Home  • กระดานสนทนา  • สมาธิ  •  สติปัฏฐาน  • กฎแห่งกรรม  • นิทาน  • หนังสือ  •  บทความ  • กวีธรรม  • ข่าวกิจกรรม  • แจ้งปัญหา
คู่มือการใช้คู่มือการใช้  ค้นหาค้นหา   สมัครสมาชิกสมัครสมาชิก   รายชื่อสมาชิกรายชื่อสมาชิก  กลุ่มผู้ใช้กลุ่มผู้ใช้   ข้อมูลส่วนตัวข้อมูลส่วนตัว  เช็คข้อความส่วนตัวเช็คข้อความส่วนตัว  เข้าสู่ระบบ(Log in)เข้าสู่ระบบ(Log in)
 
ได้ทำการย้ายไปเว็บบอร์ดแห่งใหม่แล้ว คลิกที่นี่
www.dhammajak.net/forums
15 ตุลาคม 2551
 การปฏิบัติ ทาน - ศีล - ภาวนา อ่านหัวข้อถัดไป
อ่านหัวข้อก่อนหน้า
สร้างหัวข้อใหม่ตอบ
ผู้ตั้ง ข้อความ
a.j.kassuda
บัวผลิหน่อ
บัวผลิหน่อ


เข้าร่วม: 13 ก.พ. 2007
ตอบ: 1
ที่อยู่ (จังหวัด): ภูเก็ต

ตอบตอบเมื่อ: 13 ก.พ.2007, 8:05 am ตอบโดยอ้างข้อความขึ้นไปข้างบน

การปฏิบัติ ทาน - ศีล - ภาวนา
และ บท สวดมนต์ - ภาวนา
สำหรับ อุบาสก - อุบาสิกา ผู้ถือศีล 5
โดย...น.ส.เกสสุดา ศิริวงศ์

