วันเวลาปัจจุบัน 19 ก.ค. 2025, 17:41  



เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


กฎการใช้บอร์ด


อ่านนิทาน จากบอร์ดเก่า
http://www.dhammajak.net/board/viewforum.php?f=5



กลับไปยังกระทู้  [ 2252 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1 ... 137, 138, 139, 140, 141, 142, 143 ... 151  ต่อไป  Bookmark and Share
เจ้าของ ข้อความ
โพสต์ เมื่อ: 06 ม.ค. 2019, 17:53 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
นกจักรพรากได้ฟังดังนั้น จึงกล่าวคาถาที่ ๒ ว่า:-
ดูก่อนท่านผู้เบียดเบียนมนุษย์ ในหมู่
มนุษย์ นกทั้งหลายย่อมกล่าวถึงข้าพเจ้าทั้ง-
หลาย ซึ่งชื่อว่านกจักรพราก เนื่องโดยลำดับ
มาว่า บรรดานกทั้งหลาย เขารู้กันทั่วไปว่า
พวกข้าพเจ้าเป็นผู้มีภาวะน่านับถือ เป็นผู้มีรูป
งาม เที่ยวไปใกล้ห้วงน้ำ พวกข้าพเจ้าไม่ทำ
บาป แม้เพราะการกินเป็นเหตุ.

บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า มนุสฺสหึส ความว่า กาย่อมเบียด-
เบียน คือ รบกวนมนุษย์ทั้งหลาย เพราะเหตุนั้นนกจักรพรากจึงทักทาย
กานั้นอย่างนี้. บทว่า อนุพฺพเต หมายความว่า ไปตาม คือ บันเทิง
อยู่ ได้แก่อยู่ด้วยความรักซึ่งกันและกัน บทว่า จกฺกวาเก ความว่า

นกทั้งหลายย่อมสรรเสริญ คือ ยกย่อง ได้แก่กล่าวขวัญถึงว่า ชาตินก
นั้นชื่อว่าจักรพราก บทว่า ทิเชสุ ความว่า ขึ้นชื่อว่านกทั้งหลาย มี
ประมาณเท่าใด บรรดานกทั้งหลายมีประมาณเท่านั้น เขารู้กันทั่วไป
ในหมู่มนุษย์ว่า พวกข้าพเจ้าเป็นผู้มีภาวะน่านับถือ.

พึงทราบวินิจฉัยในอรรถวิกัปที่ ๒ ว่า ในหมู่มนุษย์ นกทั้งหลาย
ย่อมกล่าวถึงข้าพเจ้าทั้งหลายว่านกจักรพราก แต่ในหมู่นกด้วยกัน นก
ทั้งหลายย่อมกล่าวถึงพวกข้าพเจ้าว่า ข้าพเจ้าทั้งหลายเป็นผู้มีภาวะน่า
นับถือ. บทว่า อณฺณเว ความว่า ในที่นี้นกจักรพรากเรียกสระว่า

ห้วงน้ำ อธิบายว่า พวกข้าพเจ้าสองตัวเท่านั้น ชื่อว่าเป็นผู้มีรูปงาม
เพราะไม่เบียดเบียนสัตว์เหล่าอื่น เที่ยวไปใกล้สระปทุมนี้.


* สุขเพียงชั่วคราว แต่ต้องระทมยาวกับความทุกข์อันเกิดจากโรคที่ตามมา
* ความรู้มากมี เพราะมีมากมายไปด้วยเมตตาธรรม
* เมื่อรู้ว่าลูกจะมีภัย พ่อแม่ย่อมจะเป็นห่วง
เมื่อเข้าใจตามความเป็นจริงย่อมละทิ้งความห่วงนั้นลงได้
* ตอนมีชีวิตอยู่ทำดี เมื่อตายคนก็เสียดายและคิดถึง
ตอนมีชีิวีตอยู่ทำตัวเลว ชั่ว เมื่อตายคนก็มิได้เสียดายและเสียใจเลย
* ขยะคนไม่ชอบฉันใด บุคคลที่เปรียบเหมือนขยะสังคมนั้น คนก็ย่อมไม่รักฉันนั้น
* ขยะนั้นเกิดที่ใจ ควรขับไล่ออกไปด้วยทาน ศีล ภาวนา
* ดื่มอย่างมีสติ แต่ติดตรงที่ว่าไม่เคยฝึกสติเลยนะสิ
:b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสต์ เมื่อ: 06 ม.ค. 2019, 18:14 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
ก็แล บทที่ ๔ ของคาถานี้ อาจารย์บางพวกพูดว่า น ฆาสเหตุํปิ
กโรม ปาปํ ดังนี้. คำนั้น มีอธิบายว่า เพราะพวกข้าพเจ้าไม่ทำบาป
เพราะเห็นแก่กิน เพราะเหตุนั้น เขาจึงยกย่องพวกข้าพเจ้าทั้งในหมู่
มนุษย์และในหมู่นกว่าเป็นผู้มีภาวะน่านับถือ.

กาได้ยินดังนั้น จึงกล่าวคาถาที่ ๓ ว่า:-
ดูก่อนนกจักรพราก ท่านทั้งหลายกิน
ผลไม้อะไร ที่ห้วงน้ำนี้ หรือว่าท่านทั้งหลาย
กินเนื้อแต่ที่ไหน หรือว่าท่านทั้งหลายกิน
โภชนาหารอะไร กำลังและสีของท่านทั้งหลาย
จึงไม่เสื่อมทรามผิดรูป.

ศัพท์ว่า กึ ในคาถานั้น เป็นอาลปนะด้วยสามารถแห่งคำถาม
มีอธิบายว่า ดูก่อนนกจักรพราก ท่านทั้งหลายกินโภชนาหารอะไร.
บทว่า อณฺณเว คือ ในสระนี้. บทว่า ภุฺเช เท่ากับ ภุฺชถ
แปลว่า กิน อีกอย่างหนึ่ง เท่ากับ ภุฺชิตฺถ แปลว่า กินแล้ว.
หลายบทว่า มํสํ กุโต ขาทถ คือ ท่านทั้งหลายกินเนื้อของสัตว์จำพวก
ไหน ?

โว อักษรในคำว่า ภุฺชถ โว เป็นเพียงนิบาต. ศัพท์ว่า โว
นั้น สัมพันธ์เข้ากับบทข้างหน้าว่า พลฺจโว วณฺโณ จ อนปฺปรูโป
ดังนี้.
ต่อจากนั้น นกจักรพรากกล่าวคาถาที่ ๔ ว่า:-
ดูก่อนกา ผลไม้ทั้งหลายจะมีที่ห้วงน้ำ
ก็หามิได้ เนื้อที่นกจักรพรากจะกินก็มิได้มี
แต่ที่ไหน ข้าพเจ้าทั้งหลายกินแต่สาหร่าย
กับน้ำ จะได้ทำบาปเพราะการกินก็หามิได้.


