็นธรรมดา ไม่เว้นแม้แต่พระวรกายของตถาคตเอง เมื่อมีอยู่ในโลกธาตุนี้แล้ว ย่อมถึงคราวเสื่อมสลาย ดับสิ้นไป ตามกฏของธรรมชาติ(ไตรลักษณ์) ไม่มีใครหนีพ้น โลกธาตุที่อาศัยอยู่นี้เป็นที่ว่านี้ ไม่ได้วิเศษเลอเลิศเหมือนกับโลกภพอื่น การนำความพิเศษของโลกอื่นมาผสมปนกับโลกธาตุที่อาศัยอยู่ในขณะนี้นั้น อาจทำให้เกิดความผิดพลาดในการพิจารณาธรรมของพระพุทธเจ้าได้ พึงควรระวัง

นิยามของคำเด็ดที่ไม่เหมือนกับศาสตร์อื่น

ดำรงไว้ซึ่งสุญญตา สวรรค์ชั้นฟ้า วิเศษทั่วจักรวาล ก็ไม่มีให้ยึดถือ (ทุกสิ่งเป็นอนัตตา)
ดำรงไว้ซึ่งตถตา ทุกสิ่งในโลกหล้า ก็ง่ายดุจพลิกฝ่ามือ (กรรมคือการปรุง สะสมมันขึ้นมา)

เปรียทเทียบให้เข้าใจง่ายๆได้ดังนี้

อนัตตา แล้วจึง สุญญตา สุญญตาแล้วจึง วิมุตติ เป็น สุขแบบอัพยากฤต

สุยญตาแล้วจึงตถตา ตถตาแล้วจึงสันติ สันติแล้วจึงวิมุตติ ตถตาจะคล้ายกับ อทุกขมสุขอัพยากฤต

ลองนำไปพิจารณาดูนะครับ ยิ้ม ผิดพลาดอะไรก็ติเตียนไว้ ขอบคุณหลายๆ
 
เด่น
ผู้เยี่ยมชม





ตอบตอบเมื่อ: 10 ก.พ.2006, 7:20 pm ตอบโดยอ้างข้อความขึ้นไปข้างบน

ขยันท่องจัง
 
แสดงเฉพาะข้อความที่ตอบในระยะเวลา:      
สร้างหัวข้อใหม่ตอบ
 


 ไปที่:   


อ่านหัวข้อถัดไป
อ่านหัวข้อก่อนหน้า
คุณไม่สามารถสร้างหัวข้อใหม่
คุณไม่สามารถพิมพ์ตอบ
คุณไม่สามารถแก้ไขข้อความของคุณ
คุณไม่สามารถลบข้อความของคุณ
คุณไม่สามารถลงคะแนน
คุณ ไม่สามารถ แนบไฟล์ในกระดานข่าวนี้
คุณ ไม่สามารถ ดาวน์โหลดไฟล์ในกระดานข่าวนี้


 
 
เลือกบอร์ด  • กระดานสนทนา  • สมาธิ  • สติปัฏฐาน  • กฎแห่งกรรม  • นิทานธรรมะ  • หนังสือธรรมะ  • บทความ  • กวีธรรม  • สถานที่ปฏิบัติธรรม  • ข่าวกิจกรรม
นานาสาระ  • วิทยุธรรมะ  • เสียงธรรม  • เสียงสวดมนต์  • ประวัติพระพุทธเจ้า  • ประวัติมหาสาวก  • ประวัติเอตทัคคะ  • ประวัติพระสงฆ์  • ธรรมทาน  • แจ้งปัญหา

จัดทำโดย  กลุ่มเผยแผ่หลักคำสอนทางพระพุทธศาสนา ธรรมจักรดอทเน็ต
เพื่อส่งเสริมคุณธรรม และจริยธรรมในสังคม
เมื่อวันที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2546
ติดต่อ webmaster@dhammajak.net
Powered by phpBB © 2001, 2002 phpBB Group :: ปรับเวลา GMT + 7 ชั่วโมง