วันเวลาปัจจุบัน 27 เม.ย. 2024, 06:16  



เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


กฎการใช้บอร์ด


อ่านนิทาน จากบอร์ดเก่า
http://www.dhammajak.net/board/viewforum.php?f=5



กลับไปยังกระทู้  [ 2685 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1 ... 18, 19, 20, 21, 22, 23, 24 ... 179  ต่อไป  Bookmark and Share
เจ้าของ ข้อความ
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 27 พ.ย. 2018, 10:02 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:

ขอต่อกระทู้ใหม่นะครับ ดูท่าจะเริ่มอึดๆ ช้าๆ

• อ่านกันวันละนิด พิชิตความเกียจคร้านอ่าน
• ความรู้ถ้วมตัว หากไม่เมามัวลงมือปฏิบัติบ้างก็คงจะดี
• ความขยั่น จะนำท่านสู่ความสำเร็จ ทุกความสำเร็จย่อมจะมีความขยั่นเป็นปัจจัย
• เพราะเห็นแก่กิน เลยต้องสิ้นลมหายใจ
• ความดีไม่มีขายไม่มีแจก ใครอยากได้ก็ควรทำเอาเอง
• ให้ของไม่ดี ถึงจะเป็นของฟรีก็มิควรรับ

:b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 09 ม.ค. 2019, 17:07 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
บรรดากระต่ายทั้งหลายมีกระต่ายทองเป็นต้นเหล่านั้น เจ้าจง
บอกกระต่ายที่เจ้าต้องการ เราจักให้เขาทำให้เจ้า ถ้าแม้เจ้าไม่ชอบ
กระต่ายเหล่านั้น ฝูงกระต่ายป่าอื่นๆ ก็มีอยู่ในป่า เราจักให้เขานำเอา
กระต่ายเหล่านั้นมาให้ ดูก่อนท่านผู้มีพระพักตร์อันงาม เจ้าต้องการ
กระต่ายเช่นไรจงบอกมา ?

ฆตบัณฑิตฟังพระดำรัสของพระราชาแล้ว จึงกล่าวคาถาที่ ๖
ว่า:-
ข้าแต่พระองค์ผู้มีพระเกศางาม กระต่าย
เหล่าใดที่อาศัยอยู่บนแผ่นดิน หม่อมฉันไม่
ปรารถนาสิ้นทั้งนั้น หม่อมฉันปรารถนากระ
ต่ายจากดวงจันทร์ ขอพระองค์ได้ทรงโปรด
สอยกระต่ายนั้นมาให้หม่อมฉันเถิด.

บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า โอหร ได้แก่ให้หยั่งลง.
พระราชาทรงสดับถ้อยคำของฆตบัณฑิตแล้ว ทรงโทมนัสว่า
น้องชายของเราเป็นบ้าเสียแล้วโดยไม่ต้องสงสัย จึงกล่าวคาถาที่ ๗ ว่า:-
น้อง เจ้าปรารถนาสิ่งที่เขาไม่พึงปรารถนา
กัน อยากได้กระต่ายจากดวงจันทร์ จักละชีวิต
ที่ยังดีไปเสียเป็นแน่.

พระราชาเมื่อจะทรงทักพระกนิษฐาจึง ตรัสว่า น้อง ในพระ-
คาถานั้น ข้อนี้มีอธิบายว่า แน่ะพ่อท่านใดปรารถนาสิ่งที่ไม่ควรปรารถนา
ท่านนั้นผู้เป็นน้องของเรา จักละชีวิตของตนที่ดียิ่งไปเสียเป็นแน่.

ฆตบัณฑิตฟังพระราชดำรัสแล้ว ยืนนิ่งอยู่กล่าวว่า ข้าแต่
พระเจ้าพี่ เจ้าพี่ทรงทราบว่าข้าพระองค์ปรารถนากระต่ายจากดวงจันทร์
ไม่ได้แล้วจะตาย ก็เหตุไร เจ้าพี่จึงเศร้าโศกถึงโอรสที่สิ้นพระชนม์ไป
แล้วเล่า ? แล้วกล่าวคาถาที่ ๘ ว่า:-


* สุขเพียงชั่วคราว แต่ต้องระทมยาวกับความทุกข์อันเกิดจากโรคที่ตามมา
* ความรู้มากมี เพราะมีมากมายไปด้วยเมตตาธรรม
* เมื่อรู้ว่าลูกจะมีภัย พ่อแม่ย่อมจะเป็นห่วง
เมื่อเข้าใจตามความเป็นจริงย่อมละทิ้งความห่วงนั้นลงได้
* ตอนมีชีวิตอยู่ทำดี เมื่อตายคนก็เสียดายและคิดถึง
ตอนมีชีิวีตอยู่ทำตัวเลว ชั่ว เมื่อตายคนก็มิได้เสียดายและเสียใจเลย
* ขยะคนไม่ชอบฉันใด บุคคลที่เปรียบเหมือนขยะสังคมนั้น คนก็ย่อมไม่รักฉันนั้น
* ขยะนั้นเกิดที่ใจ ควรขับไล่ออกไปด้วยทาน ศีล ภาวนา
* ดื่มอย่างมีสติ แต่ติดตรงที่ว่าไม่เคยฝึกสติเลยนะสิ
:b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 09 ม.ค. 2019, 17:08 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
ข้าแต่พระองค์ผู้กัณหวงศ์ ถ้าพระองค์
ทรงทราบและตรัสสอนผู้อื่นอย่างนี้ไซร้ เหตุไร
พระองค์จึงทรงเศร้าโศกถึงพระราชโอรสผู้สิ้น
พระชนม์ไปแล้วในกาลก่อน จนกระทั่งถึงวัน
นี้เล่า ?

คำว่า เอวํ ในคาถานั้น มีอธิบายว่า ถ้าพระองค์ทรงทราบ
อย่างนี้ว่า ขึ้นชื่อว่าของที่ไม่ควรได้ บุคคลก็ไม่ควรหวังดังนี้ไซร้. บทว่า
ยทฺมนฺสาสสิ ความว่า ผิว่าพระองค์ทรงทราบอยู่อย่างนี้แหละ

ตรัสสอนผู้อื่นอยู่. บทว่า ปุเร เป็นต้น ความว่า ฆตบัณฑิตกล่าวว่า
เมื่อเป็นเช่นนั้น เพราะเหตุไร พระองค์จึงทรงเศร้าโศกถึงพระราชโอรส
ผู้สิ้นพระชนม์ไปแล้ว นับจากนี้ไปถึง ๔ เดือน จนกระทั่งถึงวันนี้เล่า ?