* สุขเพียงชั่วคราว แต่ต้องระทมยาวกับความทุกข์อันเกิดจากโรคที่ตามมา
* ความรู้มากมี เพราะมีมากมายไปด้วยเมตตาธรรม
* เมื่อรู้ว่าลูกจะมีภัย พ่อแม่ย่อมจะเป็นห่วง
เมื่อเข้าใจตามความเป็นจริงย่อมละทิ้งความห่วงนั้นลงได้
* ตอนมีชีวิตอยู่ทำดี เมื่อตายคนก็เสียดายและคิดถึง
ตอนมีชีิวีตอยู่ทำตัวเลว ชั่ว เมื่อตายคนก็มิได้เสียดายและเสียใจเลย
* ขยะคนไม่ชอบฉันใด บุคคลที่เปรียบเหมือนขยะสังคมนั้น คนก็ย่อมไม่รักฉันนั้น
* ขยะนั้นเกิดที่ใจ ควรขับไล่ออกไปด้วยทาน ศีล ภาวนา
* ดื่มอย่างมีสติ แต่ติดตรงที่ว่าไม่เคยฝึกสติเลยนะสิ
:b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสต์ เมื่อ: 06 ม.ค. 2019, 18:15 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า จกฺกวาเก เท่ากับ จกฺกวากสฺส.
บทว่า อวากโภชนา ได้แก่ กินน้ำที่ปราศจากความผิดปกติ นกจักร-
พรากแสดงไว้ว่า พวกเรามีสาหร่ายกับน้ำเท่านั้นเป็นอาหาร. บทว่า น
ฆาสเหตุ ความว่า พวกเราจะได้ทำบาปเพราะเห็นแก่กินเหมือนอย่าง
พวกท่านก็หามิได้.

ต่อจากนั้น กาได้กล่าวคาถา ๒ คาถาว่า:-
ดูก่อนนกจักรพราก อาหารของท่านนี้
เราไม่ชอบ อาหารที่ท่านกินในภพนี้อย่างไร
ท่านก็เป็นผู้ละม้ายคล้ายกันกับอาหารนั้น ครั้ง
ก่อนเราเคยเป็นอย่างนี้มาแล้ว แต่เดี๋ยวนี้
กลายเป็นอย่างอื่นไปด้วยเหตุนี้แหละ เราจึง
เกิดความสงสัยในสีกายของท่าน.

แม้เราได้กินเนื้อ ผลไม้ และอาหารที่
เคล้าด้วยเกลือเจือด้วยน้ำมัน เราได้กินอาหาร
มีรสที่เขากินกันในหมู่มนุษย์ จึงได้กล้าหาญ
เข้าต่อสู้สงครามได้ ดูก่อนนกจักรพราก แต่สี
ของเราหาเหมือนกับของท่านไม่.

บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า อิทํ ความว่า อาหารที่ท่านกินเรา
ไม่ชอบใจ. บทคาถาว่า อสฺมึ ภเว โภชนสนฺนิกาโส ความว่า
อาหารที่ท่านกินในภพนี้อย่างไร ท่านก็เป็นผู้ละม้ายคล้ายกันกับอาหาร
นั้น คือ อาหารใดที่ท่านกินในภพที่เป็นนกจักรพรากนี้ ท่านก็เป็นผู้

คล้ายกันกับอาหารนั้น คือ เป็นผู้เช่นกับด้วยอาหารนั้น ได้แก่ เป็น
ผู้สมควรแก่อาหารนั้น อธิบายว่า ท่านเป็นผู้มีสรีระกายสมบูรณ์อย่างยิ่ง.


* สุขเพียงชั่วคราว แต่ต้องระทมยาวกับความทุกข์อันเกิดจากโรคที่ตามมา
* ความรู้มากมี เพราะมีมากมายไปด้วยเมตตาธรรม
* เมื่อรู้ว่าลูกจะมีภัย พ่อแม่ย่อมจะเป็นห่วง
เมื่อเข้าใจตามความเป็นจริงย่อมละทิ้งความห่วงนั้นลงได้
* ตอนมีชีวิตอยู่ทำดี เมื่อตายคนก็เสียดายและคิดถึง
ตอนมีชีิวีตอยู่ทำตัวเลว ชั่ว เมื่อตายคนก็มิได้เสียดายและเสียใจเลย
* ขยะคนไม่ชอบฉันใด บุคคลที่เปรียบเหมือนขยะสังคมนั้น คนก็ย่อมไม่รักฉันนั้น
* ขยะนั้นเกิดที่ใจ ควรขับไล่ออกไปด้วยทาน ศีล ภาวนา
* ดื่มอย่างมีสติ แต่ติดตรงที่ว่าไม่เคยฝึกสติเลยนะสิ
:b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสต์ เมื่อ: 06 ม.ค. 2019, 18:16 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
หลายบทว่า ตโต เม อฺถา ความว่า เมื่อก่อนความเข้าใจดังนี้
ได้มีแก่ข้าพเจ้าเพราะเห็นพวกท่านว่า นกจักรพรากเหล่านี้เคี้ยวกินผลไม้
นานาชนิด และเคี้ยวกินปลาและเนื้อในสระนี้ เพราะเหตุนั้น จึงมีรูป
ร่างสวยเลิศอย่างนี้ แต่บัดนี้เรากลายเป็นอย่างอื่นจากนี้ไป. บทว่า
อิจฺเจว เม ความว่า ด้วยเหตุนี้แหละ เราจึงเกิดความสงสัยในสีกาย

ของท่านนี้ว่า เหตุไฉนหนอแลนกจักรพรากเหล่านี้กินอาหารที่เศร้า-
หมองเห็นปานนี้ จึงมีสีดุจทอง. บทว่า อหํปิ เท่ากับ อหํ หิ, อีกอย่าง
๑ บาลีก็อย่างนี้เหมือนกัน. บทว่า ภุฺเช เท่ากับ ภุฺชามิ คือกิน.
บทว่า อนฺนานิ จ เท่ากับ โภชนานิ จ คือโภชนาหาร. บทว่า
โลณิยเตลิยานิ แปลว่า ที่เคล้าด้วยเกลือเจือด้วยน้ำมัน. บทว่า รสํ

คือ มีรสประณีตที่มนุษย์เขากินกันในหมู่มนุษย์. บทว่า วิเชตฺวา
ความว่า นักรบได้กินอาหารมีรสประณีตเหล่านั้น จึงกล้าหาญ มีความ
เพียร เข้าผจญต่อสู้สงครามได้ฉันใด เราก็ฉันนั้น ได้กินอาหารมีรส
ที่เขากินกันในหมู่มนุษย์ จึงได้กล้าหาญเข้าต่อสู้สงครามได้.

ด้วยคำว่า ยถา ตว นี้ กาชี้แจงว่า สีของเราแม้ผู้บริโภค
อาหารอันประณีตอย่างนี้ หาได้เหมือนกับของท่านไม่ เราจึงไม่เชื่อคำ
ของท่าน.

