วันเวลาปัจจุบัน 21 ก.ค. 2025, 05:04  



เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง




กลับไปยังกระทู้  [ 33 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1, 2, 3  ต่อไป  Bookmark and Share
เจ้าของ ข้อความ
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 29 ส.ค. 2015, 04:11 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 27 มิ.ย. 2012, 14:54
โพสต์: 2805


 ข้อมูลส่วนตัว


กบนอกกะลา เขียน:
กบนอกกะลา เขียน:
:
..........
พระไตรปิฎก เล่มที่ ๒๓ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๕
อังคุตตรนิกาย สัตตก-อัฏฐก-นวกนิบาต

ปุญญาภิสันทสูตร


[๑๒๙] ดูกรภิกษุทั้งหลาย ห้วงบุญห้วงกุศล ๘ ประการนี้ นำความสุข
มาให้ ให้อารมณ์เลิศ มีสุขเป็นผล เป็นไปเพื่อสวรรค์ เป็นไปเพื่อสิ่งที่น่า
ปรารถนา น่าใคร่ น่าพอใจ เพื่อประโยชน์เกื้อกูล เพื่อความสุข ห้วงบุญ
ห้วงกุศล ๘ ประการเป็นไฉน ดูกรภิกษุทั้งหลาย อริยสาวกในธรรมวินัยนี้ ถึง
พระพุทธเจ้าเป็นสรณะ นี้เป็นห้วงบุญห้วงกุศลประการที่ ๑ นำความสุขมาให้ ให้
อารมณ์เลิศ มีสุขเป็นผล เป็นไปเพื่อสวรรค์ เป็นไปเพื่อสิ่งที่น่าปรารถนา
น่าใคร่ น่าพอใจ เพื่อประโยชน์เกื้อกูล เพื่อความสุข ฯ
อีกประการหนึ่ง อริยสาวกในธรรมวินัยนี้ ถึงพระธรรมเป็นสรณะ
นี้เป็นห้วงบุญห้วงกุศลประการที่ ๒ ฯลฯ
อีกประการหนึ่ง อริยสาวกในธรรมวินัยนี้ ถึงพระสงฆ์เป็นสรณะ นี้
เป็นห้วงบุญห้วงกุศลประการที่ ๓ ฯลฯ
ดูกรภิกษุทั้งหลาย ทาน ๕ ประการนี้ เป็นมหาทาน อันบัณฑิตพึงรู้ว่า
เป็นเลิศ มีมานาน เป็นเชื้อสายแห่งพระอริยะ เป็นของเก่า ไม่กระจัดกระจาย
ไม่เคยกระจัดกระจาย อันบัณฑิตไม่รังเกียจอยู่ จักไม่รังเกียจ อันสมณพราหมณ์
ผู้เป็นวิญญูไม่เกลียด ทาน ๕ ประการเป็นไฉน

ดูกรภิกษุทั้งหลาย อริยสาวกในธรรมวินัยนี้ เป็นผู้ละปาณาติบาต งดเว้นจากปาณาติบาต
ดูกรภิกษุทั้งหลายอริยสาวกผู้งดเว้นจากปาณาติบาต ชื่อว่าให้ความไม่มีภัย ความไม่มีเวร ความไม่
เบียดเบียน แก่สัตว์หาประมาณมิได้ ครั้นให้ความไม่มีภัย ความไม่มีเวร ความ
ไม่เบียดเบียนแก่สัตว์หาประมาณมิได้แล้ว ย่อมเป็นผู้มีส่วนแห่งความไม่มีภัย
ความไม่มีเวร ความไม่เบียดเบียน หาประมาณมิได้ ดูกรภิกษุทั้งหลาย นี้เป็น
ทานประการที่ ๑ ที่เป็นมหาทาน บัณฑิตพึงรู้ว่าเป็นเลิศ มีมานาน เป็นเชื้อสาย
แห่งพระอริยะ เป็นของเก่า ไม่กระจัดกระจาย ไม่เคยกระจัดกระจาย อันบัณฑิต
ไม่รังเกียจ อันสมณพราหมณ์ผู้เป็นวิญญูไม่เกลียด ดูกรภิกษุทั้งหลาย นี้เป็นห้วง
บุญห้วงกุศลประการที่ ๔ ฯลฯ

อีกประการหนึ่ง อริยสาวกละอทินนาทาน งดเว้นจากอทินนาทาน ฯลฯ
นี้เป็นทานประการที่ ๒ ฯลฯ นี้เป็นห้วงบุญห้วงกุศลประการที่ ๕ ฯลฯ