ฆตบัณฑิตยืนอยู่ระหว่างวิถีกราบทูลดังนี้ว่า ข้าแต่พระเจ้าพี่
หม่อมฉันปรารถนาสิ่งที่เห็นปรากฏอยู่แท้ๆ แต่เจ้าพี่ทรงเศร้าโศกเพื่อ
ทรงประสงค์สิ่งที่มิได้ปรากฏอยู่ เมื่อจะแสดงธรรมถวายพระราชา ได้
กล่าวคาถา ๒ คาถาอีกว่า:-

มนุษย์หรือเทวดาไม่พึงได้ฐานะอันใด
คือความมุ่งหวังว่า บุตรของเราที่เกิดมาแล้ว
อย่าตายเลย พระองค์ทรงปรารถนาฐานะอัน
นั้นอยู่ จะพึงทรงได้ฐานะที่ไม่ควรได้แต่ที่ไหน
ข้าแต่พระองค์ผู้กัณหวงศ์ พระองค์ทรงเศร้า
โศกถึงพระโอรสองค์ใด ผู้ไปปรโลกแล้วพระ-
องค์ก็ไม่สามารถจะนำพระโอรส นั้นมาได้ด้วย.
มนต์ ยารากไม้ โอสถ หรือพระราชทรัพย์เลย.


* สุขเพียงชั่วคราว แต่ต้องระทมยาวกับความทุกข์อันเกิดจากโรคที่ตามมา
* ความรู้มากมี เพราะมีมากมายไปด้วยเมตตาธรรม
* เมื่อรู้ว่าลูกจะมีภัย พ่อแม่ย่อมจะเป็นห่วง
เมื่อเข้าใจตามความเป็นจริงย่อมละทิ้งความห่วงนั้นลงได้
* ตอนมีชีวิตอยู่ทำดี เมื่อตายคนก็เสียดายและคิดถึง
ตอนมีชีิวีตอยู่ทำตัวเลว ชั่ว เมื่อตายคนก็มิได้เสียดายและเสียใจเลย
* ขยะคนไม่ชอบฉันใด บุคคลที่เปรียบเหมือนขยะสังคมนั้น คนก็ย่อมไม่รักฉันนั้น
* ขยะนั้นเกิดที่ใจ ควรขับไล่ออกไปด้วยทาน ศีล ภาวนา
* ดื่มอย่างมีสติ แต่ติดตรงที่ว่าไม่เคยฝึกสติเลยนะสิ
:b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 09 ม.ค. 2019, 17:09 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า ยํ เป็นต้น ความว่า ฆตบัณฑิต
แสดงว่ามนุษย์หรือเทวดาไม่พึงได้อีก คือไม่อาจเพื่ออันได้ฐานะอันใด
คือความมุ่งหวังอย่างนี้ว่า บุตรของเราที่เกิดมาแล้วอย่าตายเลย พระองค์
ทรงปรารถนาฐานะอันนั้นอยู่ จะพึงทรงให้ฐานะที่ไม่ควรได้นั้น คือ

พระโอรสผู้ไปปรโลกแล้วแต่ที่ไหน ? คือจะสามารถได้ด้วยเหตุอะไร ?
ได้แก่ไม่สามารถจะได้ฐานะที่ไม่ควรได้นั้น. อธิบายว่า เพราะเหตุนั้น
ขึ้นชื่อว่าสิ่งอันไม่ควรได้คือฐานะอันไม่ควรได้นั้น จะพึงได้แต่ที่ไหน.

บทว่า มนฺตา คือ ด้วยการร่ายมนต์ บทว่า มูลเภสชฺช
คือ ด้วยรากยา บทว่า โอสเถหิ คือ ด้วยโอสถชนิดต่างๆ. บทว่า
ธเนน วา คือ หรือด้วยพระราชทรัพย์นับด้วย ๑๐๐ โกฏิ.

คำนี้มีอธิบายว่า พระองค์ทรงเศร้าโศกถึงพระโอรสองค์ใดผู้ไป
ปรโลกแล้ว พระองค์ก็ไม่สามารถจะนำพระโอรสนั้นมาได้แม้ด้วยการ
ร่ายมนต์เป็นต้นเหล่านั้น.

พระราชาทรงสดับดังนั้นแล้วตรัสว่า แน่ะพ่อฆตบัณฑิตคำที่
กล่าวนี้ควรกำหนดไว้ ท่านได้ทำให้เราหายโศกแล้ว เมื่อจะสรรเสริญ
ฆตบัณฑิต จึงตรัสพระคาถา ๔ พระคาถาว่า:-

บุรุษผู้เป็นบัณฑิตเช่นนี้ เป็นอำมาตย์
ของพระราชาพระองค์ใด พระราชาพระองค์
นั้นจะมีความโศกมาแต่ไหน เหมือนฆตบัณฑิต
ดับความโศกของเราในวันนี้ ฆตบัณฑิตได้
รดเราผู้เร่าร้อนให้สงบระงับ ดับความกระวน

กระวายทั้งปวงได้ เหมือนบุคคลดับไฟที่ติด
เปรียงด้วยน้ำฉะนั้น ฆตบัณฑิตได้ถอนลูกศร
ที่เสียบแทงหทัยของเราออกแล้ว ได้บรรเทา
ความโศกถึงบุตรของเรา ผู้ถูกความเศร้าโศก


* สุขเพียงชั่วคราว แต่ต้องระทมยาวกับความทุกข์อันเกิดจากโรคที่ตามมา
* ความรู้มากมี เพราะมีมากมายไปด้วยเมตตาธรรม
* เมื่อรู้ว่าลูกจะมีภัย พ่อแม่ย่อมจะเป็นห่วง
เมื่อเข้าใจตามความเป็นจริงย่อมละทิ้งความห่วงนั้นลงได้
* ตอนมีชีวิตอยู่ทำดี เมื่อตายคนก็เสียดายและคิดถึง
ตอนมีชีิวีตอยู่ทำตัวเลว ชั่ว เมื่อตายคนก็มิได้เสียดายและเสียใจเลย
* ขยะคนไม่ชอบฉันใด บุคคลที่เปรียบเหมือนขยะสังคมนั้น คนก็ย่อมไม่รักฉันนั้น
* ขยะนั้นเกิดที่ใจ ควรขับไล่ออกไปด้วยทาน ศีล ภาวนา
* ดื่มอย่างมีสติ แต่ติดตรงที่ว่าไม่เคยฝึกสติเลยนะสิ
:b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 09 ม.ค. 2019, 17:09 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
ครอบงำแล้วหนอ เราเป็นผู้ถอนลูกศรออกได้
แล้วปราศจากความโศก ไม่ขุ่นมัว จะไม่เศร้า
โศก จะไม่ร้องไห้ เพราะได้ฟังคำของเจ้า นะ
น้อง