ทาน - ศีล – ภาวนา
สำหรับอุบาสก – อุบาสิกา ผู้รักษาศีล 5
( เพื่อสุขนิรันดร์ - เดิมพันด้วยชีวิต - และไม่เห็นแก่ตัว )
- เพื่อสุขนิรันดร์ คือ บรรลุพระโสดาบันในชาตินี้แล้ว ไปบรรลุพระนิพพานในศาสนาพระศรี
อริยะเมตไตย ( พระศรีอาริย์ )
- ไม่เห็นแก่ตัว คือ ให้ทุกคนมีสิทธิเท่าเทียมกันในการปฏิบัติ ทาน - ศีล - ภาวนา
1. คุณสมบัติของผู้ปฏิบัติ
- คนทุกเพศ ทุกวัย ทุกเชื้อชาติ ทุกศาสนา ( ศาสนาอื่นก็ให้ปฏิบัติให้บรรลุเป้าหมายใน
ลักษณะเดียวกับ การบรรลุพระโสดาบัน และมุ่งมรรคผลนิพพานในที่สุด )
2. ระยะเวลาในการปฏิบัติ
- เริ่มต้นตั้งแต่วันเกิดของทุกคน เช่น เกิดวันที่ 1 ม.ค. พ.ศ.2500 ก็ให้เริ่มนับตั้งแต่ วันที่ 1 ม.ค.
พ.ศ.2500 เลย จะสิ้นสุดเมื่อถึงวันสิ้นชีวิต หรือละสังขาร
3.การปฏิบัติ
ทาน คือ การให้ การให้จะมีอานิสงส์มากน้อยนั้น ขึ้นอยู่กับผู้รับมีศีลมากน้อยแค่ไหนด้วย
แต่การให้คน สัตว์ ก็เป็นการสะสมทานได้และผู้ให้ต้องมีศรัทธา หรือมีความเชื่อถือด้วย
ว่าผลทานนั้นดี และมีปิติยินดีในการให้นั้น
ศีล คือ การรักษาศีล 5 ให้บริสุทธิ์ โดยเฉพาะศีลข้อที่ 3 ทางกายต้องบริสุทธิ์ 100 % ดังนั้น
ทุกข์โทษที่จะได้รับกรณีผิดศีล 5 ในทางปฏิบัติ คือจะได้รับลดหลั่นกันไปตามความผิด
ตามลำดับมากน้อย ถ้าผิดมากที่สุดก็ถึงแก่ชีวิต เป็นต้น
ภาวนา คือ การสวดมนต์ภาวนา เพื่อให้เกิดบุญกุศลหนุนส่งให้ผลทานของตนเกิดผลเร็วขึ้น
4.อานิสงฆ์แห่งการปฏิบัติ
4.1 ในทางธรรม
- ผู้หญิงจะมีลักษณะเป็นเบญจกัลยาณี ไม่ว่าท่านมีอายุเท่าใดสภาพร่างกายทุกส่วน
จะดูเป็นสาว อายุ 18 ปี มีประจำเดือนตลอดชีวิต และมีลูกได้ตลอด (แต่จะมีลูกได้
และมีลักษณะดีพร้อมดังกล่าวได้เมื่อบรรลุพระโสดาบันแล้วเท่านั้น)
ผู้ชายจะมีลักษณะของสัตตบุรุษ ไม่ว่าท่านมีอายุเท่าใด สภาพร่างกายทุกส่วน
จะดูเป็นหนุ่มอายุ 21 ปี และมีลูกได้ตลอด (แต่จะมีลูกได้และมีลักษณะดีพร้อม
ดังกล่าวได้เมื่อบรรลุพระโสดาบันแล้วเท่านั้น)
กรณีที่ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งบรรลุพระโสดาบันแล้วแต่อีกฝ่ายยังไม่บรรลุพระโสดาบัน
ก็มีโอกาสมีลูกได้เช่นกัน
- มีอายุขัย 180 ปี
- เมื่อจะละสังขารก็โดยการนั่งสมาธิ ภาวนาว่า พุทโธ
- ผู้ป่วย , ผู้พิการ จะมีวิธีรักษาให้หายขาดได้ โดยรักษาทางการปฏิบัตินี้ และ
โดยทางการแพทย์และเทคโนโลยี ร่วมด้วย
- ผู้ที่ตายไปแล้วจะกลับมาเกิดใหม่ในตระกูลเดิมของตน
- สำหรับผู้มีบุญญาธิการที่ตายไปแล้ว ถ้าบุคคลในตระกูลเดิมมีบุญญาธิการน้อย
สามารถเลือกเกิดกับ พ่อ – แม่ ที่มีบุญญาธิการมากได้
- สัตว์ทั้ง 12 จำพวก ผู้ซึ่งเกิดในชมพูทวีปนี้ ถึงแม้จะเกิดมาไม่ทันยุคพระศรี
อริยะเมตไตย ก็จะได้ไปเกิดในยุคพระพุทธเจ้าองค์ถัดๆไป ซึ่งจะมาตรัสในชมพูทวีปนี้ และจะได้บรรลุพระนิพพานทุกรูปทุกนาม
4.2 ในทางโลก
4.2.1 ได้กลับมาเป็นทรัพย์สินเงินทอง ซึ่งจะได้มาจาก
- การงานอาชีพที่ทำ
- การขายมรดกตกทอดจากบรรพบุรุษ โดยไม่มีค่านายหน้าแต่อย่างใด
- โชคลาภ เป็นทุกขลาภ คือต้องทุกข์ก่อนหรือรับวิบากกรรมที่ตนได้ก่อไว้ก่อน
แล้วจึงได้ลาภ อาจได้มาจาก สลากกินแบ่งรัฐบาล สลากออมทรัพย์ต่างๆ
เป็นต้น
5. ผลที่ได้รับทุกครั้งควรนำไปแบ่งเป็นสัดส่วน คือ
5.1 ผู้ปฏิบัติที่เป็นชาย จะแบ่งเป็น 2 กรณี
5.1.1 กรณีที่แต่งงานมีครอบครัว ควรแบ่งผลที่ได้รับนั้นเป็น 4 ส่วน
- 1 ส่วน ให้กับบุพการีของตน (รวมทั้งค่าสินสอดในการแต่งงานต้องให้กับบุพการีของฝ่ายหญิงด้วย เนื่องจากฝ่ายหณิงเป็นฝ่ายตั้งครรภ์และคลอดลูก)
กรณีไม่มี พ่อ - แม่ หรือ พ่อ - แม่ ไม่ได้เลี้ยงดูส่งเสีย ก็ให้กับผู้ที่เลี้ยงดูและผู้ส่งเสีย กรณีที่ พ่อ - แม่ อยู่ต่างสถานที่กับลูก แต่รับผิดชอบค่าเลี้ยงดู ก็ต้องให้กับ พ่อ- แม่ ( แต่ พ่อ - แม่ จะต้องมีค่าใช้จ่ายให้กับผู้เลี้ยงดูด้วย )
กรณีที่บุพการีเสียชีวิตหมดแล้ว เป็นกำพร้า ก็เก็บไว้กับตัวผู้ปฏิบัติเอง
- 1 ส่วน ให้กับตัวผู้ปฏิบัติเอง เพื่อสร้างทาน และบุญบารมีให้ยิ่งๆขึ้นไป
- 1 ส่วน สำหรับ กิน ใช้ ฝากธนาคาร
- 1 ส่วน ให้กับภรรยาตน (เนื่องจากฝ่ายหณิงเป็นฝ่ายตั้งครรภ์และคลอดลูก)