ลำดับนั้น นกจักรพรากเมื่อจะกล่าวถึงเหตุที่ไม่เจริญแห่งวรรณ-
สมบัติของกา และเหตุที่เจริญแห่งวรรณสมบัติของตน ได้กล่าวคาถาที่
เหลือว่า:-


* สุขเพียงชั่วคราว แต่ต้องระทมยาวกับความทุกข์อันเกิดจากโรคที่ตามมา
* ความรู้มากมี เพราะมีมากมายไปด้วยเมตตาธรรม
* เมื่อรู้ว่าลูกจะมีภัย พ่อแม่ย่อมจะเป็นห่วง
เมื่อเข้าใจตามความเป็นจริงย่อมละทิ้งความห่วงนั้นลงได้
* ตอนมีชีวิตอยู่ทำดี เมื่อตายคนก็เสียดายและคิดถึง
ตอนมีชีิวีตอยู่ทำตัวเลว ชั่ว เมื่อตายคนก็มิได้เสียดายและเสียใจเลย
* ขยะคนไม่ชอบฉันใด บุคคลที่เปรียบเหมือนขยะสังคมนั้น คนก็ย่อมไม่รักฉันนั้น
* ขยะนั้นเกิดที่ใจ ควรขับไล่ออกไปด้วยทาน ศีล ภาวนา
* ดื่มอย่างมีสติ แต่ติดตรงที่ว่าไม่เคยฝึกสติเลยนะสิ
:b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสต์ เมื่อ: 06 ม.ค. 2019, 18:16 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
ดูก่อนกา ท่านเป็นผู้กินอาหารไม่บริสุทธิ์
มักจะโฉบลงในขณะที่เขาพลั้งเผลอ จะได้กิน
ข้าวและน้ำก็โดยยาก ลูกไม้ทั้งหลายท่านก็ไม่
ชอบใจกิน หรือเนื้อในกลางป่าช้า ท่านก็ไม่
ชอบใจกิน.

ดูก่อนกา ผู้ใดอาศัยบริโภคโภคสมบัติ
ด้วยกรรมอันสาหัส มักจะโฉบลงในขณะที่เขา
พลั้งเผลอ ภายหลังสภาวธรรมตนเอง ก็ย่อม
ติเตียนผู้นั้น ผู้นั้นถูกสภาวธรรมตนเองติเตียน
แล้ว ก็ย่อมละทิ้งวรรณะ และกำลังเสีย.

ถ้าผู้ใดบริโภคอาหาร แม้จะนิดหน่อย
ซึ่งเป็นของเย็น ไม่เบียดเบียนผู้อื่นถึงสาหัส
ในกาลนั้น กำลังกายและวรรณะ ย่อมมีแก่
ผู้นั้น วรรณะทั้งปวงจะได้มีแก่ผู้นั้น ด้วยอาหาร
มีประการต่างๆ เท่านั้นก็หาไม่.

บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า อสุทฺธภกฺโขสิ ความว่า ท่าน
ชื่อว่าเป็นผู้กินอาหารไม่บริสุทธิ์ เพราะลักเขากินขโมยเขากิน. บทว่า
ขณานุปาตี คือ มักโฉบลงในขณะที่เขาเผลอ. สองบทว่า กิจฺเฉน เต
ความว่า ท่านนั้นจะได้กินข้าวและน้ำก็โดยยาก. บทว่า มํ สานิ วา

ความว่า หรือเนื้อเหล่าใดที่มีอยู่ในท่ามกลางป่าช้า เนื้อเหล่านั้นท่านก็
ไม่ยินดี. บทว่า ตโต เท่ากับ ปจฺฉา แปลว่า ภายหลัง. หลายบทว่า
อุปกฺโกสติ นํ สภาโว คือ ตนนั่นแล ย่อมติเตียนบุคคลผู้นั้น. บทว่า
อุปกฺกุฏฺโ€ ความว่า บุคคลผู้นั้นถูกตนเองบ้าง ถูกผู้อื่นบ้างติเตียนแล้ว
คือ ตำหนิแล้วย่อมละทิ้งวรรณะและกำลังเสีย เพราะเป็นผู้มีความเดือด-


* สุขเพียงชั่วคราว แต่ต้องระทมยาวกับความทุกข์อันเกิดจากโรคที่ตามมา
* ความรู้มากมี เพราะมีมากมายไปด้วยเมตตาธรรม
* เมื่อรู้ว่าลูกจะมีภัย พ่อแม่ย่อมจะเป็นห่วง
เมื่อเข้าใจตามความเป็นจริงย่อมละทิ้งความห่วงนั้นลงได้
* ตอนมีชีวิตอยู่ทำดี เมื่อตายคนก็เสียดายและคิดถึง
ตอนมีชีิวีตอยู่ทำตัวเลว ชั่ว เมื่อตายคนก็มิได้เสียดายและเสียใจเลย
* ขยะคนไม่ชอบฉันใด บุคคลที่เปรียบเหมือนขยะสังคมนั้น คนก็ย่อมไม่รักฉันนั้น
* ขยะนั้นเกิดที่ใจ ควรขับไล่ออกไปด้วยทาน ศีล ภาวนา
* ดื่มอย่างมีสติ แต่ติดตรงที่ว่าไม่เคยฝึกสติเลยนะสิ
:b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสต์ เมื่อ: 06 ม.ค. 2019, 18:40 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
ร้อน. สองบทว่า นิพฺพุตึ ภุฺชติ ยทิ ความว่า ก็ผิว่าผู้ใดบริโภค
อาหารแม้เพียงเล็กน้อย ซึ่งได้มาโดยธรรมชื่อว่าเป็นของเย็น ไม่เบียด-
เบียนผู้อื่น. สองบทว่า ตทสฺส โหติ ความว่า ในกาลนั้น กำลังกาย

และวรรณะในสรีระ ย่อมมีแก่ผู้นั้นผู้เป็นบัณฑิต บทว่า อาหารมเยน
คือ ด้วยอาหารมีประการต่างๆ เท่านั้น มีคำที่นกจักรพรากกล่าวไว้ดังนี้
ว่า ดูก่อนกา ขึ้นชื่อว่าวรรณะนั้นมีสมุฏฐาน ๔ ประการ คือ อาหาร
ความอบอุ่น ความคิด และกิจการที่ทำ.

นกจักรพรากติเตียนกาโดยปริยายไม่น้อยอย่างนี้ กาเกิดความ
เกลียดชังนกจักรพราก คิดว่าเราไม่ต้องการสีของท่าน แล้วก็ร้องขึ้นว่า
กา กา บินหนีไป.

พระศาสดาครั้นทรงนำพระธรรมเทศนานี้มาแสดงแล้ว ทรง
ประกาศสัจธรรม เวลาจบสัจจะ ภิกษุเหลาะแหละดำรงอยู่ในอนาคามิผล
พระทศพลทรงประชุมชาดกว่า กาในครั้งนั้น ได้มาเป็นภิกษุเหลาะ-
แหละในบัดนี้ นางนกจักรพรากในครั้งนั้น ได้มาเป็นมารดาพระราหุล
ในบัดนี้ ส่วนนกจักรพราก ได้มาเป็นเราตถาคต ฉะนี้แล.
จบ อรรถกถาจักกวากชาดกที่ ๘

:b8: :b8: :b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสต์ เมื่อ: 06 ม.ค. 2019, 18:41 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
อรรถกถาหลิททราคชาดกที่ ๙

พระศาสดาเมื่อประทับอยู่ ณ พระวิหารเชตวัน ทรงปรารภ
ความประเล้าประโลมของนางถูลกุมารี จึงตรัสเรื่องนี้มีคำเริ่มต้นว่า
สุตีติกฺขํ ดังนี้. เรื่องที่เป็นปัจจุบันจักมีแจ้งในจุลลนารทชาดก ใน
เตรสนิบาต.