บรรดาคาถาเหล่านั้น คาถาที่หนึ่งมีความย่อดังนี้ว่า บุรุษผู้เป็น
บัณฑิตเช่นนี้ เป็นอำมาตย์ของพระราชาแม้พระองค์อื่นใด พระราชา
พระองค์นั้น จะมีความโศกมาแต่ไหน เหมือนดังฆตบัณฑิต ยังเราผู้ถูก
ความเศร้าโศกถึงบุตรครอบงำแล้วให้ดับ คือให้เย็นได้แก่ให้ตื่น เพื่อ
ประโยชน์แก่การกำจัดความโศกฉะนั้น. คาถาที่เหลือมีเนื้อความดังกล่าว
แล้วนั่นแหละ.

ในอวสาน มีอภิสัมพุทธคาถา ซึ่งมีเนื้อความง่ายดังนี้ว่า:-
ผู้มีปัญญา มีใจกรุณา ย่อมทำผู้ที่เศร้า
โศกให้หลุดพ้นจากความเศร้าโศกได้ เหมือน
ฆตบัณฑิตทำพระเชษฐาผู้เศร้าโศกให้หลุดพ้น
จากความเศร้าโศก ฉะนั้น.

เมื่อพระเจ้าวาสุเทพ ผู้อันฆตบัณฑิตทำให้หมดความโศกแล้ว
อย่างนี้ครองราชสมบัติอยู่ โดยล่วงไปแห่งกาลยืดยาวนาน พระกุมาร
โอรสของกษัตริย์พี่น้องทั้ง ๑๐ ปรึกษากันว่า เขากล่าวกันว่า กัณหที-
ปายนดาบสผู้มีตาดังทิพย์ พวกเราจักทดลองท่านดูก่อน จึงประดับกุมาร

เด็กผู้ชายคนหนึ่ง แสดงอาการเหมือนหญิงมีครรภ์ เอาลูกแก้วมรกต
ผูกไว้ที่ท้อง แล้วนำไปหาพระดาบสถามว่า ข้าแต่ท่านผู้เจริญ เด็กหญิง
นี้จักคลอดหรือไม่ ? พระดาบสพิจารณาดูรู้ว่า กาลวิบัติของกษัตริย์พี่

น้อง ๑๐ องค์มาถึงแล้ว อายุสังขารของพวกเราเป็นเช่นไรหนอ ? ก็รู้ว่า
จักตายวันนี้แน่ จึงกล่าวว่า กุมารทั้งหลาย พวกท่านต้องการอะไรด้วย
เรื่องนี้ ถูกพวกกุมารเซ้าซี้ว่า ขอท่านจงบอกแก่พวกกระผมเถิด พระ-


* สุขเพียงชั่วคราว แต่ต้องระทมยาวกับความทุกข์อันเกิดจากโรคที่ตามมา
* ความรู้มากมี เพราะมีมากมายไปด้วยเมตตาธรรม
* เมื่อรู้ว่าลูกจะมีภัย พ่อแม่ย่อมจะเป็นห่วง
เมื่อเข้าใจตามความเป็นจริงย่อมละทิ้งความห่วงนั้นลงได้
* ตอนมีชีวิตอยู่ทำดี เมื่อตายคนก็เสียดายและคิดถึง
ตอนมีชีิวีตอยู่ทำตัวเลว ชั่ว เมื่อตายคนก็มิได้เสียดายและเสียใจเลย
* ขยะคนไม่ชอบฉันใด บุคคลที่เปรียบเหมือนขยะสังคมนั้น คนก็ย่อมไม่รักฉันนั้น
* ขยะนั้นเกิดที่ใจ ควรขับไล่ออกไปด้วยทาน ศีล ภาวนา
* ดื่มอย่างมีสติ แต่ติดตรงที่ว่าไม่เคยฝึกสติเลยนะสิ
:b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 09 ม.ค. 2019, 17:11 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
เจ้าข้า จึงกล่าวว่า ต่อนี้ไป ๗ วัน กุมาริกาผู้นี้จักคลอดปุ่มไม้ตะเคียน
ออกมา ด้วยเหตุนั้นตระกูลของวาสุเทพจักพินาศ อนึ่ง ท่านทั้งหลาย
จงเอาปุ่มไม้ตะเคียนนั้น ไปเผาแล้วเอาเถ้าไปทิ้งในแม่น้ำ ลำดับนั้น
พระกุมารเหล่านั้นกล่าวกะพระดาบสว่า ดูก่อนชฎิลโกง ธรรมดาผู้ชาย
ออกลูกได้ไม่มีเลย แล้วทำกรรมกรณ์ชื่อตันตรัชชุกะ ให้ดาบสสิ้นชีวิต
ในที่นั้นเอง.

กษัตริย์พี่น้องทั้งหลาย เรียกพระกุมารมาตรัสถามว่า พวกเจ้า
ฆ่าพระดาบสเพราะเหตุไร ? ครั้นได้สดับเรื่องทั้งหมดแล้วทรงหวาดกลัว
จึงรักษาเด็กนั้นไว้ ครั้นถึงวันที่ ๗ ให้เผาปุ่มตะเคียนที่ออกจากท้อง
เด็กนั้น แล้วเอาเถ้าไปทิ้งในแม่น้ำ เถ้านั้นถูกน้ำพัดไปติดอยู่ที่ปากอ่าว
ข้างหนึ่ง เกิดเป็นตะไคร่น้ำขึ้นที่นั้น.