5.1.2 กรณีที่ไม่แต่งงานมีครอบครัว
- 1 ส่วน ให้กับบุพการีของตน กรณีไม่มี พ่อ - แม่ หรือ พ่อ - แม่ไม่ได้เลี้ยงดูส่งเสีย
ก็ให้กับผู้ที่เลี้ยงดูและผู้ส่งเสีย กรณีที่ พ่อ - แม่ อยู่ต่างสถานที่กับลูก แต่รับผิดชอบค่าเลี้ยงดู ก็ต้องให้กับ พ่อ - แม่ แต่ พ่อ - แม่ จะต้องมีค่าใช้จ่ายให้กับผู้เลี้ยงดูด้วย กรณีที่บุพการีเสียชีวิตหมดแล้ว เป็นกำพร้า ก็เก็บไว้กับตัวผู้ปฏิบัติเอง
- 1 ส่วน ให้กับตัวผู้ปฏิบัติเอง เพื่อสร้างทาน และบุญบารมีให้ยิ่งๆขึ้นไป
- 1 ส่วน สำหรับ กิน ใช้ ฝากธนาคาร

5.2 ผู้หญิง ไม่ว่าจะแต่งงานมีครอบครัวหรือไม่ ควรแบ่งผลที่ได้รับนั้นเป็น 3 ส่วน
- 1 ส่วน ให้กับบุพการีของตน กรณีไม่มี พ่อ - แม่ หรือ พ่อ - แม่ไม่ได้เลี้ยงดูส่งเสีย
ก็ให้กับผู้ที่เลี้ยงดูและผู้ส่งเสีย กรณีที่ พ่อ - แม่ อยู่ต่างสถานที่กับลูก แต่รับผิดชอบค่าเลี้ยงดู ก็ต้องให้กับ พ่อ - แม่ แต่ พ่อ - แม่ จะต้องมีค่าใช้จ่ายให้กับผู้เลี้ยงดูด้วย กรณีที่บุพการีเสียชีวิตหมดแล้ว เป็นกำพร้า ก็เก็บไว้กับตัวผู้ปฏิบัติเอง
- 1 ส่วน ให้กับตัวผู้ปฏิบัติเอง เพื่อสร้างทาน และบุญบารมีให้ยิ่งๆขึ้นไป
- 1 ส่วน สำหรับ กิน ใช้ ฝากธนาคาร
6.3 นำผลที่ได้รับไปชดใช้หนี้สินของตน
6.4 ไม่ควรให้มีสิ่งบูชาแทนตัวของผู้ที่ยังไม่บรรลุพระโสดาบัน เพื่อเขาจะได้มีโอกาส
กลับมาเกิดใหม่ได้อีก สำหรับพระพุทธรูปบูชา ควรมีไว้ที่วัดเท่านั้น
6.6 ควรยกเลิกงานประเพณีที่ไม่เกี่ยวเนื่องกับงานบุญทางศาสนาทุกชนิด

หมายเหตุ
ในการบรรลุพระโสดาบัน ในที่นี้ขอกล่าวถึงพระโกลังโกละโสดาบัน คือ พระโสดาบันที่จะกลับมาเกิดอีก 2 - 3 ชาติ แล้วจะมีโอกาสบรรลุพระอรหัตผล สำเร็จเป็นพระอรหันต์อริยะบุคคล ซึ่งเป็นพระอริยะบุคคลชั้นสูงสุดในพระบวรพุทธศาสนา จะดับขันธ์เข้าสู่พระนิพพาน อันเป็นแดนอมตะสุขชั่วนิรันดร์ ซึ่ง โสดาบันประเภทนี้ เป็นบุคคลประเภท ราคะจริต มีจิตสันดาน ประกอบไปด้วยปัญญาและสมาธิเท่ากัน เคยเจริญสมถะกัมฐาน และ วิปัสนากัมฐานมาเท่าๆกัน ก็สามารถที่จะบรรลุมรรคผลได้อย่างปานกลาง คือ ไม่เร็ว ไม่ช้า ( ที่กล่าวถึงพระโสดาบันประเภทนี้เนื่องจากเราเกิดมาในชมพูทวีป เป็นทวีปแห่งความรัก )
บทสวดมนต์ – ภาวนา
( เพื่อให้เกิดปัญญานำพาสู่การบรรลุพระโสดาบัน )

