วันเวลาปัจจุบัน 20 ก.ค. 2025, 06:23  



เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


กฎการใช้บอร์ด


อ่านนิทาน จากบอร์ดเก่า
http://www.dhammajak.net/board/viewforum.php?f=5



กลับไปยังกระทู้  [ 2252 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1 ... 139, 140, 141, 142, 143, 144, 145 ... 151  ต่อไป  Bookmark and Share
เจ้าของ ข้อความ
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 06 ม.ค. 2019, 21:09 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
นาน ถึงวันนี้ก็เจ็ดแปดวันแล้ว ท่านจงไปฟังข่าวของนกกระทานั้นก่อน
แล้วจงมา เสือโคร่งรับคำว่า ดีแล้ว ไปถึงที่นั้นในเวลาที่เหี้ยหนีไป
แล้ว เห็นบุรุษชั่วนั้นหลับอยู่ ขนของนกกระทาผู้เป็นบัณฑิตยังติดอยู่
ในระหว่างชฎาของบุรุษนั้น กระดูกแม่โคและลูกโคก็ยังปรากฏอยู่

พระยาเสือโคร่งเห็นเหตุการณ์นั้นทั้งหมด ไม่เห็นนกกระทาบัณฑิตใน
กรงทอง คิดว่า บุรุษชั่วนี้คงฆ่าสัตว์เหล่านั้น จึงได้ถีบบุรุษชั่วนั้นให้
ลุกขึ้น ดาบสชั่วเห็นดังนั้นแล้ว มีความสะดุ้งกลัวเป็นอย่างยิ่ง ลำดับนั้น
เสือโคร่งถามดาบสชั่วนั้นว่า ท่านฆ่าสัตว์เหล่านี้กินหรือ ? เมื่อได้รับ

คำตอบว่า เราไม่ได้ฆ่า เราไม่ได้เคี้ยวกิน ดังนี้ จึงกล่าวว่า แน่ะ
คนลามก เมื่อท่านไม่ฆ่า คนอื่นใครเล่าจักฆ่า จงบอกมาเถิด เมื่อไม่
บอก ท่านต้องตาย ดาบสนั้นกลัวมรณภัย จึงกล่าวว่า ถูกแล้วนาย
เราฆ่าลูกเหี้ย ลูกโคและแม่โคกินแล้ว แต่ไม่ได้ฆ่านกกระทา ถึงดาบส

นั้นจะพูดอยู่มากมาย เสือโคร่งก็ไม่เชื่อ จึงถามว่า ท่านมาแต่ไหน ?
เมื่อดาบสนั้นบอกกรรมที่ตนทำทั้งหมดว่า ข้าแต่นาย ฉันนำสินค้าของ
พวกพ่อค้าชาวกลิงครัฐ ไปทำงานอย่างนี้บ้าง อย่างนั้นบ้าง เพื่อเลี้ยง

ชีพ บัดนี้มาถึงที่นี้ ดังนี้ จึงกล่าวว่า คนลามก เมื่อท่านไม่ฆ่านก-
กระทา คนอื่นใครเล่าจักฆ่า มาเถิด เราจักนำท่านไปสู่สำนักของ
ราชสีห์ผู้เป็นพระยาเนื้อ แล้วให้ดาบสนั้นเดินหน้า เดินไปพลางขู่ไป
พลาง.


* สุขเพียงชั่วคราว แต่ต้องระทมยาวกับความทุกข์อันเกิดจากโรคที่ตามมา
* ความรู้มากมี เพราะมีมากมายไปด้วยเมตตาธรรม
* เมื่อรู้ว่าลูกจะมีภัย พ่อแม่ย่อมจะเป็นห่วง
เมื่อเข้าใจตามความเป็นจริงย่อมละทิ้งความห่วงนั้นลงได้
* ตอนมีชีวิตอยู่ทำดี เมื่อตายคนก็เสียดายและคิดถึง
ตอนมีชีิวีตอยู่ทำตัวเลว ชั่ว เมื่อตายคนก็มิได้เสียดายและเสียใจเลย
* ขยะคนไม่ชอบฉันใด บุคคลที่เปรียบเหมือนขยะสังคมนั้น คนก็ย่อมไม่รักฉันนั้น
* ขยะนั้นเกิดที่ใจ ควรขับไล่ออกไปด้วยทาน ศีล ภาวนา
* ดื่มอย่างมีสติ แต่ติดตรงที่ว่าไม่เคยฝึกสติเลยนะสิ
:b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 07 ม.ค. 2019, 06:58 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
พระยาราชสีห์เห็นพระยาเสือโคร่งนำดาบสนั้นมา เมื่อจะถาม
พระยาเสือโคร่ง ได้กล่าวคาถาที่ ๔ ว่า:-
ดูก่อนเสือโคร่ง ชื่อว่า สุพาหุ เพราะ
เหตุไรหนอ ท่านจึงรีบด่วนกลับมาพร้อมกับ
มาณพ กิจที่เป็นประโยชน์ของท่านมีอยู่ในที่นี้
หรือ เราขอถามถึงกิจอันเป็นประโยชน์นั้น ?
ขอท่านจงบอกแก่เรา.

ในคาถานั้น พระยาราชสีห์ทักทายพระยาเสือโคร่ง โดยชื่อว่า
ดูก่อนเสือโคร่ง ชื่อว่า สุพาหุ เพราะกายส่วนข้างหน้าของพระยาเสือ-
โคร่งเป็นที่พอใจ ฉะนั้น พระยาราชสีห์จึงกล่าวอย่างนั้น กะพระยาเสือ-
โคร่งนั้น. บทว่า กึ กิจฺจมตฺถํ อิธมตฺถิ ตุยฺหํ ความว่า กรณียกิจ
ที่ประกอบด้วยประโยชน์มีอยู่กับมาณพนี้ ในที่นี้หรือ ? ปาฐะว่า ตุยฺหํ
กึ กิจฺจมตฺถํ เนื้อความก็อย่างนี้เหมือนกัน.

พระยาเสือโคร่งได้ฟังดังนั้น ได้กล่าวคาถาที่ ๕ ว่า:-
นกกระทาใด ผู้มีรูปงาม ซึ่งเป็นสหาย
ของท่าน เราสงสัยว่า นกกระทานั้นจะถูกฆ่า
เสียแล้วในวันนี้ เราได้ฟังเหตุทั้งหลายที่ต่อ
เนื่องด้วยการกระทำของบุรุษนี้ จึงมิได้สำคัญ
ว่า นกกระทาจะมีความสุขในวันนี้.