อยู่มาวันหนึ่ง กษัตริย์เหล่านั้นชวนกันทรงสมุทรกีฬา เสด็จไป
ถึงปากอ่าวแล้วให้ปลูกมหามณฑปทรงเสวยทรงดื่ม ทรงหยอกเย้ากันที่
มหามณฑปซึ่งตกแต่งงดงาม ใช้พระหัตถ์และพระบาทถูกต้องกันแต่
เป็นไปด้วยอำนาจความเย้ยหยัน จึงทะเลาะกันยกใหญ่ แตกกันเป็น

สองพวก ลำดับนั้น กษัตริย์พระองค์หนึ่ง เมื่อไม่ได้ไม้ตะบองอย่างอื่น
ก็ถือใบตะไคร้น้ำแต่กอตะไคร้น้ำใบหนึ่ง ใบตะไคร้น้ำนั้น พอถูกจับเข้า
เท่านั้น ก็กลายเป็นสากไม้ตะเคียน พระองค์ทรงตีมหาชนด้วยสากนั้น
แล้ว สิ่งที่คนทั้งหมดจับด้วยเข้าใจว่าเป็นอย่างอื่น ก็กลายเป็นสากไป

หมด เขาจึงประหารกันและกันถึงความพินาศสิ้น เมื่อเขาเหล่านั้นกำลัง
พินาศอยู่ กษัตริย์ ๔ องค์คือ วาสุเทพ พลเทพ อัญชนเทวีภคินี และ
ปุโรหิต พากันขึ้นรถหนีไป พวกที่เหลือพากันพินาศหมด กษัตริย์ ๔
องค์เหล่านั้นขึ้นรถหนีไปถึงดงกาฬมัตติกะ ก็มุฏฐิกะคนปล้ำนั้นซึ่งตั้ง

ความปรารถนาไว้ได้เกิดเป็นยักษ์อยู่ในดงนั้น รู้ว่าพลเทพมาก็เนรมิตร
บ้านขึ้นที่นั่น แปลงเพศเป็นคนปล้ำเที่ยวโห่ร้องคำรามตบมือท้าทายว่า


* สุขเพียงชั่วคราว แต่ต้องระทมยาวกับความทุกข์อันเกิดจากโรคที่ตามมา
* ความรู้มากมี เพราะมีมากมายไปด้วยเมตตาธรรม
* เมื่อรู้ว่าลูกจะมีภัย พ่อแม่ย่อมจะเป็นห่วง
เมื่อเข้าใจตามความเป็นจริงย่อมละทิ้งความห่วงนั้นลงได้
* ตอนมีชีวิตอยู่ทำดี เมื่อตายคนก็เสียดายและคิดถึง
ตอนมีชีิวีตอยู่ทำตัวเลว ชั่ว เมื่อตายคนก็มิได้เสียดายและเสียใจเลย
* ขยะคนไม่ชอบฉันใด บุคคลที่เปรียบเหมือนขยะสังคมนั้น คนก็ย่อมไม่รักฉันนั้น
* ขยะนั้นเกิดที่ใจ ควรขับไล่ออกไปด้วยทาน ศีล ภาวนา
* ดื่มอย่างมีสติ แต่ติดตรงที่ว่าไม่เคยฝึกสติเลยนะสิ
:b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 09 ม.ค. 2019, 17:21 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
ใครต้องการสู้ พลเทพพอเห็นเขาเหล่านั้นก็กล่าวว่า ข้าแต่พระเจ้าพี่
หม่อมฉันจักสู้กับบุรุษนี้เอง เมื่อวาสุเทพห้ามอยู่นั่นแหละ ลงจากรถ
ตบมือเข้าไปหายักษ์นั้น ลำดับนั้น ยักษ์จึงจับมือที่เหยียดออกแล้วกิน
พลเทพเสียดุจเหง้าบัว.

วาสุเทพรู้ว่าพลเทพสิ้นชีวิต จึงพาภคินีและปุโรหิตเดินทางไป
ตลอดคืน พอรุ่งสว่างก็ถึงปัจจันตคามตำบลหนึ่ง สั่งภคินีและปุโรหิต
ไปยังบ้านสั่งว่า จงหุงอาหารแล้วนำมา ตัวเองเข้าไปนอนซ่อนอยู่ที่กอ
ไม้กอหนึ่ง ครั้งนั้น นายพรานคนหนึ่งชื่อชรา เห็นกอไม้ไหวๆ เข้าใจว่า

สุกรจักมีที่นั่น จึงพุ่งหอกไปถูกพระบาทวาสุเทพ เมื่อวาสุเทพตรัสว่า
ใครแทงเรา นายพรานรู้ว่าตนแทงมนุษย์ ก็ตกใจกลัว ปรารภจะหนีไป
พระราชาดำรงพระสติไว้เสด็จลุกขึ้น ตรัสเรียกว่า ดูก่อนลุง อย่ากลัว
เลยจงมาเถิด ครั้นนายพรานมาแล้ว จึงตรัสถามว่า ท่านชื่ออะไร ?

เมื่อนายพรานตอบว่า ข้าแต่นาย ข้าพเจ้าชื่อชรา ก็ทรงทราบว่า นัยว่า
คนรุ่นก่อนพยากรณ์เราไว้ว่า จักถูกนายชราแทงตาย วันนี้เราคงตาย
โดยไม่ต้องสงสัย แล้วตรัสกะนายชราว่า ดูก่อนลุง ท่านอย่ากลัวเลย
จงมาช่วยพันแผลที่เท้าให้เรา ให้นายพรานชราพันปากแผลแล้วก็ส่ง

นายพรานนั้นไป เวทนามีกำลังได้เป็นไปอย่างแรงกล้า พระราชา
ไม่อาจจะเสวยพระกระยาหารที่ภคินีและปุโรหิตนำมาได้ ลำดับนั้น
พระองค์จึงตรัสเรียกชนทั้งสองมาตรัสว่า เราจักตายวันนี้ ก็ท่านทั้ง ๒
เป็นสุขุมาลชาติ ไม่อาจจะทำการงานอย่างอื่นเลี้ยงชีพได้ จงเรียนวิชา
นี้ไว้ แล้วให้ศึกษาวิชาอย่างหนึ่ง แล้วส่งเขากลับไป พระองค์สิ้นพระ-


* สุขเพียงชั่วคราว แต่ต้องระทมยาวกับความทุกข์อันเกิดจากโรคที่ตามมา
* ความรู้มากมี เพราะมีมากมายไปด้วยเมตตาธรรม
* เมื่อรู้ว่าลูกจะมีภัย พ่อแม่ย่อมจะเป็นห่วง
เมื่อเข้าใจตามความเป็นจริงย่อมละทิ้งความห่วงนั้นลงได้
* ตอนมีชีวิตอยู่ทำดี เมื่อตายคนก็เสียดายและคิดถึง
ตอนมีชีิวีตอยู่ทำตัวเลว ชั่ว เมื่อตายคนก็มิได้เสียดายและเสียใจเลย
* ขยะคนไม่ชอบฉันใด บุคคลที่เปรียบเหมือนขยะสังคมนั้น คนก็ย่อมไม่รักฉันนั้น
* ขยะนั้นเกิดที่ใจ ควรขับไล่ออกไปด้วยทาน ศีล ภาวนา
* ดื่มอย่างมีสติ แต่ติดตรงที่ว่าไม่เคยฝึกสติเลยนะสิ
:b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 09 ม.ค. 2019, 17:22 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
ชนม์อยู่ ณ ที่นั้นเอง กษัตริย์พี่น้องทั้งหมด นอกจากอัญชนเทวีแล้ว
ถึงความพินาศสิ้น.