บทกราบพระ

อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา พุทธังภะคะวันตัง อภิวาเทมิ (กราบ)
สะวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม ธัมมัง นะมัสสามิ (กราบ)
สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ สังฆังนะมามิ (กราบ)

นมัสการพระรัตนตรัย
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมา สัมพุทธัสสะ (สวด 3 จบ)
พุทธัง สะระนัง คัจฉามิ
ธัมมัง สะระนัง คัจฉามิ
สังฆัง สะระนังคัจฉามิ
ทุติยัมปิ พุทธัง สะระนัง คัจฉามิ
ทุติยัมปิ ธัมมัง สะระนัง คัจฉามิ
ทุติยัมปิ สังฆัง สะระนังคัจฉามิ
ตะติยัมปิ พุทธัง สะระนัง คัจฉามิ
ตะติยัมปิ ธัมมัง สะระนัง คัจฉามิ
ตะติยัมปิ สังฆัง สะระนังคัจฉามิ

ถวายพรพระ

อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู
อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ สัตถา เทวะมะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวาติ.

สะวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปัสสิโก โอปะนะยิโก ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูฮีติ.

สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ยะทิทัง จัตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อาหุเนยโย ปาหุเนยโย ทักขิเนยโย อัญชะลีกะระณีโย
อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติ.
พาหุง

พาหุงสะหัสสะมะภินิมมิตะสาวุธันตัง ครีเมขะลัง อุทิตะโฆระสะเสนะมารัง ทานะทิธัมมะธินา ชิตะวามุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เม ชะยะมังคะลานิ

นาฬาคิริง คะชะวะรัง อะติมัตตะภูตัง ทาวัคคิจักกะมะสะนีวะ สุทารุณันตัง เมตตัมพุเสกะ วิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เม ชะยะมังคะลานิ

อุกขิตตะขัคคะมะติหัตถะ สุทารุณันตัง ธาวันติโยชะนะปะถัง คุลิมาละวันตัง อิทธีภิสังขะตะมะโน ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เม ชะยะมังคะลานิ

กัตตวาน ะ กัฏฐะมุทะรัง อิวะ คัพภินียา จิญจายะ ทุฏฐะวะจะนัง ชะนะกายะมัชเฌ สันเตนะ โสมะวิทินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เม ชะยะมังคะลานิ
สัจจังวิหายะ มะติสัจจะ กะวาทะเกตุง วาทาภิโร ปิตะมะนัง อะติอันธะภูตัง ปัญญาปะทีปะชะลิโต ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เม ชะยะมังคะลานิ
นันโทปะนันทะ ภุชะคัง วิพุธัง มะหิทธิง ปุตเตนะ เถระภุชะเคนะ ทะมาปะยันโต อิทธูปะเทสะ วิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เม ชะยะมังคะลานิ
ทุคคาหะทิฏฐิ ภุชะเคนะ สุทัฏฐะหัตถัง พรัมมัง วิสุทธิชุติมิทธิ พะกาภิธานัง ญาณาคะเทนะ วิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เม ชะยะมังคะลานิ
เอตาปิ พุทธะชะยะมังคะละอัฏฐะคาถา โยวาจะโน ทินะทิเน สะระเต มะตันที หิตตะวานะ เนกะวิวิธานิ จุปัททะวานิ โมกขัง สุขัง อะธิคะเมยยะ นะโร สะปัญโญ
มะหาการุณิโก นาโถ หิตายะ สัพพะ ปาณีนัง ปูเรตะวา ปาระมี สัพพา ปัตโต สัมโพธิมุต ตะมัง เอเตนะ สัจจะวัชเชนะโหตุ เม ชะยะมังคะลังฯ
ปาปะกัง วา ตัสสะ ทายาทา ภะวิสสันติ