ส่วนเรื่องที่เป็นอดีต มีความดังต่อไปนี้:- นางกุมาริกานั้น
ทำลายศีลของดาบสหมู่นั้นแล้ว รู้ว่าดาบสหนุ่มตกอยู่ในอำนาจของตน
คิดว่าเราจักลวงดาบสหนุ่มนี้นำไปในครรลองมนุษย์ คิดดังนี้แล้วพูดว่า
ขึ้นชื่อว่าศีลที่รักษาในป่าซึ่งเว้นจากกามคุณมีรูปเป็นต้น ย่อมจะมีผล

ใหญ่ไปไม่ได้ ศีลที่รักษาในครรลองมนุษย์ ซึ่งเป็นที่ตั้งแห่งกามคุณ
มีรูปเป็นต้น ย่อมมีผลใหญ่ มาเถิดท่านจงไปรักษาศีลกับเราในครรลอง
มนุษย์นั้น ป่าจะเป็นประโยชน์อะไรแก่ท่าน ดังนี้ จึงได้กล่าวคาถา
ที่ ๑ ว่า:-

ความอดทนด้วยศีลอยู่ในป่าอันมีที่นอน
และที่นั่งอันสงัดเงียบ จะมีผลดีอะไร ส่วน
ชนเหล่าใดอดทนอยู่ในบ้าน ชนเหล่านั้นเป็น
ผู้ประเสริฐกว่าท่าน.

ความอดกลั้นด้วยดี ชื่อว่า สุตีติกฺขํ ในคาถานั้น. บทว่า
ตีติกฺขนฺติ คือ อดกลั้นภัยธรรมชาติทั้งหลายมีความเย็น เป็นต้น.
ดาบสหนุ่มได้ฟังดังนั้นแล้ว กล่าวว่า บิดาของเราไปป่า เมื่อท่านมาแล้ว
เราจักลาท่านก่อนแล้วจึงไป.

นางกุมาริกานั้นคิดว่า ได้ยินว่า ดาบสหนุ่มนี้มีบิดาถ้าท่านเห็น
เราก็จักโบยตีให้เราถึงความพินาศด้วยไม้คานเราควรไปก่อนเถิด ครั้น
แล้วก็กล่าวกะพระดาบสหนุ่มว่า ถ้าเช่นนั้น ฉันจะทำเครื่องหมายใน
หนทางไปก่อนท่านจงตามมาภายหลัง ดาบสหนุ่มนั้นครั้นนางกุมาริกา

ไปแล้วก็มิได้เก็บฟืน มิได้ตั้งน้ำใช้น้ำฉัน ได้แต่นั่งซบเซาอยู่อย่างเดียว
เท่านั้น แม้เวลาบิดามาก็มิได้ต้อนรับ ลำดับนั้น บิดารู้ว่าบุตรของเรานี้
ตกอยู่ในอำนาจของหญิงเสียแล้ว จึงถามดาบสหนุ่มนั้นว่า แน่ะพ่อ


* สุขเพียงชั่วคราว แต่ต้องระทมยาวกับความทุกข์อันเกิดจากโรคที่ตามมา
* ความรู้มากมี เพราะมีมากมายไปด้วยเมตตาธรรม
* เมื่อรู้ว่าลูกจะมีภัย พ่อแม่ย่อมจะเป็นห่วง
เมื่อเข้าใจตามความเป็นจริงย่อมละทิ้งความห่วงนั้นลงได้
* ตอนมีชีวิตอยู่ทำดี เมื่อตายคนก็เสียดายและคิดถึง
ตอนมีชีิวีตอยู่ทำตัวเลว ชั่ว เมื่อตายคนก็มิได้เสียดายและเสียใจเลย
* ขยะคนไม่ชอบฉันใด บุคคลที่เปรียบเหมือนขยะสังคมนั้น คนก็ย่อมไม่รักฉันนั้น
* ขยะนั้นเกิดที่ใจ ควรขับไล่ออกไปด้วยทาน ศีล ภาวนา
* ดื่มอย่างมีสติ แต่ติดตรงที่ว่าไม่เคยฝึกสติเลยนะสิ
:b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสต์ เมื่อ: 06 ม.ค. 2019, 18:42 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
เหตุไรเจ้าจึงไม่เก็บฟืน ไม่ตั้งน้ำใช้น้ำฉัน ได้แต่นั่งซบเซาอยู่อย่างเดียว
เท่านั้น ดาบสหนุ่มถามว่า ข้าแต่พ่อ ได้ยินว่า ศีลที่รักษาในป่าไม่มีผลมาก
ศีลที่รักษาในครรลองมนุษย์มีผลมากกว่า ฉันจักไปรักษาศีลในครรลอง
มนุษย์ สหายของฉันสั่งว่าจงตามมาภายหลัง แล้วเขาไปล่วงหน้า ฉัน
จักไปกับสหายนั้น เมื่อฉันอยู่ในครรลองมนุษย์นั้น ควรคบคนเช่นไร
ดังนี้ จึงได้กล่าวคาถาที่ ๒ ว่า:-

ข้าแต่พ่อ ฉันออกจากป่าสู่บ้านแล้ว
ควรคบคนที่มีศีลอย่างไร มีวัตรอย่างไร ฉัน
ขอถามท่าน ขอท่านจงบอกฉันด้วย.
ลำดับนั้น ดาบสผู้บิดาเมื่อจะบอกแก่ดาบสหนุ่ม จึงได้กล่าว
คาถาที่เหลือว่า:-

แน่ะพ่อ ผู้ใดคุ้นเคยกับเจ้า อดทนต่อ
ความคุ้นเคยของเจ้าได้ เป็นผู้ตั้งใจฟังคำพูด
ของเจ้าและอดทนต่อคำพูดของเจ้าได้ เจ้าไป
จากที่นี้แล้ว จงคบผู้นั้นเถิด.
ผู้ใดไม่มีกรรมชั่วด้วยกายวาจาใจ เจ้า
ไปจากที่นี้แล้ว จงตั้งตัวเหมือนบุตรที่เกิดแต่
อกผู้นั้น จงคบผู้นั้นเถิด.

อนึ่ง ผู้ใดย่อมประพฤติโดยธรรม แม้
เมื่อประพฤติอยู่ก็ไม่ถือตัว เจ้าไปจากที่นี้แล้ว
จงคบผู้นั้น ผู้กระทำกรรมอันบริสุทธิ์ มีปัญญา
เถิด.