พระศาสดาครั้นทรงนำพระธรรมเทศนานี้มาแสดงแล้ว ตรัสว่า
ดูก่อนอุบาสก โบราณกบัณฑิตฟังด้วยคำของบัณฑิตแล้ว กำจัดความ
โศกถึงบุตรของตนออกได้ ท่านอย่าคิดถึงเขาเลย ดังนี้แล้วทรงประกาศ
สัจธรรม เวลาจบสัจจะ อุบาสกดำรงอยู่ในโสดาปัตติผล พระทศพล
ทรงประชุมชาดกว่า โรหิเณยยอำมาตย์ในครั้งนั้น ได้มาเป็นพระอานนท์

ในบัดนี้ วาสุเทพในครั้งนั้น ได้มาเป็นพระสารีบุตรในบัดนี้ พวกที่
เหลือนอกนี้ในครั้งนั้น ได้มาเป็นพุทธบริษัทในบัดนี้ ส่วนฆตบัณฑิต
ในครั้งนั้น ได้มาเป็นเราผู้สัมมาสัมพุทธะเปิดหลังคาคือกิเลสในโลกได้
แล้ว ฉะนี้แล.
จบ อรรถกถาฆตบัณฑิตชาดกที่ ๑๖

:b8: :b8: :b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 09 ม.ค. 2019, 17:26 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:

จบไปอีกเล่มแล้วครับ ยินดีกับความขยันหมั่นเพียร
และสนใจในการอ่านชาดกด้วยครับ แล้วจะมาลงต่อเล่ม
ต่อไปขอตัวไปออกกำลังก่อนหากมีลมหายใจก็จะกลับมา
อีก

:b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 09 ม.ค. 2019, 20:28 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:

กรรมไปตอบผิดกระทู้ได้ไง ยังไงก็มากระทู้นี้แล้วผม
ก็ขอต่อตรงนี้เลยนะครับ เพราะกระทู้นี้ก็มีข้อมูลน้อยคง
จะง่ายต่อการเข้าอ่านบ้างไม่มากก็น้อย

:b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 09 ม.ค. 2019, 20:29 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
อรรถกถามาตุโปสกชาดก

พระศาสดา เมื่อประทับอยู่ในพระเชตวันมหาวิหาร ทรงพระ-
ปรารภภิกษุผู้เลี้ยงมารดา จึงตรัสพระธรรมเทศนานี้ มีคำเริ่มต้นว่า ตสฺส
นาคสฺส วิปฺปวาเสน ดังนี้.

เรื่องปัจจุบัน เสมือนกับเรื่องสามชาดกนั่นเอง. ก็พระศาสดาตรัสเรียก
ภิกษุทั้งหลายมาแล้ว ตรัสว่า ภิกษุทั้งหลาย พวกเธออย่ายกโทษภิกษุนี้เลย
โปราณกบัณฑิตทั้งหลาย แม้บังเกิดในกำเนิดสัตว์ดิรัจฉาน พรากจากมารดา
ซูบซีดไป เพราะอดอาหาร ๗ วัน แม้ได้โภชนะอันสมควรแก่พระราชา คิดว่า
พวกเราเว้นจากมารดาเสีย จักไม่บริโภค พอเห็นมารดา ก็ยึดถือเอาอาหาร
ดังนี้แล้ว อันภิกษุทั้งหลายทูลอาราธนา จึงนำอดีตนิทานมาว่า

ในอดีตกาล เมื่อพระเจ้าพรหมทัตเสวยพระราชสมบัติ ในกรุง
พาราณสี ครั้งนั้นพระโพธิสัตว์บังเกิดในกำเนิดช้าง ในหิมวันตประเทศ
ได้เป็นสัตว์เผือกปลอด มีรูปงาม น่าชม น่าเลื่อมใส สมบูรณ์ด้วยลักษณะ
กระทำความเจริญโดยลำดับ มีช้าง ๘๐,๐๐๐ เชือกเป็นบริวาร. ส่วนมารดา
ของท่านเป็นช้างบอด. แต่ท่านได้ให้ผลไม้ มีรสอร่อยแก่ช้างทั้งหลาย แล้ว
ส่งไปยังสำนักของมารดา ช้างทั้งหลายไม่ได้ให้แก่มารดาเลย เคี้ยวกินด้วย

ตนเอง. ท่านกำหนดรู้เรื่องนั้น คิดว่า เราจักละโขลงแล้ว เลี้ยงแต่มารดา
เท่านั้น ครั้นถึงส่วนแห่งราตรี เมื่อช้างเหล่าอื่นไม่รู้อยู่ จึงพามารดาไปยัง
เชิงเขา ชื่อว่า จัณโฑรณะ แล้วพักมารดาไว้ที่ถ้ำแห่งภูเขา ซึ่งอยู่ติดแถบ
อีกข้างหนึ่งแล้วเลี้ยงดู. ลำดับนั้น พรานไพรชาวกรุงพาราณสีคนหนึ่ง เป็น
คนหลงทาง เมื่อไม่อาจกำหนดทิศได้ จึงร้องไห้ด้วยเสียงอันดังลั่น. พระ-

โพธิสัตว์ได้ยินเสียงของพรานไพรนั้น คิดว่า บุรุษนี้เป็นคนไร้ที่พึ่ง ข้อที่เขา
พึงพินาศไปในที่นี้ เมื่อเรายังอยู่ ไม่สมควรแก่เราเลย ดังนี้แล้ว จึงไปหาเธอ
เห็นเธอกำลังหนีไปด้วยความกลัว จึงถามว่า ดูก่อนบุรุษผู้เจริญ ท่านไม่มีภัย
เพราะอาศัยเรา ท่านอย่าหนีไปเลย เพราะเหตุไร ท่านจึงเที่ยวร้องไห้ร่ำไร