ชะยันโต โพธิยา มูเล สักยานัง นันทิวัฒะโน เอวัง ตวัง วิชะโย โหหิ ชะยัสสุ ชะยะมังคะเล อะปะราชิ ตะปัลลังเก สีเส ปะฐะวิโปกขะเร อะภิเสเก สัพพะพุทธานัง อัคคัปปัตโต ปะโมทะติฯ สุนักขัตตัง สุมังคะลัง สุปะภาตัง สุหุฏฐิตัง สุขะโณ สุมุหุตโตจะ สุยิฏฐัง พรัมมะ จาริสุ ปะทักขิณัง กายะกัมมัง วาจากัมมัง ปะทักขิณัง มะโนกัมมัง ปะณีธีเต ปะทักขิณา ปะทักขิณา กัตวานะ ละภันตัตเถ ปะทักขิเณฯ

ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุ สัพพะเทวะตา สัพพะพุทธานุภาเวนะ สะทาโสตถี ภะวันตุ เตฯ
ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุ สัพพะเทวะตา สัพพะธัมมานุภาเวนะ สะทาโสตถี ภะวันตุ เตฯ
ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุ สัพพะเทวะตา สัพพะสังฆานุภาเวนะ สะทาโสตถี ภะวันตุ เตฯ
อิติปิโส 18 จบ (สำหรับอธิษฐาน)

อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ สัตถา เทวะมะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวาติ

คำบริกรรมสำหรับภาวนา (108 จบ)
พุทโธ (108 จบ)

พระคาถาเมตตาหลวง
(คำสวดให้เมตตาตน)

อะหัง สุขิโต โหมิ นิททุกโข โหมิ อะเวโร โหมิ อัพยาปัชโฌ โหมิ สุขี อัตตานัง ปริหะรามิ.

(1) คำสวดแผ่เมตตา (ย่อ)
1.สัพเพ สัตตา อะเวรา อัพพะยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ
2.สัพเพ ปาณา อะเวรา อัพพะยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ
3.สัพเพ ภูตา อะเวรา อัพพะยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ
4.สัพเพ ปุคคะลา อะเวรา อัพพะยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ
5.สัพเพ อัตตะภาวะปะริยาปันนา อะเวรา อัพพะยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ
6.สัพพา อิตถิโย อะเวรา อัพพะยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ
7.สัพเพ ปุริสา อะเวรา อัพพะยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ
8.สัพเพ อะริยา อะเวรา อัพพะยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ

9.สัพเพ อะนะริยา อะเวรา อัพพะยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ
10.สัพเพ เทวา อะเวรา อัพพะยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ
11.สัพเพ มนุสสา อะเวรา อัพพะยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ
12.สัพเพ วินิปาติกา อะเวรา อัพพะยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ

(2) คำสวดแผ่กรุณา (ย่อ)

1.สัพเพ สัตตา สัพพะทุกขา ปะมุญจันตุ
2.สัพเพ ปาณา สัพพะทุกขา ปะมุญจันตุ
3.สัพเพ ภูตา สัพพะทุกขา ปะมุญจันตุ
4.สัพเพ ปุคคะลา สัพพะทุกขา ปะมุญจันตุ
5.สัพเพ อัตตะภาวะปะริยาปันนา สัพพะทุกขา ปะมุญจันตุ
6.สัพพา อิตถิโย สัพพะทุกขา ปะมุญจันตุ
7.สัพเพ ปุริสา สัพพะทุกขา ปะมุญจันตุ
8.สัพเพ อะริยา สัพพะทุกขา ปะมุญจันตุ
9.สัพเพ อะนะริยา สัพพะทุกขา ปะมุญจันตุ
10.สัพเพ เทวา สัพพะทุกขา ปะมุญจันตุ
11.สัพเพ มนุสสา สัพพะทุกขา ปะมุญจันตุ
12.สัพเพ วินิปาติกา สัพพะทุกขา ปะมุญจันตุ


(3) คำสวดแผ่มุทิตา (ย่อ)