นกกระทา ชื่อว่า ททฺทโร ในคาถานั้น. บทว่า ตสฺส วธํ
ความว่า เราสงสัยว่า นกกระทาผู้เป็นบัณฑิตนั้นจะถูกบุรุษนี้ฆ่า
ในวันนี้. บทว่า นาหํ สุขึ ความว่า เรามิได้สำคัญว่า นกกระทา
จะมีความสุข คือไม่มีโรค ในวันนี้.
พระยาราชสีห์เมื่อจะถามพระยาเสือโคร่ง ได้กล่าวคาถาที่ ๖
ว่า:-


* สุขเพียงชั่วคราว แต่ต้องระทมยาวกับความทุกข์อันเกิดจากโรคที่ตามมา
* ความรู้มากมี เพราะมีมากมายไปด้วยเมตตาธรรม
* เมื่อรู้ว่าลูกจะมีภัย พ่อแม่ย่อมจะเป็นห่วง
เมื่อเข้าใจตามความเป็นจริงย่อมละทิ้งความห่วงนั้นลงได้
* ตอนมีชีวิตอยู่ทำดี เมื่อตายคนก็เสียดายและคิดถึง
ตอนมีชีิวีตอยู่ทำตัวเลว ชั่ว เมื่อตายคนก็มิได้เสียดายและเสียใจเลย
* ขยะคนไม่ชอบฉันใด บุคคลที่เปรียบเหมือนขยะสังคมนั้น คนก็ย่อมไม่รักฉันนั้น
* ขยะนั้นเกิดที่ใจ ควรขับไล่ออกไปด้วยทาน ศีล ภาวนา
* ดื่มอย่างมีสติ แต่ติดตรงที่ว่าไม่เคยฝึกสติเลยนะสิ
:b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 07 ม.ค. 2019, 06:59 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
ในการดำรงชีพของบุรุษนี้ ท่านได้ฟัง
เหตุการณ์อะไรที่ต่อเนื่องด้วยการกระทำของ
เขาหรือท่านได้ฟังคำปฏิญาณอะไรของบุรุษนี้ ?
จึงสงสัยว่า นกกระทาถูกมาณพนี้ฆ่าเสียแล้ว.

บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า อสฺสุ เท่ากับ อสฺโสสิ แปลว่า
ได้ฟังแล้ว. บทว่า วุตฺติสโมธานตาย คือในความประพฤติเลี้ยงชีพ
อธิบายว่า บุรุษนี้ได้บอกการงานอะไรของตนแก่ท่าน. บทว่า มาณเวน
ความว่า ท่านได้ฟังคำปฏิญาณอะไร จึงสงสัยว่า นกกระทาถูกมาณพนี้
ฆ่าเสียแล้ว

ลำดับนั้น พระยาเสือโคร่ง เมื่อจะกล่าวแก่พระยาราชสีห์ ได้
กล่าวคาถาที่เหลือว่า:-
การค้าขายอันเป็นของชาวกลิงครัฐ บุรุษ
นี้ก็ได้สั่งสมประพฤติมาแล้ว แม้หนทางที่มี
หลักตอควรรังเกียจ บุรุษนี้ก็ได้ประพฤติเที่ยว
ไปด้วยการรับจ้าง การฟ้อนรำขับร้องกับคน
ฟ้อนทั้งหลาย บุรุษนี้ก็ได้ประพฤติมาถึงการรบ
กันด้วยท่อนไม้ในท่ามกลางมหรสพ บุรุษนี้
ก็ได้เคยประพฤติมา.

นกทั้งหลาย บุรุษนี้ก็ได้ดักมาแล้ว การ
ตวงข้าวเปลือกด้วยเครื่องตวง บุรุษนี้ก็ได้ตวง
มาแล้ว การเล่นสกา บุรุษนี้ก็ได้ตั้งให้นักเลง
สกาเล่นกัน ความสำรวมระวัง บุรุษนี้ก็ก้าว
ล่วงเสีย เลือดที่ไหลออกมาตั้งครึ่งคืน บุรุษนี้
ก็คัดให้หยุดได้ มือทั้งสองของบุรุษนี้มีความ
ร้อนในเวลารับก้อนข้าว.


* สุขเพียงชั่วคราว แต่ต้องระทมยาวกับความทุกข์อันเกิดจากโรคที่ตามมา
* ความรู้มากมี เพราะมีมากมายไปด้วยเมตตาธรรม
* เมื่อรู้ว่าลูกจะมีภัย พ่อแม่ย่อมจะเป็นห่วง
เมื่อเข้าใจตามความเป็นจริงย่อมละทิ้งความห่วงนั้นลงได้
* ตอนมีชีวิตอยู่ทำดี เมื่อตายคนก็เสียดายและคิดถึง
ตอนมีชีิวีตอยู่ทำตัวเลว ชั่ว เมื่อตายคนก็มิได้เสียดายและเสียใจเลย
* ขยะคนไม่ชอบฉันใด บุคคลที่เปรียบเหมือนขยะสังคมนั้น คนก็ย่อมไม่รักฉันนั้น
* ขยะนั้นเกิดที่ใจ ควรขับไล่ออกไปด้วยทาน ศีล ภาวนา
* ดื่มอย่างมีสติ แต่ติดตรงที่ว่าไม่เคยฝึกสติเลยนะสิ
:b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 07 ม.ค. 2019, 07:02 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
เราได้ฟังเหตุทั้งหลาย อันเกี่ยวเนื่องด้วย
การกระทำของบุรุษนี้ ในการดำรงชีพของบุรุษ
นี้ ดังนี้ กลุ่มขนนกกระทายังปรากฏอยู่ที่ชฎา
ของบุรุษนี้ วัวทั้งหลาย บุรุษนี้ก็ได้ฆ่ากินแล้ว
ไฉนจะไม่ฆ่านกกระทากินเล่า.

บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า จิณฺณา กลิงฺคา ความว่า ได้ยินว่า
แม้การค้าขายในกลิงครัฐ เขาผู้ขนสินค้าของพวกพ่อค้าไปอยู่ ได้สั่งสม
ประพฤติมาแล้ว คือกระทำมาแล้ว. บทว่า เวตฺตาจโร คือพึงเที่ยว
ไปด้วยการรับจ้าง. บทว่า สงฺกุปโถปิ จิณฺโณ คือแม้หนทางที่มี
หลักตอ เขาก็ได้ใช้มาแล้ว. บทว่า นเฏหิ คือร่วมกับคนฟ้อนทั้งหลาย

เพื่อเลี้ยงชีพ. บทว่า จิณฺณํ สห วากุเรหิ ความว่า การขับร้องกับ
นักขับร้องทั้งหลาย อันเขาผู้นำพวกนักขับร้องไปอยู่ ได้ประพฤติมาแล้ว
บทว่า ทณฺเฑน ยุทฺธํ ความว่า ได้ยินว่า ถึงการรบกันด้วยท่อนไม้
เขาก็เคยรบมาแล้ว. บทว่า พนฺธา กุลิกา ความว่า ได้ยินว่า แม้นก

ทั้งหลาย เขาก็เคยดักมาแล้ว. บทว่า มิตมาฬฺหเกน ความว่า นัยว่า
แม้การตวงข้าวเปลือก เขาก็เคยกระทำมาแล้ว. บทว่า อกฺขา €ิตา
ความว่า แม้การเล่นสกา เขาก็ได้ตั้งให้นักเลงสกาเล่นกัน. บทว่า

สฺโม อพฺภตีโต ความว่า การสำรวมระวังในศีล อันเขาผู้บวช
อาศัยเลี้ยงชีพ ก้าวล่วงเสียแล้ว. บทว่า อปฺปหิตํ ได้แก่ คัดไว้แล้ว
คือกระทำไม่ให้ไหลออก.