* สุขเพียงชั่วคราว แต่ต้องระทมยาวกับความทุกข์อันเกิดจากโรคที่ตามมา
* ความรู้มากมี เพราะมีมากมายไปด้วยเมตตาธรรม
* เมื่อรู้ว่าลูกจะมีภัย พ่อแม่ย่อมจะเป็นห่วง
เมื่อเข้าใจตามความเป็นจริงย่อมละทิ้งความห่วงนั้นลงได้
* ตอนมีชีวิตอยู่ทำดี เมื่อตายคนก็เสียดายและคิดถึง
ตอนมีชีิวีตอยู่ทำตัวเลว ชั่ว เมื่อตายคนก็มิได้เสียดายและเสียใจเลย
* ขยะคนไม่ชอบฉันใด บุคคลที่เปรียบเหมือนขยะสังคมนั้น คนก็ย่อมไม่รักฉันนั้น
* ขยะนั้นเกิดที่ใจ ควรขับไล่ออกไปด้วยทาน ศีล ภาวนา
* ดื่มอย่างมีสติ แต่ติดตรงที่ว่าไม่เคยฝึกสติเลยนะสิ
:b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 09 ม.ค. 2019, 20:30 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
อยู่เล่า เมื่อเขากล่าวว่า ข้าแต่นาย กระผมเป็นคนหลงทาง วันนี้เป็นวันที่ ๗
สำหรับผม จึงกล่าวว่า ดูก่อนบุรุษผู้เจริญ ท่านอย่ากลัวเลย เราจักวางท่าน
ไว้ในถิ่นมนุษย์ ดังนี้แล้ว ให้เขานั่งบนหลังตน นำออกจากป่าแล้วกลับไป.
ฝ่ายเขาเป็นคนชั่วคิดว่า เราไปยังนครแล้วจักทูลแก่พระราชา ดังนี้แล้ว จึงทำ
ต้นไม้เป็นเครื่องหมาย ทำภูเขาเป็นเครื่องหมาย ได้ออกไปยังกรุงพาราณสี.

ในกาลนั้น ช้างมงคลของพระราชาได้ทำกาละไป. พระราชาตรัสสั่งให้ตีกลอง
ร้องประกาศว่า ถ้าใคร ๆ เห็นช้างตัวเหมาะ ที่ส่งเสียงร้องในที่ใดที่หนึ่ง
ผู้นั้นจงบอก. บุรุษนั้นเข้าไปเฝ้าพระราชาแล้ว ทูลว่า ข้าแต่สมมุติเทพ
ข้าพระองค์ได้เห็นพญาช้าง ตัวมีสีเผือกปลอด เหมาะเพื่อจะทำการฝึก
ข้าพระองค์จักแสดงหนทาง ขอพระองค์ จงส่งนายหัตถาจารย์ พร้อมกับข้า-

พระองค์ ไปให้จับช้างนั้นเถิด. พระราชาตรัสรับคำแล้วจึงตรัสว่า พวกเธอ
จงทำผู้นี้ให้เป็นผู้นำทาง ไปยังป่านำพญาช้างที่บุรุษนี้พูดไว้ ดังนี้แล้ว พร้อม
ด้วยบุรุษนั้น จึงส่งนายหัตถาจารย์ พร้อมด้วยบริวารเป็นอันมาก. นาย
หัตถาจารย์ไปกับบุรุษนั้น เห็นช้างพระโพธิสัตว์ กำลังเข้าไปยังที่ซ่อนเร้น

กำลังถือเอาอาหาร. ฝ่ายพระโพธิสัตว์เห็นนายหัตถาจารย์แล้วอธิษฐานว่า ภัยนี้
ไม่ได้เกิดขึ้นจากผู้อื่น ชะรอยจักเกิดขึ้นจากสำนักบุรุษชั่วนี้นั้น ฝ่ายเราแล
เป็นผู้มีกำลังมาก และสามารถจะกำจัดช้างได้ตั้ง ๑,๐๐๐ เชือก ครั้นโกรธแล้ว
สามารถจะนำพาหนะของนายทัพ พร้อมทั้งแว่นแคว้นให้พินาศไปได้ เพราะ
ฉะนั้น วันนี้เขาเอาหอกตอกศีรษะเรา เราก็ไม่โกรธ ดังนี้แล้ว จึงน้อมศีรษะลง

ได้ยืนนิ่งเฉย. นายหัตถาจารย์ลงสู่สระปทุม เห็นความสมบูรณ์แห่งลักษณะ
ของพระโพธิสัตว์นั้น จึงกล่าวว่า มาเถอะพ่อ แล้วจับงวงอันเสมือนกับพวงเงิน
ในวันที่ ๗ จึงถึงกรุงพาราณสี. ฝ่ายมารดาพระโพธิสัตว์ เมื่อบุตรยังไม่มา
จึงคร่ำครวญว่า ชะรอยว่า พระราชาและมหาอำมาตย์ของพระราชา นำเอา
บุตรของเราไป บัดนี้ หมู่ป่าไม้นี้จักเจริญ เพราะอยู่ปราศจากช้างนั้น ดังนี้
จึงได้กล่าวคาถา ๒ คาถาว่า

ไม้อ้อยช้าง ไม้มูกมัน ไม้ช้างน้าว หญ้างวงช้าง
ข้าวฟ่าง และลูกเดือย งอกงามขึ้นแล้วเพราะพญาช้าง
นั้นพลัดพรากไป อนึ่ง ต้นกรรณิการ์ทั้งหลายที่เชิงเขา
ก็เผล็ดดอกบาน.


* สุขเพียงชั่วคราว แต่ต้องระทมยาวกับความทุกข์อันเกิดจากโรคที่ตามมา
* ความรู้มากมี เพราะมีมากมายไปด้วยเมตตาธรรม
* เมื่อรู้ว่าลูกจะมีภัย พ่อแม่ย่อมจะเป็นห่วง
เมื่อเข้าใจตามความเป็นจริงย่อมละทิ้งความห่วงนั้นลงได้
* ตอนมีชีวิตอยู่ทำดี เมื่อตายคนก็เสียดายและคิดถึง
ตอนมีชีิวีตอยู่ทำตัวเลว ชั่ว เมื่อตายคนก็มิได้เสียดายและเสียใจเลย
* ขยะคนไม่ชอบฉันใด บุคคลที่เปรียบเหมือนขยะสังคมนั้น คนก็ย่อมไม่รักฉันนั้น
* ขยะนั้นเกิดที่ใจ ควรขับไล่ออกไปด้วยทาน ศีล ภาวนา
* ดื่มอย่างมีสติ แต่ติดตรงที่ว่าไม่เคยฝึกสติเลยนะสิ
:b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 09 ม.ค. 2019, 20:31 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
พระราชาหรือพระราชกุมาร ประทับนั่งบนคอ
พญาช้างใด ซึ่งไม่มีความสะดุ้ง ย่อมกำจัดเสียซึ่ง
ปัจจามิตรทั้งหลาย อิสรชนผู้ประดับด้วยอาภรณ์อัน
งดงามผู้หนึ่ง ย่อมเลี้ยงดูพญาช้างนั้นด้วยก้อนข้าว.