1.สัพเพ สัตตา ลัทธะสัมปัตติโต มา วิคัจฉันตุ
2.สัพเพ ปาณา ลัทธะสัมปัตติโต มา วิคัจฉันตุ
3.สัพเพ ภูตา ลัทธะสัมปัตติโต มา วิคัจฉันตุ
4.สัพเพ ปุคคะลา ลัทธะสัมปัตติโต มา วิคัจฉันตุ
5.สัพเพ อัตตะภาวะปะริยาปันนา ลัทธะสัมปัตติโต มา วิคัจฉันตุ
6.สัพพา อิตถิโย ลัทธะสัมปัตติโต มา วิคัจฉันตุ
7.สัพเพ ปุริสา ลัทธะสัมปัตติโต มา วิคัจฉันตุ
8.สัพเพ อะริยา ลัทธะสัมปัตติโต มา วิคัจฉันตุ
9.สัพเพ อะนะริยา ลัทธะสัมปัตติโต มา วิคัจฉันตุ
10.สัพเพ เทวา ลัทธะสัมปัตติโต มา วิคัจฉันตุ
11.สัพเพ มนุสสา ลัทธะสัมปัตติโต มา วิคัจฉันตุ
12.สัพเพ วินิปาติกา ลัทธะสัมปัตติโต มา วิคัจฉันตุ

(4) คำสวดแผ่อุเบกขา (ย่อ)

1.สัพเพ สัตตา กัมมัสะกา กัมมะทายาทา กัมมะโยนี กัมมะพันธู
กัมมะปะฏิสะระณา ยัง กัมมัง กะริสสันติ กัลยาณัง วา
ปาปะกัง วา ตัสสะ ทายาทา ภะวิสสันติ


2.สัพเพ ปาณา กัมมัสะกา กัมมะทายาทา กัมมะโยนี กัมมะพันธู
กัมมะปะฏิสะระณา ยัง กัมมัง กะริสสันติ กัลยาณัง วา
ปาปะกัง วา ตัสสะ ทายาทา ภะวิสสันติ
3.สัพเพ ภูตา กัมมัสะกา กัมมะทายาทา กัมมะโยนี กัมมะพันธู
กัมมะปะฏิสะระณา ยัง กัมมัง กะริสสันติ กัลยาณัง วา
ปาปะกัง วา ตัสสะ ทายาทา ภะวิสสันติ
4.สัพเพ ปุคคะลา กัมมัสะกา กัมมะทายาทา กัมมะโยนี กัมมะพันธู
กัมมะปะฏิสะระณา ยัง กัมมัง กะริสสันติ กัลยาณัง วา
ปาปะกัง วา ตัสสะ ทายาทา ภะวิสสันติ
5.สัพเพ อัตตะภาวะปะริยาปันนา กัมมัสะกา กัมมะทายาทา กัมมะโยนี กัมมะพันธู
กัมมะปะฏิสะระณา ยัง กัมมัง กะริสสันติ กัลยาณัง วา
ปาปะกัง วา ตัสสะ ทายาทา ภะวิสสันติ
6.สัพพา อิตถิโย กัมมัสะกา กัมมะทายาทา กัมมะโยนี กัมมะพันธู
กัมมะปะฏิสะระณา ยัง กัมมัง กะริสสันติ กัลยาณัง วา
ปาปะกัง วา ตัสสะ ทายาทา ภะวิสสันติ
7.สัพเพ ปุริสา กัมมัสะกา กัมมะทายาทา กัมมะโยนี กัมมะพันธู
กัมมะปะฏิสะระณา ยัง กัมมัง กะริสสันติ กัลยาณัง วา
ปาปะกัง วา ตัสสะ ทายาทา ภะวิสสันติ
8.สัพเพ อะริยา กัมมัสะกา กัมมะทายาทา กัมมะโยนี กัมมะพันธู
กัมมะปะฏิสะระณา ยัง กัมมัง กะริสสันติ กัลยาณัง วา
ปาปะกัง วา ตัสสะ ทายาทา ภะวิสสันติ
9.สัพเพ อะนะริยา กัมมัสะกา กัมมะทายาทา กัมมะโยนี กัมมะพันธู
กัมมะปะฏิสะระณา ยัง กัมมัง กะริสสันติ กัลยาณัง วา
ปาปะกัง วา ตัสสะ ทายาทา ภะวิสสันติ
10.สัพเพ เทวา กัมมัสะกา กัมมะทายาทา กัมมะโยนี กัมมะพันธู
กัมมะปะฏิสะระณา ยัง กัมมัง กะริสสันติ กัลยาณัง วา
ปาปะกัง วา ตัสสะ ทายาทา ภะวิสสันติ
11.สัพเพ มนุสสา กัมมัสะกา กัมมะทายาทา กัมมะโยนี กัมมะพันธู
กัมมะปะฏิสะระณา ยัง กัมมัง กะริสสันติ กัลยาณัง วา
ปาปะกัง วา ตัสสะ ทายาทา ภะวิสสันติ
12.สัพเพ วินิปาติกา กัมมัสะกา กัมมะทายาทา กัมมะโยนี กัมมะพันธู
กัมมะปะฏิสะระณา ยัง กัมมัง กะริสสันติ กัลยาณัง วา
ปาปะกัง วา ตัสสะ ทายาทา ภะวิสสันติ