* สุขเพียงชั่วคราว แต่ต้องระทมยาวกับความทุกข์อันเกิดจากโรคที่ตามมา
* ความรู้มากมี เพราะมีมากมายไปด้วยเมตตาธรรม
* เมื่อรู้ว่าลูกจะมีภัย พ่อแม่ย่อมจะเป็นห่วง
เมื่อเข้าใจตามความเป็นจริงย่อมละทิ้งความห่วงนั้นลงได้
* ตอนมีชีวิตอยู่ทำดี เมื่อตายคนก็เสียดายและคิดถึง
ตอนมีชีิวีตอยู่ทำตัวเลว ชั่ว เมื่อตายคนก็มิได้เสียดายและเสียใจเลย
* ขยะคนไม่ชอบฉันใด บุคคลที่เปรียบเหมือนขยะสังคมนั้น คนก็ย่อมไม่รักฉันนั้น
* ขยะนั้นเกิดที่ใจ ควรขับไล่ออกไปด้วยทาน ศีล ภาวนา
* ดื่มอย่างมีสติ แต่ติดตรงที่ว่าไม่เคยฝึกสติเลยนะสิ
:b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 07 ม.ค. 2019, 07:10 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
โลหิต ชื่อว่า ปุปผกะ.
ข้อนี้มีอธิบายว่า ได้ยินว่า บุรุษนี้ ตัดมือและเท้าของพวกที่มี
ความผิดต่อพระราชา อาศัยเลี้ยงชีวิต แล้วนำคนเหล่านั้นมาให้นอน
อยู่ที่ศาลา พอเวลาเที่ยงคืนจึงไปที่ศาลานั้น แล้วใส่ยาชื่อกัณฑกธูมะ
คัดเลือดที่ไหลออกให้หยุดได้. บทว่า หตฺถา ทฑฺฒา ความว่า ได้ยินว่า

ในเวลาที่เขาบวชเป็นอาชีวก แม้มือทั้งสองของเขาก็ร้อน เพราะรับ
ก้อนข้าวที่ร้อน. บทว่า ตานิสฺส กมฺมายตนานิ ได้แก่ เหตุเหล่านั้น
ที่ต่อเนื่องด้วยการกระทำของเขา. บทว่า อสฺสุ เท่ากับ อสฺโสสึ
แปลว่า ได้ฟังแล้ว. บทว่า ยถา อยํ ความว่า แม้กลุ่มขนนกกระทา

นั้นยังปรากฏอยู่ในระหว่างชฎาของบุรุษนั้น ด้วยเหตุนี้ เราจึงทราบ
ข้อนั้นว่า บุรุษนี้แหละฆ่านกกระทานั้น. บทว่า คาโว หตา กึ ปน
ททฺทรสฺส ความว่า แม้โคทั้งหลาย บุรุษนี้ก็ได้ฆ่าแล้ว การที่นกกระทา
จะไม่ถูกบุรุษนี้ฆ่าจะมีได้อย่างไร เพราะฉะนั้น บุรุษนี้ต้องฆ่านกกระทา
แน่.

ราชสีห์ถามบุรุษนั้นว่า ท่านฆ่านกกระทาบัณฑิตหรือ ? บุรุษ
ตอบว่า ถูกแล้วท่าน ราชสีห์ได้ฟังดาบสนั้นรับตามจริง ก็อยากจะ
ปล่อยดาบสนั้นไป แต่พระยาเสือโคร่งกล่าวว่า คนเลวเช่นนี้ควรให้ตาย
เสีย แล้วก็เข้ากัดดาบสนั้นด้วยเขี้ยวให้ตาย แล้วขุดหลุมฝังไว้ในที่นั้น
เอง มาณพทั้งหลายมาไม่เห็นนกกระทาบัณฑิต ก็พากันร้องไห้คร่ำ
ครวญกลับไป.

พระศาสดา ครั้นทรงนำพระธรรมเทศนานี้มาแล้ว ตรัสว่า
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย แม้ในกาลก่อนพระเทวทัตก็พยายามฆ่าเราอย่างนี้
ดังนี้ แล้วทรงประชุมชาดกว่า ชฎิล คือดาบสลามกในกาลนั้น ได้มา
เป็นพระเทวทัตในบัดนี้ นางเหี้ยได้มาเป็นนางกีสาโคตมี เสือโคร่ง
ได้มาเป็นพระโมคคัลลานะ ราชสีห์ได้มาเป็นพระสารีบุตร อาจารย์
ทิศาปาโมกข์ได้มาเป็นพระกัสสปะ นกกระทาบัณฑิตได้มาเป็นเราตถาคต
ฉะนี้แล.
จบ อรรถกถาติตติรชาดกที่ ๑๒

:b8: :b8: :b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 07 ม.ค. 2019, 07:10 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
อรรถกถาชาดก
ทสกนิบาต
อรรถกถาจตุทวารชาดกที่ ๑


พระศาสดาเมื่อเสด็จประทับอยู่ ณ พระวิหารเชตวัน ทรงปรารภ
ภิกษุว่ายากรูปหนึ่ง จึงตรัสเรื่องนี้มีคำเริ่มต้นว่า จตุทฺวารมิทํ นครํ
ดังนี้. ก็แหละ เรื่องปัจจุบัน บัณฑิตพึงให้พิสดารในชาดกเรื่องที่ ๑
ในนวกนิบาต.

สำหรับในที่นี้มีความว่า พระศาสดาตรัสถามภิกษุรูปนั้นว่า
ดูก่อนภิกษุ ได้ยินว่าเธอเป็นผู้ว่ายากจริงหรือ ? เมื่อภิกษุนั้นกราบทูลว่า
จริงพระเจ้าข้า จึงตรัสว่า ดูก่อนภิกษุ แม้ในกาลก่อนเธอก็ไม่เชื่อฟัง
คำของบัณฑิตไปยินดีจักรกรด เพราะที่เป็นผู้ว่ายากดังนี้ แล้วทรงนำเอา
เรื่องในอดีตมาสาธก ดังต่อไปนี้:-

ในอดีตกาล ครั้งศาสนาพระกัสสปทศพล ในเมืองพาราณสี
เศรษฐีมีทรัพย์ ๘๐ โกฏิมีบุตรคน ๑ ชื่อมิตตวินทุกะ มารดาบิดาของ
มิตตวินทุกะ เป็นพระโสดาบัน. แต่มิตตวินทุกะเป็นคนทุศีล ไม่มีศรัทธา.

ต่อมาเมื่อบิดาตายแล้วมารดาตรวจตราดูแลทรัพย์สมบัติ วันหนึ่ง
กล่าวกะเขาว่า ลูกรัก ความเป็นมนุษย์เป็นของที่ได้ยาก เจ้าก็ได้แล้ว
เจ้าจงให้ทานรักษาศีล กระทำอุโบสถกรรม ฟังธรรมเถิด มิตตวินทุกะ
กล่าวว่า แม่ ทานเป็นต้นไม่เป็นประโยชน์แก่ฉัน แม่อย่าได้กล่าวอะไรๆ
กะฉัน ฉันจะไปตามยถากรรม ถึงแม้เขาจะกล่าวอยู่อย่างนี้ วันหนึ่ง
เป็นวันบูรณมีอุโบสถ มารดาได้กล่าวกะเขาว่า ลูกรักวันนี้เป็นวัน