อีกประการหนึ่ง อริยสาวกละกาเมสุมิจฉาจาร งดเว้นจากกาเมสุมิจฉาจารฯลฯ นี้เป็นทานประการที่ ๓ ฯลฯ นี้เป็นห้วงบุญห้วงกุศลประการที่ ๖ ฯลฯ

อีกประการหนึ่ง อริยสาวกละมุสาวาท งดเว้นจากมุสาวาท ฯลฯ นี้
เป็นทานประการที่ ๔ ฯลฯ นี้เป็นห้วงบุญห้วงกุศลประการที่ ๗ ฯลฯ

อีกประการหนึ่ง อริยสาวกละการดื่มน้ำเมา คือ สุราและเมรัย อันเป็น
ที่ตั้งแห่งความประมาท งดเว้นจากการดื่มน้ำเมา คือ สุราและเมรัยอันเป็นที่ตั้ง
แห่งความประมาท
ดูกรภิกษุทั้งหลาย อริยสาวกผู้งดเว้นจากการดื่มน้ำเมา คือ
สุราและเมรัย อันเป็นที่ตั้งแห่งความประมาทแล้ว ชื่อว่าให้ความไม่มีภัย ความ
ไม่มีเวร ความไม่เบียดเบียนแก่สัตว์หาประมาณมิได้ ครั้นให้ความไม่มีภัย ความ
ไม่มีเวร ความไม่เบียดเบียนแก่สัตว์หาประมาณมิได้แล้ว ย่อมเป็นผู้มีส่วนแห่ง
ความไม่มีภัย ความไม่มีเวร ความไม่เบียดเบียนหาประมาณมิได้ ดูกรภิกษุทั้งหลาย
นี้เป็นทานประการที่ ๕ ที่เป็นมหาทาน บัณฑิตพึงรู้ว่าเป็นเลิศ มีมานาน เป็น
เชื้อสายแห่งพระอริยะ เป็นของเก่า ไม่กระจัดกระจาย ไม่เคยกระจัดกระจาย
อันบัณฑิตไม่รังเกียจ จักไม่รังเกียจ อันสมณพราหมณ์ผู้เป็นวิญญูไม่เกลียด
ดูกรภิกษุทั้งหลาย นี้เป็นห้วงบุญห้วงกุศลประการที่ ๘ นำสุขมาให้ ให้อารมณ์
อันเลิศ มีสุขเป็นผล เป็นไปเพื่อสวรรค์ ย่อมเป็นไปเพื่อสิ่งที่น่าปรารถนา
น่าใคร่ น่าพอใจ เพื่อประโยชน์เกื้อกูล เพื่อความสุข ดูกรภิกษุทั้งหลาย
ห้วงบุญห้วงกุศล ๘ ประการนี้แล นำสุขมาให้ ให้อารมณ์อันเลิศ มีสุขเป็นผล
เป็นไปเพื่อสวรรค์ ย่อมเป็นไปเพื่อสิ่งที่น่าปรารถนา น่าใคร่ น่าพอใจ เพื่อ
ประโยชน์เกื้อกูล เพื่อความสุข ฯ
จบสูตรที่ ๙


..........................................

:b16: :b16: :b16:


จากพระสูตรนี้....บอกชัดเจนว่า..อริยะสาวก..ทั้งละ...ทั้งงดเว้น...ในศีลทั้ง 5 ข้อ

ละ....นี้คือ....ไม่มีในจิตใจเลย..ไม่มีการกระทำทางใจ
งดเว้น..นี้คือ...ไม่กระทำออกมาทางกาย...

ทั้งละ..และงดเว้น...ก็รวมความว่า..ไม่มีการกระทำทั้งทางใจ..และทางกาย...
กบจะทำไงอีกพระสูตรบอกว่าอริยะเว้นกิเลสได้4ขัดกันทำไงดี

.....................................................
อย่าลืมทำกิจในอริยสัจ
เราจะเดินให้สุดทาง http://www.thaidhamma.net


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 29 ส.ค. 2015, 05:00 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 25 เม.ย. 2009, 02:43
โพสต์: 12232


 ข้อมูลส่วนตัว


พระสูตรนั้น..ที่อ้าง..ก็บอกแล้วว่า...ไม่เสพทางเสื่อม..