สัพเพ สัตตา สัตว์ทั้งหลายที่เป็นเพื่อนทุกข์ เกิดแก่เจ็บตายด้วยกันทั้งหมดทั้งสิ้น
อะเวรา โหนตุ จงเป็นสุข เป็นสุขเถิด อย่าได้มีเวรแก่กันและกันเลย
อัพยาปัชฌา โหนตุ จงเป็นสุข เป็นสุขเถิด อย่าได้มีความทุกข์กายทุกข์ใจเลย
สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ จงมีความสุขกายสุขใจ รักษาตนให้พ้นจากทุกข์ภัยทั้งสิ้นเถิด
ท่านทั้งหลายที่ประสพทุกข์ ขอให้พ้นจากทุกข์
ท่านทั้งหลายที่ได้สุข ขอให้ได้สุขยิ่งๆขึ้นเทอญ.

บทแผ่ส่วนกุศล

อิทัง เม มาตาปิตูนัง โหตุ สุขิตา โหนตุ มาตา ปิตะโร
ขอส่วนบุญนี้ จงสำเร็จแก่มารดาบิดาของข้าพเจ้า ขอให้มารดาบิดาของข้าพเจ้าจงมีความสุข
อิทัง เม ญาตินัง โหตุ สุขิตา โหนตุ ญาตะโย
ขอส่วนบุญนี้ จงสำเร็จแก่ญาติทั้งหลายของข้าพเจ้า ขอให้ญาติทั้งหลายของข้าพเจ้าจงมีความสุข
อิทัง เม คุรู จริยานัง โหตุ สุขิตา โหนตุ คุรู จริยา
ขอส่วนบุญนี้ จงสำเร็จแก่ครูบาอาจารย์ของข้าพเจ้า ขอให้ครูบาอาจารย์ของข้าพเจ้าจงมีความสุข
อิทัง สัพพะ เทวะตานัง โหตุ สุขิตา โหนตุ สัพเพ เทวา
ขอส่วนบุญนี้ จงสำเร็จแก่เทวดาทั้งหลาย ขอให้เทวดาทั้งหลาย จงมีความสุข
อิทัง สัพพะ เปตานัง โหตุ สุขิตา โหนตุ สัพเพ เปตา
ขอส่วนบุญนี้ จงสำเร็จแก่เปรตทั้งหลาย ขอให้เปรตทั้งหลาย จงมีความสุข
อิทัง สัพพะ เวรีนัง โหตุ สุขิตา โหนตุ สัพเพ เวรี
ขอส่วนบุญนี้ จงสำเร็จแก่เจ้ากรรมนายเวรทั้งหลาย ขอให้เจ้ากรรมนายเวรทั้งหลาย จงมีความสุข
อิทัง สัพพะ สัตตานัง โหตุ สุขิตา โหนตุ สัพเพ สัตตา
ขอส่วนบุญนี้ จงสำเร็จแก่สัตว์ทั้งหลายทั้งปวง ขอให้สัตว์ทั้งหลายทั้งปวง จงมีความสุข ทั่วหน้า
กันเทอญ.

คำอธิษฐานจิต

นะโมตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมา สัมพุทธัสสะ (3 จบ)
ขอนอบน้อมแด่องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า
ขอนอบน้อมแด่พระธรรมคำสอนขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า
ขอนอบน้อมแด่พระสงฆ์ สาวกขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า
อันทาน - ศีล - ภาวนา ซึ่งทำให้เกิดปัญญาแก่ข้าพเจ้า ได้มาด้วยความบริสุทธิ์
ขอถวายพระพุทธ ถวายพระธรรม ถวายพระสงฆ์ จิตใจจำนง มุ่งตรงพระโสดาบัน
ขอให้พบเมืองแก้ว ให้คลาดแคล้วจากคนพาล ให้ได้พบศาสนาพระศรีอาริย์
ในอนาคตกาลเบื้องหน้าโน้นเทอญ. สาธุ สาธุ สาธุ.