* สุขเพียงชั่วคราว แต่ต้องระทมยาวกับความทุกข์อันเกิดจากโรคที่ตามมา
* ความรู้มากมี เพราะมีมากมายไปด้วยเมตตาธรรม
* เมื่อรู้ว่าลูกจะมีภัย พ่อแม่ย่อมจะเป็นห่วง
เมื่อเข้าใจตามความเป็นจริงย่อมละทิ้งความห่วงนั้นลงได้
* ตอนมีชีวิตอยู่ทำดี เมื่อตายคนก็เสียดายและคิดถึง
ตอนมีชีิวีตอยู่ทำตัวเลว ชั่ว เมื่อตายคนก็มิได้เสียดายและเสียใจเลย
* ขยะคนไม่ชอบฉันใด บุคคลที่เปรียบเหมือนขยะสังคมนั้น คนก็ย่อมไม่รักฉันนั้น
* ขยะนั้นเกิดที่ใจ ควรขับไล่ออกไปด้วยทาน ศีล ภาวนา
* ดื่มอย่างมีสติ แต่ติดตรงที่ว่าไม่เคยฝึกสติเลยนะสิ
:b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 07 ม.ค. 2019, 07:11 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
อภิลักขิตสมัยมหาอุโบสถ วันนี้เจ้าจงสมาทานอุโบสถ ไปวิหารฟังธรรม
อยู่ตลอดคืนแล้วจงมา แม่จะให้ทรัพย์แก่เจ้าพันหนึ่ง เขารับคำว่า ดีแล้ว
สมาทานอุโบสถเพราะอยากได้ทรัพย์ พอบริโภคอาหารเช้าแล้วไปวิหาร
อยู่ที่วิหารตลอดวัน แล้วนอนหลับอยู่ ณ ที่แห่งหนึ่งตลอดคืน โดยอาการ
ที่บทแห่งธรรมแม้บท ๑ ก็ไม่กระทบหู วันรุ่งขึ้นเขาล้างหน้าไปนั่งอยู่
ที่เรือนแต่เช้าทีเดียว.

ฝ่ายมารดาของเขาคิดว่า วันนี้ลูกของเราฟังธรรมแล้ว จักพา
พระเถระผู้ธรรมกถึกมาแต่เช้าทีเดียว จึงตกแต่งข้าวยาคูเป็นต้น แล้ว
ปูลาดอาสนะไว้คอยท่าอยู่ ครั้นเห็นเขามาคนเดียว จึงถามว่า ลูกรัก
เจ้าไม่ได้นำพระธรรมกถึกมาหรือ ? เมื่อเขากล่าวว่า ฉันไม่ต้องการ

พระธรรมกถึก จึงกล่าวว่า ถ้าเช่นนั้นลูกจงดื่มข้าวยาคูเถิด เขากล่าวว่า
แม่รับว่าจะให้ทรัพย์พันหนึ่งแก่ฉัน แม่จงให้ทรัพย์แก่ฉันก่อน ฉันจัก
ดื่มภายหลัง มารดากล่าวว่า ดื่มเถิดลูกรัก แล้วแม่จักให้ทีหลัง
เขากล่าวว่า ฉันต้องได้รับทรัพย์ก่อนจึงจะดื่ม ลำดับนั้น มารดาได้

เอาห่อทรัพย์พันหนึ่งวางไว้ต่อหน้าเขา เขาดื่มข้าวยาคูแล้วถือเอาห่อ
ทรัพย์พันหนึ่งไปทำการค้าขาย ในไม่ช้านักก็เกิดทรัพย์ขึ้นถึงแสน
สองหมื่น. ลำดับนั้น เขาได้มีความคิดดังนี้ว่า เราจักต่อเรือทำการ
ค้าขาย ครั้นเขาต่อเรือแล้วได้กล่าวกะมารดาว่า แม่ ฉันจักทำการ

ค้าขายทางเรือ ครั้งนั้น มารดาได้ห้ามเขาว่า ลูกรัก เจ้าเป็นลูกคนเดียว
ของแม่ แม้ในเรือนนี้ก็มีทรัพย์อยู่มาก ทะเลมีโทษไม่น้อยเจ้าอย่าไป
เลย เขากล่าวว่า ฉันจักไปให้ได้ แม่ไม่มีอำนาจที่จะห้ามฉัน แม้เมื่อ
มารดากล่าวว่า ลูกรัก แม่ต้องห้ามเจ้า แล้วจับมือเอาไว้ ก็สลัดมือผลัก
มารดาให้ล้มลง แล้วข้ามไปลงเรือแล่นไปในทะเล.


* สุขเพียงชั่วคราว แต่ต้องระทมยาวกับความทุกข์อันเกิดจากโรคที่ตามมา
* ความรู้มากมี เพราะมีมากมายไปด้วยเมตตาธรรม
* เมื่อรู้ว่าลูกจะมีภัย พ่อแม่ย่อมจะเป็นห่วง
เมื่อเข้าใจตามความเป็นจริงย่อมละทิ้งความห่วงนั้นลงได้
* ตอนมีชีวิตอยู่ทำดี เมื่อตายคนก็เสียดายและคิดถึง
ตอนมีชีิวีตอยู่ทำตัวเลว ชั่ว เมื่อตายคนก็มิได้เสียดายและเสียใจเลย
* ขยะคนไม่ชอบฉันใด บุคคลที่เปรียบเหมือนขยะสังคมนั้น คนก็ย่อมไม่รักฉันนั้น
* ขยะนั้นเกิดที่ใจ ควรขับไล่ออกไปด้วยทาน ศีล ภาวนา
* ดื่มอย่างมีสติ แต่ติดตรงที่ว่าไม่เคยฝึกสติเลยนะสิ
:b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 07 ม.ค. 2019, 07:28 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
ครั้นถึงวันที่ ๗ เรือได้หยุดนิ่งอยู่บนหลังน้ำกลางทะเล เพราะ
มิตตวินทุกะเป็นเหตุ สลากกาลกัณณีที่แจกไปได้ตกในมือของมิตต-
วินทุกะคนเดียวถึงสามครั้ง ครั้งนั้น พวกที่ไปด้วยกันได้ผูกแพให้เขา
แล้วโยนเขาลงทะเล โดยที่คิดเห็นร่วมกันว่า คนเป็นจำนวนมากอย่ามา
พินาศเสีย เพราะอาศัยนายมิตตวินทุกะนี้คนเดียวเลย ทันใดนั้นเรือได้

แล่นไปในมหาสมุทรโดยเร็ว มิตตวินทุกะนอนไปในแพลอยไปถึงเกาะ
น้อยแห่งหนึ่ง บนเกาะน้อยนั้นเขาได้พบนางชนี คือนางเวมานิกเปรต
๔ นาง อยู่ในวิมานแก้วผลึก นางเปรตเหล่านั้นเสวยทุกข์ ๗ วัน
เสวยสุข ๗ วัน มิตตวินทุกะได้เสวยทิพยสมบัติอยู่กับนางเปรตเหล่านั้น

๗ วันในวาระสุข ครั้นถึงวาระที่จะเปลี่ยนไปทนทุกข์ นางทั้ง ๔ ได้
สั่งว่า นาย พวกฉันจักมาในวันที่ ๗ ท่านอย่ากระสันไปเลย จงอยู่ใน
ที่นี้จนกว่าพวกฉันจะมา ดังนี้แล้วพากันไป มิตตวินทุกะเป็นคนตกอยู่
ในอำนาจของตัณหา ลงนอนบนแพนั้นลอยไปตามหลังสมุทรอีก ถึง

เกาะน้อยอีกแห่งหนึ่ง ได้พบนางเปรต ๘ นาง ในวิมานเงินบนเกาะนั้น
ได้พบนางเปรต ๑๖ นาง ในวิมานแก้วมณีบนเกาะอีกแห่งหนึ่ง ได้พบ
นางเปรต ๓๒ นาง ในวิมานทองบนเกาะอีกแห่งหนึ่ง โดยอุบายนี้แหละ
ได้เสวยทิพยสมบัติอยู่กับนางเปรตเหล่านั้นทุกๆ เกาะ ดังกล่าวแล้ว