* สุขเพียงชั่วคราว แต่ต้องระทมยาวกับความทุกข์อันเกิดจากโรคที่ตามมา
* ความรู้มากมี เพราะมีมากมายไปด้วยเมตตาธรรม
* เมื่อรู้ว่าลูกจะมีภัย พ่อแม่ย่อมจะเป็นห่วง
เมื่อเข้าใจตามความเป็นจริงย่อมละทิ้งความห่วงนั้นลงได้
* ตอนมีชีวิตอยู่ทำดี เมื่อตายคนก็เสียดายและคิดถึง
ตอนมีชีิวีตอยู่ทำตัวเลว ชั่ว เมื่อตายคนก็มิได้เสียดายและเสียใจเลย
* ขยะคนไม่ชอบฉันใด บุคคลที่เปรียบเหมือนขยะสังคมนั้น คนก็ย่อมไม่รักฉันนั้น
* ขยะนั้นเกิดที่ใจ ควรขับไล่ออกไปด้วยทาน ศีล ภาวนา
* ดื่มอย่างมีสติ แต่ติดตรงที่ว่าไม่เคยฝึกสติเลยนะสิ
:b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสต์ เมื่อ: 06 ม.ค. 2019, 18:43 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
แน่ะพ่อ เจ้าอย่าคบบุรุษที่มีจิตกลับ-
กลอกดุจผ้าที่ย้อมด้วยน้ำขมิ้น รักง่ายหน่าย
เร็ว ถึงแม้ว่าพื้นชมพูทวีปจะพึงไร้มนุษย์.

เจ้าจงเว้นคนเช่นนั้นเสียให้ห่างไกล
เหมือนบุคคลผู้ละเว้นอสรพิษที่ดุร้าย เหมือน
บุคคลผู้ละเว้นหนทางที่เปื้อนคูถ และเหมือน
บุคคลผู้ไปด้วยยานละเว้นหนทางที่ขรุขระ
ฉะนั้น.

แน่ะพ่อ ความพินาศย่อมมีแก่ผู้ที่คบ
คนพาล เจ้าอย่าสมาคมกับคนพาลเลย การอยู่
ร่วมกับคนพาลเป็นทุกข์ทุกเมื่อ เหมือนอยู่
ร่วมกับศัตรูฉะนั้น.

แน่ะพ่อ เพราะเหตุนั้น พ่อจึงขอร้อง
เจ้า ขอเจ้าจงกระทำตามคำของพ่อ เจ้าอย่า
สมาคมกับคนพาลเลย เพราะการสมาคมกับ
คนพาลเป็นทุกข์.

บรรดาบทเหล่านั้น หลายบทว่า โย เต วิสฺสาสเต เท่ากับ
โย ตว วิสฺสาเสยฺย แปลว่า ผู้ใดพึงคุ้นเคยกับเจ้า. สองบทว่า
ขเมยฺย เต ความว่า ผู้ใดพึงอดทนต่อความคุ้นเคยที่เจ้ากระทำแล้ว
ในตน. บทว่า สุสฺสูสี จ ตีติกฺขี จ ความว่า ผู้ใดพึงเป็นผู้ประกอบ
แล้วด้วยการฟังด้วยดี ซึ่งถ้อยคำของเจ้าและด้วยการอดกลั้นต่อถ้อยคำ

ของเจ้า. ด้วยบทว่า โอรสีว ปติฏฺ€าย เจ้าพึงตั้งตน คือพึงดำรงตน
อยู่เหมือนบุตรผู้เกิดแต่อกของมารดา ฉะนั้น แล้วรู้สึกอยู่ว่า เหมือน
มารดาของตนพึงคบผู้นั้น. บทว่า โย จ ธมฺเมน จรติ ความว่า


* สุขเพียงชั่วคราว แต่ต้องระทมยาวกับความทุกข์อันเกิดจากโรคที่ตามมา
* ความรู้มากมี เพราะมีมากมายไปด้วยเมตตาธรรม
* เมื่อรู้ว่าลูกจะมีภัย พ่อแม่ย่อมจะเป็นห่วง
เมื่อเข้าใจตามความเป็นจริงย่อมละทิ้งความห่วงนั้นลงได้
* ตอนมีชีวิตอยู่ทำดี เมื่อตายคนก็เสียดายและคิดถึง
ตอนมีชีิวีตอยู่ทำตัวเลว ชั่ว เมื่อตายคนก็มิได้เสียดายและเสียใจเลย
* ขยะคนไม่ชอบฉันใด บุคคลที่เปรียบเหมือนขยะสังคมนั้น คนก็ย่อมไม่รักฉันนั้น
* ขยะนั้นเกิดที่ใจ ควรขับไล่ออกไปด้วยทาน ศีล ภาวนา
* ดื่มอย่างมีสติ แต่ติดตรงที่ว่าไม่เคยฝึกสติเลยนะสิ
:b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสต์ เมื่อ: 06 ม.ค. 2019, 19:02 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
ผู้ใดประพฤติโดยสุจริตธรรมสามอย่างนั่นแล. บทว่า น มฺติ
ความว่า แม้เมื่อประพฤติอยู่อย่างนั้น ก็ไม่ถือตัวว่าเราประพฤติธรรม.
บทว่า วิสุทฺธการึ ได้แก่ผู้กระทำกุศลกรรมบถสิบประการอันบริสุทธิ์.
บทว่า ราควิราคินํ ได้แก่ผู้รักง่ายและหน่ายเร็ว คือมีอันรักแล้ว

ก็หน่ายในขณะนั้นเป็นสภาพ. บทว่า นิมฺมนุสฺสมฺปิ เจ สิยา ความว่า
แม้ถ้าว่าพื้นชมพูทวีปจะไม่มีมนุษย์ไซร้ มีแต่มนุษย์ผู้นั้นประดิษฐาน
อยู่ผู้เดียว แม้ถึงกระนั้นเจ้าก็อย่าคบคนเช่นนั้น. บทว่า มหาปถํ
คือดุจบุคคลละเว้นหนทางที่เปรอะเปื้อนด้วยคูถฉะนั้น. บทว่า ยานีว
คือดุจบุคคลผู้ไปด้วยยาน. บทว่า วิสมํ คือที่ไม่เรียบราบเช่นเป็น

ที่ลุ่มที่ดอนมีตอและหินเป็นต้น. บทว่า พาลํ อจฺจูปเสวโต ได้แก่
ผู้คบคนพาลคือคนไม่มีปัญญา. บทว่า สพฺพทา ความว่า แน่ะพ่อ
ขึ้นชื่อว่าการอยู่ร่วมกับคนพาลเป็นทุกข์ทุกเมื่อ คือตลอดกาลเป็นนิจ
เหมือนอยู่ร่วมกับศัตรูฉะนั้น. สองบทว่า ตํ ตาหํ ความว่า เพราะเหตุนั้น
พ่อจึงขอร้องเจ้า.