* ห้ามทำการคัดลอก เลียนแบบ หรือทำซ้ำใดๆหนังสือเล่มนี้ โดยเด็ดขาด *

จัดพิมพ์และเรียบเรียง … โดย ... น.ส.เกสสุดา ศิริวงศ์

“ ด้วยบุญกรรม ข้าพเจ้าได้ทำ ด้วยกายวาจา อีกทั้งน้ำใจ เลื่อมใสศรัทธา อันนี้จงมาอวยผลบันดาล ให้เหล่าครูบา อาจารย์แห่งข้า ผู้มีอุปการ มารดาบิดา ญาติกาวงศ์วาน จงสุขสำราญทั่วหน้ากันไป สุริยันจันทรา องค์พระราชา ผู้นำภพไตร ผู้มีพระคุณ ทุกรุ่นทุกวัย ขอจงมาได้
รับเอาส่วนบุญ อินทร์ พรหม ยม ยักษ์ เสื้อเมืองเรืองศักดิ์ ทรงเมืองการุญ เพื่อนฝูงทั่วไป
เคยได้อุดหนุน เทพผู้ทรงคุณ สี่โลกบาล มนุษย์และสัตว์ คู่แค้นเคืองขัด จองเวรล้างผลาญ
ตีด่าข้าไว้ ด้วยใจเป็นพาล จงเกษมศานติ์ เลิกจองเวรภัย เชิญรับกุศล ที่ข้าแผ่ผล อุทิศส่งให้ ขอจงสำราญ เบิกบานกายใจ จนกว่าจะได้ ลุถึงนิพพาน ด้วยบุญกรรม พร้อมทั้งถ้อยคำ
อุทิศอธิษฐาน ดั่งว่ามานี้ เป็นที่ชื่นบาน ขอจงบันดาล ฉับพลันทันใด ให้ข้าบรรลุ ธรรมจักษุโพธิภิสมัย ตัดอุปาทาน ตัณหาขาดไป สันดานผ่องใส จากธรรมเลวทราม สติปัญญา
ความเพียรแก่กล้า ความคิดดีงาม ทุกชาติทุกภพ ประสบแต่ความ สุขอย่างสวยงาม
ตราบเท่านิพพาน มาราธิราช อย่าได้โอกาส ตามผจญผลาญ มุ่งทำสิ่งใด ขอให้การงาน
สำเร็จสำราญ ตลอดปลอดภัย เดชะพระพุทธ พระธรรมบริสุทธิ์ พระสงฆ์เป็นใหญ่
จงเป็นที่พึ่ง กำจัดเวรภัย อันตรายหายไป นิราศปราศเทอญ.”
 
ดูข้อมูลส่วนตัวส่งข้อความส่วนตัว
แสดงเฉพาะข้อความที่ตอบในระยะเวลา:      
สร้างหัวข้อใหม่ตอบ
 


 ไปที่:   


อ่านหัวข้อถัดไป
อ่านหัวข้อก่อนหน้า
คุณไม่สามารถสร้างหัวข้อใหม่
คุณไม่สามารถพิมพ์ตอบ
คุณไม่สามารถแก้ไขข้อความของคุณ
คุณไม่สามารถลบข้อความของคุณ
คุณไม่สามารถลงคะแนน
คุณ สามารถ แนบไฟล์ในกระดานข่าวนี้
คุณ สามารถ ดาวน์โหลดไฟล์ในกระดานข่าวนี้


 
 
เลือกบอร์ด  • กระดานสนทนา  • สมาธิ  • สติปัฏฐาน  • กฎแห่งกรรม  • นิทานธรรมะ  • หนังสือธรรมะ  • บทความ  • กวีธรรม  • สถานที่ปฏิบัติธรรม  • ข่าวกิจกรรม
นานาสาระ  • วิทยุธรรมะ  • เสียงธรรม  • เสียงสวดมนต์  • ประวัติพระพุทธเจ้า  • ประวัติมหาสาวก  • ประวัติเอตทัคคะ  • ประวัติพระสงฆ์  • ธรรมทาน  • แจ้งปัญหา

จัดทำโดย  กลุ่มเผยแผ่หลักคำสอนทางพระพุทธศาสนา ธรรมจักรดอทเน็ต
เพื่อส่งเสริมคุณธรรม และจริยธรรมในสังคม
เมื่อวันที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2546
ติดต่อ webmaster@dhammajak.net
Powered by phpBB © 2001, 2002 phpBB Group :: ปรับเวลา GMT + 7 ชั่วโมง