เมื่อถึงเวลาที่นางเปรตแม้เหล่านั้นไปทนทุกข์ ได้นอนบนหลังแพลอย
ไปตามห้วงสมุทรอีก ได้พบเมืองๆ หนึ่งมีกำแพงล้อมรอบ มีประตู
๔ ด้าน ได้ยินว่าที่นี่เป็นอุสสทนรกเป็นที่เสวยกรรมกรณ์ของเหล่าสัตว์
นรกเป็นจำนวนมาก แต่ได้ปรากฏแก่มิตตวินทุกะเหมือนเป็นเมืองที่

ประดับตกแต่งไว้ เขาคิดว่า เราจักเข้าไปเป็นพระราชาในเมืองนี้ แล้ว
เข้าไปได้เห็นสัตว์นรกตน ๑ ทูนจักรกรดหมุนเผาผลาญอยู่บนศีรษะ
ขณะนั้นจักรกรดบนศีรษะสัตว์นรกนั้น ได้ปรากฏแก่มิตตวินทุกะเป็น
เหมือนดอกบัว เครื่องจองจำ ๕ ประการที่อก ปรากฏเหมือนเป็นสังวาลย์
เครื่องประดับทรวง โลหิตที่ไหลจากศีรษะเหมือนเป็นจันทน์แดงที่
ชะโลมทา เสียงครวญครางเหมือนเป็นเสียงเพลงขับที่ไพเราะ มิตตวิน-


* สุขเพียงชั่วคราว แต่ต้องระทมยาวกับความทุกข์อันเกิดจากโรคที่ตามมา
* ความรู้มากมี เพราะมีมากมายไปด้วยเมตตาธรรม
* เมื่อรู้ว่าลูกจะมีภัย พ่อแม่ย่อมจะเป็นห่วง
เมื่อเข้าใจตามความเป็นจริงย่อมละทิ้งความห่วงนั้นลงได้
* ตอนมีชีวิตอยู่ทำดี เมื่อตายคนก็เสียดายและคิดถึง
ตอนมีชีิวีตอยู่ทำตัวเลว ชั่ว เมื่อตายคนก็มิได้เสียดายและเสียใจเลย
* ขยะคนไม่ชอบฉันใด บุคคลที่เปรียบเหมือนขยะสังคมนั้น คนก็ย่อมไม่รักฉันนั้น
* ขยะนั้นเกิดที่ใจ ควรขับไล่ออกไปด้วยทาน ศีล ภาวนา
* ดื่มอย่างมีสติ แต่ติดตรงที่ว่าไม่เคยฝึกสติเลยนะสิ
:b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 07 ม.ค. 2019, 07:29 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
ทุกะเข้าไปใกล้สัตว์นรกนั้น แล้วกล่าวขอว่า ข้าแต่บุรุษผู้เจริญ ท่าน
ได้ทัดทรงดอกบัวมานานแล้ว จงให้แก่ข้าพเจ้าเถิด สัตว์นรกกล่าวว่า
แน่ะสหาย นี้ไม่ใช่ดอกบัวมันคือจักรกรด มิตตวินทุกะกล่าวว่า ท่าน
พูดอย่างนี้เพราะไม่อยากจะให้แก่เรา สัตว์นรกคิดว่า บาปของเราคง

สิ้นแล้ว แม้บุรุษผู้นี้ก็คงจะทุบตีมารดามาแล้วเหมือนเรา เราจักให้
จักรกรดแก่มัน ครานั้นสัตว์นรกได้กล่าวกะมิตตวินทุกะว่า มาเถิดท่าน
ผู้เจริญ ท่านจงรับดอกบัวนี้เถิด แล้วขว้างจักรกรดไปบนศีรษะของ

มิตตวินทุกะ จักรกรดได้ตกลงพัดผันบนศีรษะเขา ขณะนั้น มิตตวินทุกะ
จึงรู้ว่าดอกบัวนั้นคือจักรกรด ได้รับทุกขเวทนาเป็นกำลัง คร่ำครวญว่า
ท่านจงเอาจักรกรดของท่านไปเถิดๆ สัตว์นรกตนนั้นได้หายไปแล้ว.

คราวนั้น พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นรุกขเทวดา พร้อม
ด้วยบริวารใหญ่เที่ยวจาริกไปในอุสสทนรกได้ไปถึงที่นั้น มิตตวินทุกะ
แลเห็นรุกขเทวดา เมื่อจะถามว่า ข้าแต่เทวราชเจ้าจักรนี้ลงบดศีรษะ
ประหนึ่งว่าจะทำให้แหลกเหมือนเมล็ดงา ข้าพเจ้าได้กระทำบาปอะไร
ไว้หนอ ดังนี้ จึงได้กล่าวคาถา ๒ คาถาว่า:-

เมืองนี้มีประตู ๔ ประตู มีกำแพงมั่นคง
ล้วนแล้วไปด้วยเหล็กแดง ข้าพเจ้าถูกล้อมไว้
ด้วยกำแพง ข้าพเจ้าได้ทำบาปอะไรไว้.
ประตูทั้งหมดจึงปิดแน่น ข้าพเจ้าถูกขัง
เหมือนนก ข้าแต่เทวดา เหตุเป็นมาอย่างไร
ข้าพเจ้าจึงถูกจักรกรดพัดศีรษะ ?


* สุขเพียงชั่วคราว แต่ต้องระทมยาวกับความทุกข์อันเกิดจากโรคที่ตามมา
* ความรู้มากมี เพราะมีมากมายไปด้วยเมตตาธรรม
* เมื่อรู้ว่าลูกจะมีภัย พ่อแม่ย่อมจะเป็นห่วง
เมื่อเข้าใจตามความเป็นจริงย่อมละทิ้งความห่วงนั้นลงได้
* ตอนมีชีวิตอยู่ทำดี เมื่อตายคนก็เสียดายและคิดถึง
ตอนมีชีิวีตอยู่ทำตัวเลว ชั่ว เมื่อตายคนก็มิได้เสียดายและเสียใจเลย
* ขยะคนไม่ชอบฉันใด บุคคลที่เปรียบเหมือนขยะสังคมนั้น คนก็ย่อมไม่รักฉันนั้น
* ขยะนั้นเกิดที่ใจ ควรขับไล่ออกไปด้วยทาน ศีล ภาวนา
* ดื่มอย่างมีสติ แต่ติดตรงที่ว่าไม่เคยฝึกสติเลยนะสิ
:b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 07 ม.ค. 2019, 07:29 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า ทฬฺหปาการํ คือมีกำแพงมั่นคง
บาลีว่า ทฬฺหโตรณํ ดังนี้ก็มี ความว่า มีประตูมั่นคง. บทว่า
โอรุทฺธปฏิรุทฺโธสฺมิ ความว่า ข้าพเจ้าถูกล้อมด้วยกำแพงโดยรอบ
ติดขังอยู่ข้างในสถานที่สำหรับหนีไปไม่ปรากฏ. บทว่า กึ ปาปํ ปกตํ
ความว่า ข้าพเจ้าได้ทำบาปอะไรไว้หนอ. บทว่า อปิหิตา เท่ากับ
ถกิตา แปลว่า อันเขาปิดไว้แล้ว. บทว่า ยถา ทิโช คือเหมือน
นกที่ถูกขังไว้ในกรง. บทว่า กิมาธิกรณํ ความว่า มูลเหตุเป็น
อย่างไร ? คือมูลเค้าเป็นอย่างไร ? บทว่า จกฺกาภินิหโต คือถูก
จักรกรดพัดผันแล้ว.