ดาบสหนุ่มนั้นได้ฟังคำสอนของบิดาอย่างนี้แล้ว กล่าวว่า ข้าแต่
พ่อฉันไปสู่ครรลองมนุษย์ จักไม่ได้บัณฑิตเช่นพ่อฉันกลัวการไปใน
ครรลองมนุษย์นั้น ฉันจักอยู่ในสำนักของพ่อนี้แหละ ลำดับนั้น ดาบส
ผู้เป็นบิดาได้ให้โอวาทแก่ดาบสหนุ่มยิ่งขึ้นไปอีก แล้วสอนให้บริกรรม

ในกสิณ ต่อมาไม่นานนักดาบสหนุ่มก็ได้อภิญญาและสมาบัติ เป็นผู้มี
พรหมโลกเป็นที่ไปในเบื้องหน้ากับดาบสผู้เป็นบิดา.

พระศาสดาครั้นทรงนำพระธรรมเทศนานี้มาแสดงแล้ว ได้ทรง
ประกาศสัจธรรม เวลาจบสัจจะ ภิกษุผู้กระสันได้ดำรงอยู่ในโสดาปัตติผล
พระทศพลทรงประชุมชาดกว่า พระดาบสหนุ่มในครั้งนั้น ได้มาเป็น
ภิกษุผู้กระสันในบัดนี้ นางกุมาริกาในครั้นนั้น ได้มาเป็นนางถูลกุมาริกา
ในบัดนี้ ส่วนพระดาบสผู้เป็นบิดา คือเราตถาคต ฉะนี้แล.
จบ อรรถกถาหลิททราคชาดกที่ ๙

:b8: :b8: :b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสต์ เมื่อ: 06 ม.ค. 2019, 19:03 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
อรรถกถาสมุคคชาดกที่ ๑๐

พระศาสดาเมื่อประทับอยู่ ณ พระวิหารเชตวัน ทรงปรารภ
ภิกษุผู้กระสัน จึงได้ตรัสเรื่องนี้มีคำเริ่มต้นว่า กุโต นุ อาคจฺฉถ ดังนี้.

ความย่อว่า พระศาสดาตรัสถามภิกษุผู้กระสันนั้นว่า ดูก่อน
ภิกษุ ได้ยินว่า เธอกระสันจริงหรือ ? เมื่อภิกษุนั้นกราบทูลว่า จริง
พระเจ้าข้า ดังนี้ ตรัสว่า ดูก่อนภิกษุ เธอปรารถนามาตุคามเพราะ
เหตุไร ? ขึ้นชื่อว่ามาตุคามไม่ใช่สัตบุรุษ เป็นอกตัญญู แม้ยักษ์ทานพ

ในกาลก่อน กลืนมาตุคามเข้าไว้ในท้องพาเที่ยวไป ก็ยังไม่อาจรักษา
มาตุคาม ทำให้เธอมีสามีคนเดียวได้ เธอจักอาจรักษาได้อย่างไร ดังนี้
แล้วทรงนำเอาเรื่องในอดีตมาสาธก ดังต่อไปนี้:-

ในอดีตกาล เมื่อพระเจ้าพรหมทัตครองราชสมบัติอยู่ในพระนคร
พาราณสี พระโพธิสัตว์สละกามเข้าไปในดินแดนป่าหิมพานต์ บวช
เป็นฤๅษี ได้อภิญญาและสมาบัติแล้ว ดำรงชีพอยู่ด้วยผลไม้น้อยใหญ่
ณ ที่ไม่ไกลบรรณศาลาของพระโพธิสัตว์นั้น มียักษ์ทานพตนหนึ่งอยู่

ยักษ์นั้นเข้าไปหาพระมหาสัตว์ ฟังธรรมอยู่เสมอๆ อนึ่ง ยักษ์นั้นมัก
ไปอยู่ที่หนทางที่มนุษย์ทั้งหลายสัญจรไปมาในดง เห็นมนุษย์เดินทางมา
ก็จับกินเสีย.

ครั้งนั้น ในแคว้นกาสี มีนางกุลธิดาคนหนึ่ง มีรูปร่างสวยงาม
มาก อาศัยอยู่ ณ ปัจจันตคามแห่งหนึ่ง วันหนึ่ง นางมาเพื่อจะเยี่ยม
มารดาบิดา ในเวลากลับทานพนั้นเห็นพวกบริวารของนาง จึงวิ่งขับไล่
ด้วยรูปร่างที่น่ากลัว พวกบริวารที่ถือข้าวของไปต่างก็พากันทิ้งสิ่งของ

หนีไปสิ้น ทานพเห็นมาตุคามรูปงามนั่งมาในยาน เกิดจิตปฏิพัทธ์
จึงนำไปถ้ำของตนเลี้ยงดูเป็นภรรยา ตั้งแต่นั้นมา ทานพได้นำเนยใส
ข้าวสาร ปลา เนื้อ เป็นต้น และผลไม้ที่อร่อยมาเลี้ยงดูภรรยา และ


* สุขเพียงชั่วคราว แต่ต้องระทมยาวกับความทุกข์อันเกิดจากโรคที่ตามมา
* ความรู้มากมี เพราะมีมากมายไปด้วยเมตตาธรรม
* เมื่อรู้ว่าลูกจะมีภัย พ่อแม่ย่อมจะเป็นห่วง
เมื่อเข้าใจตามความเป็นจริงย่อมละทิ้งความห่วงนั้นลงได้
* ตอนมีชีวิตอยู่ทำดี เมื่อตายคนก็เสียดายและคิดถึง
ตอนมีชีิวีตอยู่ทำตัวเลว ชั่ว เมื่อตายคนก็มิได้เสียดายและเสียใจเลย
* ขยะคนไม่ชอบฉันใด บุคคลที่เปรียบเหมือนขยะสังคมนั้น คนก็ย่อมไม่รักฉันนั้น
* ขยะนั้นเกิดที่ใจ ควรขับไล่ออกไปด้วยทาน ศีล ภาวนา
* ดื่มอย่างมีสติ แต่ติดตรงที่ว่าไม่เคยฝึกสติเลยนะสิ
:b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสต์ เมื่อ: 06 ม.ค. 2019, 19:03 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
ประดับนางด้วยเครื่องประดับคือผ้าให้นางนอนในสมุคมีสัณฐานเหมือน
ขวด แล้วกลืนสมุคนั้นเข้าไว้ในท้อง พิทักษ์รักษาภรรยาด้วยท้อง
วันหนึ่ง ทานพนั้นไปสระน้ำแห่งหนึ่งเพื่อจะอาบน้ำ คายสมุค
ออกแล้วเอานางออกจากสมุคนั้นให้อาบน้ำ ทาแป้ง แต่งกาย แล้ว
กล่าวว่า เธอจงตากอากาศสักครู่หนึ่ง ให้นางยืนอยู่ใกล้ๆ สมุค ตนเอง