บรรดาบทเหล่านั้น ด้วยบทว่า วิรุฬฺหา ได้แก่ ชื่อว่าความเจริญ
ท่านกล่าวด้วยอำนาจความหวังว่า ในข้อนี้ไม่มีความสงสัยเลย. บทว่า
สลฺลกิโย จ กุฏฺชา ได้แก่ ไม้อ้อยช้าง และไม้มูกมัน. บทว่า กุรุวินฺท-
กรวรา ภิสสาม ความว่า ไม้ช้างน้าว หญ้างวงช้าง ข้าวฟ่าง และลูกเดือย.
นางช้างคร่ำครวญว่า ก็หมู่ป่าไม้ทั้งหมดนี้ จักเจริญในบัดนี้. บทว่า นิวาเต

ได้แก่ ที่เชิงภูเขา. บทว่า ปุปฺผิตา ท่านอธิบายไว้ว่า กิ่งไม้ทั้งหลายที่ไม่
ได้ถูกบุตรของเราหักเคี้ยวกิน และต้นกรรณิการ์ก็จักผลิดอกบาน. บทว่า
โกจิเทว ได้แก่ ในที่ใดที่หนึ่ง จะเป็นบ้านหรือพระนครก็ตาม. บทว่า
สุวณฺณกายุรา ได้แก่ พระราชาและมหาอำมาตย์ของพระราชา ผู้มีเครื่อง

ประดับทำด้วยทองคำ. บทว่า ภรนฺติ ปิณฺเฑน ความว่า ในวันนี้ จัก
เลี้ยงพญาช้างตัวเลี้ยงมารดา ด้วยปิณฑะที่เจริญดีด้วยโภชนะอันสมควรแก่
พระราชา. บทว่า ยตฺถ ความว่า พระราชาประทับนั่งบนหลังพญาช้างเชือกใด.
บทว่า กวจมภิเหสฺสติ ความว่า พระราชาหรือพระราชกุมาร จักเข้าไปสู่

สงคราม กำจัด ทำลายเกราะของหมู่ข้าศึก. ท่านกล่าวคำอธิบายไว้ว่า พระราชา
หรือพระราชกุมาร ประทับนั่งในที่ใด คือ บนหลังลูกของเรา ไม่มีความ
สะดุ้งกลัว จักทำลายเกราะของหมู่ข้าศึก วันนี้พวกเขามีอาภรณ์อันล้วนด้วย
ทองคำ ย่อมเลี้ยงพญาช้างของเรานั้นด้วยก้อนข้าว.


* สุขเพียงชั่วคราว แต่ต้องระทมยาวกับความทุกข์อันเกิดจากโรคที่ตามมา
* ความรู้มากมี เพราะมีมากมายไปด้วยเมตตาธรรม
* เมื่อรู้ว่าลูกจะมีภัย พ่อแม่ย่อมจะเป็นห่วง
เมื่อเข้าใจตามความเป็นจริงย่อมละทิ้งความห่วงนั้นลงได้
* ตอนมีชีวิตอยู่ทำดี เมื่อตายคนก็เสียดายและคิดถึง
ตอนมีชีิวีตอยู่ทำตัวเลว ชั่ว เมื่อตายคนก็มิได้เสียดายและเสียใจเลย
* ขยะคนไม่ชอบฉันใด บุคคลที่เปรียบเหมือนขยะสังคมนั้น คนก็ย่อมไม่รักฉันนั้น
* ขยะนั้นเกิดที่ใจ ควรขับไล่ออกไปด้วยทาน ศีล ภาวนา
* ดื่มอย่างมีสติ แต่ติดตรงที่ว่าไม่เคยฝึกสติเลยนะสิ
:b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 09 ม.ค. 2019, 20:31 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
ฝ่ายนายหัตถาจารย์ ดำเนินไปในระหว่างทาง ส่งสาส์นไปถึงพระราชา
พระราชาตรัสสั่งให้ตบแต่งพระนคร. ฝ่ายนายหัตถาจารย์ นำพระโพธิสัตว์
ที่เขาประพรมด้วยของหอม ประดับตกแต่งเข้าไปยังโรงช้าง ให้ล้อมด้วยม่าน
อันวิจิตร ให้ผูกเพดานอันวิจิตรไว้ข้างบน แล้วให้กราบทูลแด่พระราชา.
่พระราชาทรงนำโภชนะ มีรสอันเลิศต่าง ๆ มาให้แก่พระโพธิสัตว์. พระ-
โพธิสัตว์คิดว่า เราเว้นมารดาเสีย จักไม่ยอมรับอาหาร ดังนี้แล้ว จึงไม่รับ
อาหาร. ลำดับนั้น พระราชาเมื่อจะทรงอ้อนวอนพระโพธิสัตว์ จึงตรัสคาถา
ที่ ๓ ว่า

ดูก่อนพญาช้างตัวประเสริฐ เชิญพ่อรับเอาคำ
ข้าวเถิด อย่าได้ผ่ายผอมเลย ราชกิจมีเป็นอันมาก
ท่านจักต้องทำราชกิจเหล่านั้น.
พระโพธิสัตว์ได้ฟังดังนั้น จึงกล่าวคาถาที่ ๔ ว่า

นางช้างนั้น เป็นกำพร้า ตาบอด ไม่มีผู้นำทาง
คงจะสะดุดตอไม้ล้มลงตรงภูเขาจัณโฑรณะเป็นแน่.
บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า สา นูน สา แปลว่า ข้าแต่มหาราชเจ้า
นางช้างนั้น เป็นกำพร้าแน่นอน. บทว่า กปฺปณิกา ได้แก่ เป็นกำพร้า
เพราะพลัดพรากจากบุตร. บทว่า ขาณุํ ได้แก่ ท่อนไม้ที่โค่นล้มลงในที่นั้น ๆ.
บทว่า ฆฏฺเฏติ ความว่า นางช้างร่ำไรรำพัน จึงได้สะดุดตรงที่นั้น ๆ เป็นแน่.
บทว่า จณฺโฑรณํ ปติ ความว่า นางช้างเดินบ่ายหน้าสู่ภูเขาชื่อว่า จัณโฑรณะ
คร่ำครวญอยู่ที่เชิงเขา.