ลำดับนั้น เทวราชเมื่อจะบอกเหตุแก่เขา จึงได้กล่าวคาถา ๖
คาถาว่า:-
ท่านได้ทรัพย์มากมายแสนสองหมื่นแล้ว
ยังไม่เชื่อคำของญาติผู้เอ็นดู.
ท่านแล่นเรือไปสู่สมุทรอันอาจทำให้
เรือโลดขึ้นได้ เป็นสาครที่มีสิทธิ์น้อย ได้
ประสบนางเวมานิกเปรต ๔ นาง จาก ๔ นาง
เป็น ๘ นาง จาก ๘ นาง เป็น ๑๖ นาง.

ถึงจะได้ประสบนางเวมานิกเปรตจาก ๑๖
นางเป็น ๓๒ นาง ก็ยังปรารถนายิ่งไปกว่านั้น
จึงได้ประสบจักรนี้ จักรกรดย่อมพัดผันบน
ศีรษะของคนผู้ถูกความอยากครอบงำ.

ความอยากเป็นของสูงใหญ่ไพศาล ยาก
ที่จะให้เต็มได้ มักให้ถึงความวิบัติ ชนเหล่าใด
ย่อมยินดีไปตามความอยาก ชนเหล่านั้นย่อม
เป็นผู้ทรงจักรกรดไว้.


* สุขเพียงชั่วคราว แต่ต้องระทมยาวกับความทุกข์อันเกิดจากโรคที่ตามมา
* ความรู้มากมี เพราะมีมากมายไปด้วยเมตตาธรรม
* เมื่อรู้ว่าลูกจะมีภัย พ่อแม่ย่อมจะเป็นห่วง
เมื่อเข้าใจตามความเป็นจริงย่อมละทิ้งความห่วงนั้นลงได้
* ตอนมีชีวิตอยู่ทำดี เมื่อตายคนก็เสียดายและคิดถึง
ตอนมีชีิวีตอยู่ทำตัวเลว ชั่ว เมื่อตายคนก็มิได้เสียดายและเสียใจเลย
* ขยะคนไม่ชอบฉันใด บุคคลที่เปรียบเหมือนขยะสังคมนั้น คนก็ย่อมไม่รักฉันนั้น
* ขยะนั้นเกิดที่ใจ ควรขับไล่ออกไปด้วยทาน ศีล ภาวนา
* ดื่มอย่างมีสติ แต่ติดตรงที่ว่าไม่เคยฝึกสติเลยนะสิ
:b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 07 ม.ค. 2019, 08:25 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
ชนเหล่าใดละสิ่งของที่มีมากเสียด้วย
ไม่พิจารณาหนทางด้วย แล้วไม่คิดอ่านเหตุ
การณ์นั้นให้ถ่องแท้ ชนเหล่านั้นย่อมเป็นผู้
ทรงจักรกรดไว้.

ผู้ใดพึงเพ่งพินิจถึงการงานและโภคะอัน
ไพบูลย์ ไม่ซ่องเสพความอยากอันประกอบ
ด้วยความฉิบหาย ทำตามถ้อยคำของผู้เอ็นดู
ทั้งหลาย ผู้เช่นนั้น จะไม่ถูกจักรกรดพัดผัน.

บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า ลทฺธา สตสหสฺสานิ อติเรกานิ
วีสติ ความว่า ท่านทำอุโบสถได้รับทรัพย์พันหนึ่งจากสำนักของมารดา
เมื่อทำการค้าขายจึงได้ทรัพย์ คือที่เป็นทุนพันหนึ่งและทรัพย์ที่เป็นกำไร
ตั้งหนึ่งแสนสองหมื่นแล้ว. ด้วยบทว่า นากริ นี้ เทวราช

แสดงไว้ว่า ท่านไม่ยินดีด้วยทรัพย์นั้น แล่นเรือไปสู่สมุทรแม้ถูกมารดา
กล่าวถึงโทษในสมุทรแล้วห้ามอยู่ ก็ยังไม่เชื่อคำเตือนโดยชอบของญาติ
ผู้เอ็นดูกลับทำร้ายมารดาผู้โสดาบัน แล้วฉวยโอกาสหนีออกไป. บทว่า
ลงฺฆึ คืออันสามารถทำให้เรือโลดขึ้นได้. บทว่า ปกฺขนฺทิ เท่ากับ

ปกฺขนฺโตสิ แปลว่า ท่านเป็นผู้แล่นเรือไปแล้ว. บทว่า อปฺปสิทฺธิกํ
คือที่มีสิทธิน้อย มากด้วยความพินาศ. บทว่า จตุพฺภิ อฏฺ€ เป็นต้น
ความว่า ครั้นเรือหยุดนิ่งแล้วเพราะอาศัยท่านเป็นเหตุ แม้ถูกพวกที่
ไปด้วยกันผูกแพให้แล้วโยนลงทะเล ท่านยังได้หญิง ๔ คน ในวิมาน

แก้วผลึก เพราะอานิสงส์แห่งอุโบสถกรรมที่ตนได้กระทำในวันหนึ่ง
เพราะอาศัยมารดา ต่อจากนั้นก็ได้ให้หญิงอีก ๘ คน ในวิมานเงิน


* สุขเพียงชั่วคราว แต่ต้องระทมยาวกับความทุกข์อันเกิดจากโรคที่ตามมา
* ความรู้มากมี เพราะมีมากมายไปด้วยเมตตาธรรม
* เมื่อรู้ว่าลูกจะมีภัย พ่อแม่ย่อมจะเป็นห่วง
เมื่อเข้าใจตามความเป็นจริงย่อมละทิ้งความห่วงนั้นลงได้
* ตอนมีชีวิตอยู่ทำดี เมื่อตายคนก็เสียดายและคิดถึง
ตอนมีชีิวีตอยู่ทำตัวเลว ชั่ว เมื่อตายคนก็มิได้เสียดายและเสียใจเลย
* ขยะคนไม่ชอบฉันใด บุคคลที่เปรียบเหมือนขยะสังคมนั้น คนก็ย่อมไม่รักฉันนั้น
* ขยะนั้นเกิดที่ใจ ควรขับไล่ออกไปด้วยทาน ศีล ภาวนา
* ดื่มอย่างมีสติ แต่ติดตรงที่ว่าไม่เคยฝึกสติเลยนะสิ
:b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 07 ม.ค. 2019, 08:26 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
๑๖ คน ในวิมานแก้วมณี และ ๓๒ คน ในวิมานทอง. บทว่า อติจฺฉํ
จกฺกมาสโท ความว่า ถึงกะนั้น ท่านก็ยังไม่ยินดีด้วยปัจจัยตามที่ได้ชื่อว่า
เป็นผู้ปรารถนามากเกินไป เพราะเป็นผู้ประกอบด้วยความปรารถนา
เกินความจำเป็น กล่าวคือ ความอยากยิ่งอันเป็นเครื่องเกินเลยสิ่งที่ตน