ก็ลงไปที่ท่าน้ำ มิได้มีความสงสัยภรรยา จึงได้ไปอาบไกลไปหน่อย
ขณะนั้น วิทยาธรชื่อว่าวายุบุตรเหน็บพระขรรค์เหาะมา นางนั้นเห็น
วิทยาธรแล้วยกมือชูขึ้นเป็นเชิงให้รู้ว่า มานี่เถิดท่าน วิทยาธรก็ลงมา
ทันที ลำดับนั้น นางเอาวิทยาธรนั้นใส่ในสมุค คอยแลดูทางมาของ

ทานพ พลางนั่งลงบนสมุค ครั้นเห็นทานพมาก็แสดงตนแก่ทานพนั้น
เมื่อทานพยังไม่ทันถึงสมุค นางก็เปิดสมุคแล้วเข้าไปข้างในนอนทับ
วิทยาธรแล้วเอาผ้าห่มของตนคลุมไว้ ทานพมาไม่ได้ตรวจตราสมุคให้ดี
ก่อน กลืนสมุคเข้าไปด้วยเข้าใจว่าเมียเราคนเดียวไปถ้ำของตน ใน

ระหว่างทางคิดว่า เราไม่ได้เยี่ยมท่านดาบสเสียนาน วันนี้เราจัก
นมัสการท่านก่อน จึงไปสู่สำนักท่านดาบส ดาบสเห็นทานพนั้นมา
แต่ไกลรู้ว่ามีคนสองคนอยู่ในท้อง เมื่อจะเจรจา จึงได้กล่าวคาถา
ที่ ๑ ว่า:-

แน่ะท่านผู้เจริญทั้งสาม ท่านพากันมา
จากที่ไหนหนอ ท่านทั้งหลายมาดีแล้ว เชิญ
มานั่งที่อาสนะนี้เถิดท่านผู้เจริญทั้งหลาย ท่าน
ทั้งหลายเห็นจะสุขสบายดี ไม่มีความเจ็บไข้
กระมัง นานมาแล้ว ท่านทั้งหลายเพิ่งมาใน
ที่นี้.


* สุขเพียงชั่วคราว แต่ต้องระทมยาวกับความทุกข์อันเกิดจากโรคที่ตามมา
* ความรู้มากมี เพราะมีมากมายไปด้วยเมตตาธรรม
* เมื่อรู้ว่าลูกจะมีภัย พ่อแม่ย่อมจะเป็นห่วง
เมื่อเข้าใจตามความเป็นจริงย่อมละทิ้งความห่วงนั้นลงได้
* ตอนมีชีวิตอยู่ทำดี เมื่อตายคนก็เสียดายและคิดถึง
ตอนมีชีิวีตอยู่ทำตัวเลว ชั่ว เมื่อตายคนก็มิได้เสียดายและเสียใจเลย
* ขยะคนไม่ชอบฉันใด บุคคลที่เปรียบเหมือนขยะสังคมนั้น คนก็ย่อมไม่รักฉันนั้น
* ขยะนั้นเกิดที่ใจ ควรขับไล่ออกไปด้วยทาน ศีล ภาวนา
* ดื่มอย่างมีสติ แต่ติดตรงที่ว่าไม่เคยฝึกสติเลยนะสิ
:b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสต์ เมื่อ: 06 ม.ค. 2019, 19:04 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
ศัพท์ว่า โภ ในคาถานั้นเป็นอาลปนะ.
บทว่า กจฺจิตฺถ เท่ากับ กจฺจิ โหถ ภวถ วิชฺชถ ความว่า
ท่านทั้งหลายจำเริญดีแลหรือ ? ดาบสเมื่อจะทักทายอีกจึงกล่าวว่า โภนฺโต
แปลว่า ท่านผู้เจริญทั้งหลาย. สองบทว่า กุสลํ อนามยํ ความว่า
ท่านทั้งหลายเห็นจะเป็นสุขสบายดีไม่มีโรคกระมัง ? บทคาถาว่า จิรสฺ-
สพฺภาคมนํ หิ โว อิธ ความว่า นานแล้วท่านทั้งหลายเพิ่งมาใน
ที่นี้วันนี้.

ทานพได้ฟังดังนั้น คิดว่า เรามาสำนักท่านดาบสนี้คนเดียว
เท่านั้น แต่ท่านดาบสนี้กล่าวว่าสามคน ท่านดาบสกล่าวดังนี้เพราะ
เหตุไร ท่านดาบสนี้รู้สภาพความจริงจึงกล่าวหรือ หรือว่าเป็นบ้าจึงเพ้อ
ไป เข้าไปหาท่านดาบสนมัสการแล้วนั่ง ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง เมื่อ
จะเจรจากับท่านดาบสนั้น จึงได้กล่าวคาถาที่ ๒ ว่า:-

วันนี้ข้าพเจ้ามาถึงที่นี้คนเดียวเท่านั้น
อนึ่ง ใครผู้ที่จะเป็นที่สองของข้าพเจ้าก็มิได้มี
ข้าแต่พระฤๅษีคำที่พระผู้เป็นเจ้ากล่าวว่า แน่ะ
ท่านผู้เจริญทั้งสาม ท่านพากันมาจากที่ไหน
หนอ ? ดังนี้ หมายถึงอะไร ?

บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า อิธมชฺช ตัดบทเป็น อิธ อชฺช.
บทคาถาว่า กิเมว สนฺธาย เต ภาสิตํ อิเส ความว่า ข้าแต่
พระฤๅษีผู้เจริญ คำที่พระผู้เป็นเจ้ากล่าวนั้นหมายถึงอะไร ? ขอท่านจง
บอกให้แจ่มแจ้งแก่ข้าพระเจ้าเถิด.


* สุขเพียงชั่วคราว แต่ต้องระทมยาวกับความทุกข์อันเกิดจากโรคที่ตามมา
* ความรู้มากมี เพราะมีมากมายไปด้วยเมตตาธรรม
* เมื่อรู้ว่าลูกจะมีภัย พ่อแม่ย่อมจะเป็นห่วง
เมื่อเข้าใจตามความเป็นจริงย่อมละทิ้งความห่วงนั้นลงได้
* ตอนมีชีวิตอยู่ทำดี เมื่อตายคนก็เสียดายและคิดถึง
ตอนมีชีิวีตอยู่ทำตัวเลว ชั่ว เมื่อตายคนก็มิได้เสียดายและเสียใจเลย
* ขยะคนไม่ชอบฉันใด บุคคลที่เปรียบเหมือนขยะสังคมนั้น คนก็ย่อมไม่รักฉันนั้น
* ขยะนั้นเกิดที่ใจ ควรขับไล่ออกไปด้วยทาน ศีล ภาวนา
* ดื่มอย่างมีสติ แต่ติดตรงที่ว่าไม่เคยฝึกสติเลยนะสิ
:b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสต์ เมื่อ: 06 ม.ค. 2019, 19:05 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
ท่านดาบสย้อนถามว่า อาวุโส ท่านต้องการฟังจริงๆ หรือ ?
เมื่อทานพตอบว่า จริงครับ จึงกล่าวว่า ถ้าเช่นนั้นท่านจงฟังดังนี้แล้ว
จึงได้กล่าวคาถาที่ ๓ ว่า:-

ท่านคนหนึ่ง และภรรยาที่รักของท่าน
ที่ท่านใส่ไว้ในสมุคคนหนึ่ง ภรรยาที่ท่านใส่ไว้
ในท้อง รักษาไว้ทุกเมื่อนั้น ร่วมยินดีกับ
วิทยาธรชื่อว่าวายุบุตรภายในท้องของท่านนั้น
อีกคนหนึ่ง.