ลำดับนั้น พระราชาเมื่อจะตรัสถามพระโพธิสัตว์ จึงตรัสคาถาที่ ๕ ว่า
ดูก่อนพญาช้าง นางช้างตาบอดหาผู้นำทางมิได้
คงจะสะดุดตอไม้ล้มลงตรงภูเขาจัณโฑรณะนั้น เป็น
อะไรกับท่านหรือ ?
พระโพธิสัตว์ กล่าวคาถาที่ ๖ ว่า


* สุขเพียงชั่วคราว แต่ต้องระทมยาวกับความทุกข์อันเกิดจากโรคที่ตามมา
* ความรู้มากมี เพราะมีมากมายไปด้วยเมตตาธรรม
* เมื่อรู้ว่าลูกจะมีภัย พ่อแม่ย่อมจะเป็นห่วง
เมื่อเข้าใจตามความเป็นจริงย่อมละทิ้งความห่วงนั้นลงได้
* ตอนมีชีวิตอยู่ทำดี เมื่อตายคนก็เสียดายและคิดถึง
ตอนมีชีิวีตอยู่ทำตัวเลว ชั่ว เมื่อตายคนก็มิได้เสียดายและเสียใจเลย
* ขยะคนไม่ชอบฉันใด บุคคลที่เปรียบเหมือนขยะสังคมนั้น คนก็ย่อมไม่รักฉันนั้น
* ขยะนั้นเกิดที่ใจ ควรขับไล่ออกไปด้วยทาน ศีล ภาวนา
* ดื่มอย่างมีสติ แต่ติดตรงที่ว่าไม่เคยฝึกสติเลยนะสิ
:b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 09 ม.ค. 2019, 20:32 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
ข้าแต่พระมหาราชา นางช้างตาบอดไม่มีผู้นำทาง
คงจะสะดุดตอไม้ล้มลงตรงภูเขา ชื่อ จัณโฑรณะนั้น
เป็นมารดาของข้าพระองค์.
พระราชา ทรงสดับเนื้อความแห่งคาถาที่ ๖ นั้น เมื่อจะให้ปล่อยไป
จึงตรัสคาถาที่ ๗ ว่า

พญาช้างนี้ ย่อมเลี้ยงดูมารดา ท่านทั้งหลายจง
ปล่อยพญาช้างนั้นเสียเถิด พญาช้างตัวประเสริฐจงอยู่
ร่วมกับมารดา พร้อมด้วยญาติทั้งหลายเถิด.

บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า โยยํ ภรติ ความว่า พญาช้างนี้ กล่าวว่า
ข้าแต่พระมหาราชา ข้าพระองค์เลี้ยงมารดาตาบอด เว้นข้าพระองค์เสีย
มารดาของข้าพระองค์ ก็จักถึงความสิ้นชีวิต เว้นมารดาเสีย ข้าพระองค์ไม่มี
ความต้องการด้วยความเป็นใหญ่เลย วันนี้ เมื่อมารดาของข้าพระองค์ไม่ได้
อาหารเป็นวันที่ ๗ เพราะฉะนั้น ท่านทั้งหลายจงปล่อยพญาช้างที่เลี้ยงมารดานี้
พญาช้างนั้นจงมาอยู่ร่วมกับมารดา พร้อมด้วยญาติทั้งหมด.
อภิสัมพุทธคาถาที่ ๘ และที่ ๙ มีดังนี้

พญาช้าง อันพระเจ้ากาสีทรงปล่อยแล้ว พอ
หลุดพ้นจากเครื่องผูก พักอยู่ครู่หนึ่ง ได้ไปยังภูเขา
จากนั้นเดินไปสู่สระบัวอันเย็น ที่เคยส้องเสพมา แล้ว
ดูดน้ำด้วยงวงมารดมารดา.

ได้ยินว่า พญาช้างนั้นพ้นจากเครื่องผูก พักอยู่หน่อยหนึ่ง แล้ว
แสดงธรรมแก่พระราชา ด้วยทศพิธราชธรรมคาถาแล้วให้โอวาทว่า ข้าแต่
พระมหาราชา ขอพระองค์จงอย่าเป็นผู้ประมาทเลย อันมหาชนบูชาอยู่ด้วย
เครื่องสักการะมีของหอมและดอกไม้เป็นต้น ออกจากพระนคร ถึงสระปทุมนั้น
ในขณะนั้นนั่นเอง คิดว่า เราไม่ให้มารดาของเรารับเอาอาหาร เราเองก็จัก
ไม่รับ ดังนี้แล้ว จึงถือเอารากเหง้าบัวเป็นอันมาก จึงใช้งวงดูดน้ำจนเต็ม


* สุขเพียงชั่วคราว แต่ต้องระทมยาวกับความทุกข์อันเกิดจากโรคที่ตามมา
* ความรู้มากมี เพราะมีมากมายไปด้วยเมตตาธรรม
* เมื่อรู้ว่าลูกจะมีภัย พ่อแม่ย่อมจะเป็นห่วง
เมื่อเข้าใจตามความเป็นจริงย่อมละทิ้งความห่วงนั้นลงได้
* ตอนมีชีวิตอยู่ทำดี เมื่อตายคนก็เสียดายและคิดถึง
ตอนมีชีิวีตอยู่ทำตัวเลว ชั่ว เมื่อตายคนก็มิได้เสียดายและเสียใจเลย
* ขยะคนไม่ชอบฉันใด บุคคลที่เปรียบเหมือนขยะสังคมนั้น คนก็ย่อมไม่รักฉันนั้น
* ขยะนั้นเกิดที่ใจ ควรขับไล่ออกไปด้วยทาน ศีล ภาวนา
* ดื่มอย่างมีสติ แต่ติดตรงที่ว่าไม่เคยฝึกสติเลยนะสิ
:b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


แสดงโพสต์จาก:  เรียงตาม  
กลับไปยังกระทู้  [ 2685 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1 ... 18, 19, 20, 21, 22, 23, 24 ... 179  ต่อไป

เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


 ผู้ใช้งานขณะนี้

กำลังดูบอร์ดนี้: ไม่มีสมาชิก และ บุคคลทั่วไป 36 ท่าน


ท่าน ไม่สามารถ โพสต์กระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ตอบกระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แก้ไขโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ลบโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แนบไฟล์ในบอร์ดนี้ได้

ค้นหาสำหรับ:
ไปที่:  
Google
ทั่วไป เว็บธรรมจักร


cron