ได้มาแล้วๆ อย่างนี้ว่า เราจักได้ยิ่งขึ้นไปกว่านี้ในสิ่งนี้ ดังนี้จัดว่าเป็น
บุคคลเลวทราม เพราะความที่อุโบสถกรรมนั้นสิ้นแล้ว จึงได้ผ่านพ้น
หญิง ๓๒ คน แล้วมาสู่เปรตนครนี้ เพราะวิบากแห่งอกุศลกรรมคือการ
ทำร้ายมารดานั้น จึงได้ประสบจักรนี้ บาลีว่า อตฺริจฺฉํ ดังนี้ก็มี ความว่า

ปรารถนาอยู่ในสิ่งนี้บ้างสิ่งนั้นบ้าง บาลีว่า อตฺริจฺฉา ดังนี้ก็มี ความว่า
เพราะปรารถนาเกินเลยไป. บทว่า ภมติ ความว่า บัดนี้ จักรนี้บด
ศีรษะของท่านนั้นอยู่ ชื่อว่า พัดผันบนศีรษะของคนที่ถูกความอยาก
ครอบงำแล้ว ดุจจักรของนายช่างหม้อฉะนั้น. บทคาถาว่า เย จ ตํ

อนุคิชฺฌนฺติ ความว่า ขึ้นชื่อว่าความอยากนั้น เมื่อแผ่ไปย่อมเป็น
ของสูงใหญ่ไพศาล ยากที่จะเต็มได้ดุจทะเล ชื่อว่า มักให้ถึงความวิบัติ
เพราะความปรารถนาอันเป็นเครื่องปรารถนาอารมณ์นั้นๆ ในบรรดา
อารมณ์มีรูปเป็นต้น ชนเหล่าใดย่อมยินดีไปตามความอยากเห็นปานนี้

นั้น คือเป็นผู้กำหนัดยินดีติดอยู่บ่อยๆ บทว่า เต โหนฺติ จกฺกธาริโน
ความว่า ชนเหล่านั้นไปอยู่อย่างนี้ ชื่อว่า ย่อมทรงไว้ซึ่งจักรกรด. บทว่า
พหุภณฺฑํ คือละทรัพย์เป็นอันมาก อันเป็นของมารดาบิดา. บทว่า
มคฺคํ ความว่า ชนแม้เหล่าอื่นเหล่าใดไม่ใคร่ครวญ คือไม่คิดอ่าน

เหตุการณ์นั้นให้ถ่องแท้ เหมือนท่านไม่พิจารณาหนทางสมุทรอันมี
สิทธิน้อยที่ตนจะต้องไปแล้วเดินทางไป ชนเหล่านั้นเป็นผู้ตกอยู่ใน


* สุขเพียงชั่วคราว แต่ต้องระทมยาวกับความทุกข์อันเกิดจากโรคที่ตามมา
* ความรู้มากมี เพราะมีมากมายไปด้วยเมตตาธรรม
* เมื่อรู้ว่าลูกจะมีภัย พ่อแม่ย่อมจะเป็นห่วง
เมื่อเข้าใจตามความเป็นจริงย่อมละทิ้งความห่วงนั้นลงได้
* ตอนมีชีวิตอยู่ทำดี เมื่อตายคนก็เสียดายและคิดถึง
ตอนมีชีิวีตอยู่ทำตัวเลว ชั่ว เมื่อตายคนก็มิได้เสียดายและเสียใจเลย
* ขยะคนไม่ชอบฉันใด บุคคลที่เปรียบเหมือนขยะสังคมนั้น คนก็ย่อมไม่รักฉันนั้น
* ขยะนั้นเกิดที่ใจ ควรขับไล่ออกไปด้วยทาน ศีล ภาวนา
* ดื่มอย่างมีสติ แต่ติดตรงที่ว่าไม่เคยฝึกสติเลยนะสิ
:b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 07 ม.ค. 2019, 08:27 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
อำนาจของความอยาก ละทรัพย์แล้วไม่พิจารณาทางที่จะไป แล้วดำเนิน
ไป ย่อมเป็นผู้ทรงจักรไว้เหมือนท่าน. บทว่า กมฺมํ สเมกฺเขยฺย
ความว่า เพราะเหตุนั้น บุรุษผู้เป็นบัณฑิตพึงเพ่งพินิจ คือพึงพิจารณา
ถึงกิจการงานที่ตนจะต้องทำว่ามีโทษหรือไม่หนอ. บทว่า วิปุลฺจ โภคํ

คือพึงเพ่งพินิจแม้กองแห่งทรัพย์ที่ได้มาโดยชอบธรรมของตน. บทว่า
นาติวเตยฺย ความว่า บุคคลผู้เช่นนั้นจะไม่ถูกจักรนี้พัดผันคือทับยี
บาลีว่า นาติวตฺเตติ ดังนี้ก็มี ความว่า ย่อมไม่ทับยี.

มิตตวินทุกะได้ฟังดังนั้นแล้วคิดว่า เทวบุตรนี้รู้กรรมที่เราทำไว้
โดยถ่องแท้ เทวบุตรนี้คงจะรู้กำหนดกาลที่เราจะหมกไหม้อยู่ เราจะ
ถามท่านดู ดังนี้แล้ว จึงได้กล่าวคาถาที่ ๙ ว่า:-

ข้าแต่ท่านผู้น่าบูชา จักรกรดจักตั้งอยู่
บนศีรษะของข้าพเจ้านานสักเท่าไรหนอ จะ
สักกี่พันปี ข้าพเจ้าขอถามความนั้น ขอท่านได้
โปรดบอกแก่ข้าพเจ้าเถิด.
ลำดับนั้น พระมหาสัตว์เมื่อจะบอกแก่มิตตวินทุกะนั้น จึงได้
กล่าวคาถาที่ ๑๐ ว่า:-

ดูก่อนมิตตวินทุกะ ท่านจงฟังเรา ท่าน
จะต้องทนทุกข์ทรมานไปอีกนาน จักรกรดจะ
พัดผันอยู่บนศีรษะของท่าน เมื่อท่านยังมีชีวิต
อยู่จะพ้นไปไม่ได้.

บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า อติสโร มีวินิจฉัยว่า ชื่อว่า
อติสโร เพราะอรรถว่า อติสริ ดังนี้บ้าง เพราะอรรถว่า อติสริสฺสติ
ดังนี้บ้าง. บทว่า อจฺจสโร เป็นไวพจน์ของบทว่า อติสโร นั้นนั่นเอง.


* สุขเพียงชั่วคราว แต่ต้องระทมยาวกับความทุกข์อันเกิดจากโรคที่ตามมา
* ความรู้มากมี เพราะมีมากมายไปด้วยเมตตาธรรม
* เมื่อรู้ว่าลูกจะมีภัย พ่อแม่ย่อมจะเป็นห่วง
เมื่อเข้าใจตามความเป็นจริงย่อมละทิ้งความห่วงนั้นลงได้
* ตอนมีชีวิตอยู่ทำดี เมื่อตายคนก็เสียดายและคิดถึง
ตอนมีชีิวีตอยู่ทำตัวเลว ชั่ว เมื่อตายคนก็มิได้เสียดายและเสียใจเลย
* ขยะคนไม่ชอบฉันใด บุคคลที่เปรียบเหมือนขยะสังคมนั้น คนก็ย่อมไม่รักฉันนั้น
* ขยะนั้นเกิดที่ใจ ควรขับไล่ออกไปด้วยทาน ศีล ภาวนา
* ดื่มอย่างมีสติ แต่ติดตรงที่ว่าไม่เคยฝึกสติเลยนะสิ
:b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 07 ม.ค. 2019, 08:28 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
ข้อนี้มีอธิบายว่า ดูก่อนมิตตวินทุกะผู้เจริญ ท่านจงฟังคำของเรา
ก็ท่านชื่อว่าต้องทนทุกข์ทรมานไปสิ้นกาลนาน เพราะความที่แห่ง
กรรมอันทารุณยิ่ง เป็นกรรมอันท่านกระทำแล้ว อนึ่ง ท่านจะต้อง
ทนทุกข์ทรมานไปสิ้นกาลนาน เพราะวิบากแห่งกรรมนั้นใครๆ ไม่

สามารถจะบอกให้รู้ได้ด้วยการนับเป็นปี และเพราะท่านจักต้องทนคือ
จักต้องถึงวิบากทุกข์อันใหญ่ยิ่ง ซึ่งหาประมาณมิได้ เพราะเหตุนั้น เราจึง
ไม่สามารถที่จะบอกแก่ท่านได้ว่าเท่านี้พันปี เท่านี้แสนปี ดังนี้.