บรรดาบทเหล่านั้น สองบทว่า ตฺวฺจ เอโก คืออันดับแรก
ท่านคนหนึ่ง. บทว่า ปกฺขิตฺตนิกิณฺณมนฺตเร ความว่า ที่ท่านใส่สมุค
เก็บไว้ข้างใน คือที่ท่านผู้ต้องการจะรักษาภริยานั้นทุกเมื่อ จึงใส่ไว้ใน
สมุคนั้น เก็บไว้ข้างในคือวางไว้ภายในท้องพร้อมทั้งสมุค. สองบทว่า
วายุสฺส ปุตฺเตน สหา คือร่วมยินดีกับวิทยาธรผู้มีชื่ออย่างนี้. บทว่า

ตหึ รตา คือร่วมยินดีด้วยความยินดี ด้วยอำนาจกิเลสภายในท้องของ
ท่านนั้นนั่นแหละ. ท่านดาบสนั้นกล่าวว่า บัดนี้ ท่านคิดว่า เราจักทำ
มาตุคามให้มีสามีคนเดียว จึงพิทักษ์รักษาไว้ด้วยท้อง เที่ยวอุ้มแม้ชายชู้
ของนางไปอยู่.

ทานพได้ฟังดังนั้นก็สะดุ้งกลัวว่า ธรรมดาวิทยาธรย่อมมีมายา
มาก ถ้าวิทยาธรนั้นมีพระขรรค์อยู่ในมือก็จักผ่าท้องเราหนีไป จึงคาย
สมุควางไว้ตรงหน้าทันที.


* สุขเพียงชั่วคราว แต่ต้องระทมยาวกับความทุกข์อันเกิดจากโรคที่ตามมา
* ความรู้มากมี เพราะมีมากมายไปด้วยเมตตาธรรม
* เมื่อรู้ว่าลูกจะมีภัย พ่อแม่ย่อมจะเป็นห่วง
เมื่อเข้าใจตามความเป็นจริงย่อมละทิ้งความห่วงนั้นลงได้
* ตอนมีชีวิตอยู่ทำดี เมื่อตายคนก็เสียดายและคิดถึง
ตอนมีชีิวีตอยู่ทำตัวเลว ชั่ว เมื่อตายคนก็มิได้เสียดายและเสียใจเลย
* ขยะคนไม่ชอบฉันใด บุคคลที่เปรียบเหมือนขยะสังคมนั้น คนก็ย่อมไม่รักฉันนั้น
* ขยะนั้นเกิดที่ใจ ควรขับไล่ออกไปด้วยทาน ศีล ภาวนา
* ดื่มอย่างมีสติ แต่ติดตรงที่ว่าไม่เคยฝึกสติเลยนะสิ
:b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสต์ เมื่อ: 06 ม.ค. 2019, 19:06 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
Quote Tipitaka:
พระศาสดาผู้เป็นอภิสัมพุทธะ เมื่อจะทรงประกาศความเป็นไป
นั้น จึงได้ตรัสคาถาที่ ๔ ว่า:-
ทานพนั้นอันฤๅษีชี้แจงให้ฟังแล้ว ก็มี
ความสลดใจสะดุ้งกลัว จึงคายสมุคออกมา
เปิดดู ได้เห็นภรรยาผู้ทัดทรงดอกไม้อันสะอาด
ร่วมยินดีกับวิทยาธรชื่อว่าวายุบุตรในสมุคนั้น.

บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า อทฺทกฺขิ คือเปิดสมุคแล้วจึงได้เห็น.
พอทานพเปิดสมุคขึ้นเท่านั้น วิทยาธรก็ร่ายวิชา ถือพระขรรค์
เหาะไปในอากาศ ทานพเห็นดังนั้นก็มีความยินดีต่อพระมหาสัตว์ จึงได้
กล่าวคาถาที่เหลือมีความสรรเสริญเป็นเบื้องต้นว่า:-

เหตุข้อนี้ ท่านผู้ประพฤติตบะชั้นสูง
เห็นดีแล้ว นรชนทั้งหลายเหล่าใดเป็นคน
เลวทราม ตกอยู่ในอำนาจแห่งความชื่นชม
ยินดี นรชนทั้งหลายเหล่านั้น ได้แก่ตัวเราเอง
เพราะว่าภรรยาที่เรารักษาไว้ในท้อง เพียงดัง
ชีวิต กลับมาประทุษร้ายเราไปชื่นชมยินดีกะ
บุรุษอื่น.

เราบำรุงบำเรอภรรยานั้นทั้งกลางวัน
กลางคืน เหมือนดาบสผู้มีตบะอยู่ในป่าบำเรอ
บูชาไฟอันลุกโชนฉะนั้น นางยังก้าวล่วงธรรม
ประพฤติสิ่งที่ไม่เป็นธรรม เราไม่ควรเชยชิด
ภรรยาผู้ร่าเริงเช่นนี้.


* สุขเพียงชั่วคราว แต่ต้องระทมยาวกับความทุกข์อันเกิดจากโรคที่ตามมา
* ความรู้มากมี เพราะมีมากมายไปด้วยเมตตาธรรม
* เมื่อรู้ว่าลูกจะมีภัย พ่อแม่ย่อมจะเป็นห่วง
เมื่อเข้าใจตามความเป็นจริงย่อมละทิ้งความห่วงนั้นลงได้
* ตอนมีชีวิตอยู่ทำดี เมื่อตายคนก็เสียดายและคิดถึง
ตอนมีชีิวีตอยู่ทำตัวเลว ชั่ว เมื่อตายคนก็มิได้เสียดายและเสียใจเลย
* ขยะคนไม่ชอบฉันใด บุคคลที่เปรียบเหมือนขยะสังคมนั้น คนก็ย่อมไม่รักฉันนั้น
* ขยะนั้นเกิดที่ใจ ควรขับไล่ออกไปด้วยทาน ศีล ภาวนา
* ดื่มอย่างมีสติ แต่ติดตรงที่ว่าไม่เคยฝึกสติเลยนะสิ
:b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


แสดงโพสต์จาก:  เรียงตาม  
กลับไปยังกระทู้  [ 2252 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1 ... 137, 138, 139, 140, 141, 142, 143 ... 151  ต่อไป

เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


 ผู้ใช้งานขณะนี้

่กำลังดูบอร์ดนี้: Google [Bot] และ บุคคลทั่วไป 1 ท่าน


ท่าน ไม่สามารถ โพสต์กระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ตอบกระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แก้ไขโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ลบโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แนบไฟล์ในบอร์ดนี้ได้

ค้นหาสำหรับ:
ไปที่:  
Google
ทั่วไป เว็บธรรมจักร