บทว่า สิรสฺมิมาวิทฺธํ ความว่า ก็จักรกรดนี้ใดพัดผัน คือ
หมุนไปอยู่บนศีรษะของท่านดุจจักรของนายช่างหม้อฉะนั้น. บทว่า
น ตฺวํ ชีวํ ปโมกฺขสิ ความว่า ตราบใดที่วิบากกรรมของท่านยัง
ไม่สิ้นไปตราบนั้นเมื่อท่านยังมีชีวิตอยู่ จักพ้นจักรกรดนั้นไปไม่ได้
แต่เมื่อวิบากกรรมสิ้นไปแล้ว ท่านก็จักละจักรกรดนี้ไปตามยถากรรม.

ครั้นเทวบุตรกล่าวคาถานี้แล้ว ก็ได้ไปเทพวิมานของตน ส่วน
มิตตวินทุกะ ก็ได้ดำเนินไปสู่ทุกข์ใหญ่.

พระศาสดาครั้นทรงนำพระธรรมเทศนานี้มาแล้ว ทรงประชุม
ชาดก มิตตวินทุกะในครั้งนั้น ได้มาเป็นภิกษุว่ายากรูปนี้ในบัดนี้ ส่วน
เทวราชในครั้งนั้น คือเราตถาคต ฉะนี้แล.
จบ อรรถกถาจตุทวารชาดกที่ ๑

:b8: :b8: :b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 07 ม.ค. 2019, 13:27 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
อรรถกถากัณหชาดกที่ ๒

พระศาสดาเมื่อเสด็จเข้าไปอาศัยพระนครกบิลพัสดุ์ ประทับอยู่
ณ นิโครธาราม ทรงปรารภความยิ้มแย้ม จึงตรัสเรื่องนี้ มีคำเริ่มต้นว่า
กณฺโห วตายํ ปุริโส ดังนี้.

ได้ยินว่า คราวนั้น เวลาเย็นพระศาสดาแวดล้อมไปด้วยภิกษุ
สงฆ์ เสด็จพุทธดำเนินไปตามบริเวณวิหารนิโครธาราม ได้ทรงยิ้มแย้ม
ณ ประเทศแห่งหนึ่ง พระอานนท์เถระจึงคิดว่า อะไรหนอแลเป็นเหตุ
เป็นปัจจัยให้พระผู้มีพระภาคทรงยิ้มแย้ม พระตถาคตทั้งหลายจะทรง

ยิ้มแย้มโดยไม่มีเหตุ หามิได้ เราจักทูลถามก่อน แล้วประคองอัญชลี
ทูลถามเหตุที่ทรงยิ้มแย้ม. ลำดับนั้น พระศาสดาตรัสเหตุที่ทรงยิ้มแย้ม
แก่พระอานนทเถระว่า ดูก่อนอานนท์ เรื่องเคยมีมาแล้ว มีฤๅษีตน
หนึ่งชื่อว่า กัณหะ ท่านอยู่ในภูมิประเทศนี้ เป็นผู้ได้ฌาน และรื่น-

รมย์อยู่ในฌาน ด้วยเดชแห่งศีลของท่าน บันดาลให้ภพของท้าวสักก-
เทวราชหวั่นไหว ดังนี้ โดยที่เรื่องนั้นไม่มีปรากฏ พระเถระจึงทูลอา-
ราธนาให้ตรัสเรื่องราว พระองค์ได้ทรงนำเอาเรื่องในอดีตมาสาธก ดัง
ต่อไปนี้:-

ในอดีตกาล เมื่อพระเจ้าพรหมทัตครองราชสมบัติอยู่ในพระนคร
พาราณสี. มีพราหมณ์คน ๑ มีสมบัติ ๘๐ โกฏิ ไม่มีบุตร ได้สมาทาน
ศีล ปรารถนาบุตร พระโพธิสัตว์บังเกิดในครรภ์นางพราหมณีภรรยา
ของพราหมณ์นั้น ในวันตั้งชื่อพระโพธิสัตว์ ญาติทั้งหลายได้ตั้งชื่อให้

ว่า กัณหกุมาร เพราะมีผิวดำ กัณหกุมารนั้นเมื่อมีอายุได้ ๑๖ ปี มี
รูปงดงามดังรูปที่ทำด้วยแก้วมณี บิดาส่งไปเรียนศิลปะในเมืองตักกศิลา
ครั้นเรียนสำเร็จแล้วก็กลับมา ครั้งนั้น บิดาให้เขาแต่งงานกับภรรยาที่
สมควรกัน กาลต่อมา เมื่อมารดาบิดาล่วงลับไปแล้ว เขาได้เป็นใหญ่
ปกครองทรัพย์สมบัติทั้งหมด.


* สุขเพียงชั่วคราว แต่ต้องระทมยาวกับความทุกข์อันเกิดจากโรคที่ตามมา
* ความรู้มากมี เพราะมีมากมายไปด้วยเมตตาธรรม
* เมื่อรู้ว่าลูกจะมีภัย พ่อแม่ย่อมจะเป็นห่วง
เมื่อเข้าใจตามความเป็นจริงย่อมละทิ้งความห่วงนั้นลงได้
* ตอนมีชีวิตอยู่ทำดี เมื่อตายคนก็เสียดายและคิดถึง
ตอนมีชีิวีตอยู่ทำตัวเลว ชั่ว เมื่อตายคนก็มิได้เสียดายและเสียใจเลย
* ขยะคนไม่ชอบฉันใด บุคคลที่เปรียบเหมือนขยะสังคมนั้น คนก็ย่อมไม่รักฉันนั้น
* ขยะนั้นเกิดที่ใจ ควรขับไล่ออกไปด้วยทาน ศีล ภาวนา
* ดื่มอย่างมีสติ แต่ติดตรงที่ว่าไม่เคยฝึกสติเลยนะสิ
:b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


แสดงโพสต์จาก:  เรียงตาม  
กลับไปยังกระทู้  [ 2252 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1 ... 139, 140, 141, 142, 143, 144, 145 ... 151  ต่อไป

เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


 ผู้ใช้งานขณะนี้

่กำลังดูบอร์ดนี้: ไม่มีสมาชิก และ บุคคลทั่วไป 1 ท่าน


ท่าน ไม่สามารถ โพสต์กระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ตอบกระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แก้ไขโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ลบโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แนบไฟล์ในบอร์ดนี้ได้

ค้นหาสำหรับ:
ไปที่:  
Google
ทั่วไป เว็บธรรมจักร