แต่Bigtoo อ้าง..อริยะสาวกต้องประกอบเนื่อง ๆ..จึงจะผิด...ทำบ้างไม่ผิด

ใคร ๆ ก็ไม่เห็นด้วยที่ Bigtoo เข้าใจ...แล้วก็ยังพยายาม..อาจทำให้ผู้มาใหม่..ไขว่เขว่ได้

กระผมก็ลองหาอันที่พระองค์..แสดง...ว่า..อริยะสาวกไม่ทำผิดแม้ศีล 5...โดยพระองค์ท่านใช้ทั้งคำว่า..ละ..และ..งดเว้น

ถ้าฺBigtoo จะเอาดี..ก็ต้องศึกษาเพิ่ม...ไม่ใช่จับมาพระสูตรเดียว..แถมตีความเข้าข้างตัวแบบผิด ๆ..แล้วก็ยึดอันเดียวนี้แหละไปเรื่อย....ไม่ศึกษาเพิ่มเติมให้รอบคอบ...อย่างนี้ก็ใช้ไม่ได้.....


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 29 ส.ค. 2015, 06:51 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 27 มิ.ย. 2012, 14:54
โพสต์: 2805


 ข้อมูลส่วนตัว


กบนอกกะลา เขียน:
พระสูตรนั้น..ที่อ้าง..ก็บอกแล้วว่า...ไม่เสพทางเสื่อม..

แต่Bigtoo อ้าง..อริยะสาวกต้องประกอบเนื่อง ๆ..จึงจะผิด...ทำบ้างไม่ผิด

ใคร ๆ ก็ไม่เห็นด้วยที่ Bigtoo เข้าใจ...แล้วก็ยังพยายาม..อาจทำให้ผู้มาใหม่..ไขว่เขว่ได้

กระผมก็ลองหาอันที่พระองค์..แสดง...ว่า..อริยะสาวกไม่ทำผิดแม้ศีล 5...โดยพระองค์ท่านใช้ทั้งคำว่า..ละ..และ..งดเว้น

ถ้าฺBigtoo จะเอาดี..ก็ต้องศึกษาเพิ่ม...ไม่ใช่จับมาพระสูตรเดียว..แถมตีความเข้าข้างตัวแบบผิด ๆ..แล้วก็ยึดอันเดียวนี้แหละไปเรื่อย....ไม่ศึกษาเพิ่มเติมให้รอบคอบ...อย่างนี้ก็ใช้ไม่ได้.....
ผมละอาจริงๆกับการศึกษาพระธรรมของคุณจริงๆ. พระสูตรที่คุณยกมาผมก็เข้าใจและเห็นดีด้วยทุกประการ. แต่คุณไม่เข้าใจธรรมะไม่ใช่พระสูตรผิด. คุณเข้าใจคำว่าเจตนาเป็นกรรมมั้ย. ถ้าคุณไม่เข้าใจคำนี้ก็จบเรื่องไปต่อไม่ได้เลย. คุณจะทำให้พระสูตรนั้นขัดกันเองแล้วจะเชื่อพระสูตรใด.
ผมจึงยกตัวอย่าง
อกุศลกรรมบท10
ทางเสื่อม6ประการ
ละกิเลสธรรม4ประการ
ส่วนคุณจะยกมากี่พระสูตรมันก็คือเว้นขาดผมก็เข้าใจตรงว่าต้องเว้นขาดไม่ขัดแย้งเลย(แต่เว้นขาดนี้เว้นขาดด้วยเจตนาไม่ใช่กิริยา)เข้าใจบ่. ถ้าไม่เข้าใจก็ไปศึกษาต่อว่าเจตนาเป็นกรรมนั้นคือะไร. และศิลนั้นจะผิดก็ต้องครบองค์ของการกระทำผิด ไปศึกษาดูดีๆ. นี่ต่างหากที่จะทำให้พระสูตรทุกพระสูตรไม่ขัดแย้งกัน. คำพูดพระองค์จะขัดแย้งกันไม่ได้

.....................................................
อย่าลืมทำกิจในอริยสัจ
เราจะเดินให้สุดทาง http://www.thaidhamma.net


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 29 ส.ค. 2015, 07:31 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 25 เม.ย. 2009, 02:43
โพสต์: 12232


 ข้อมูลส่วนตัว


คำพูดพระองค์..ไม่ใช่ขัดแย้งกันไม่ได้

แต่...ไม่ขัดแย้งกันเลย..ต่างหาก

ที่ Bigtoo ยกมา..บอกว่า..อริยะสาวกไม่เสพทางเสื่อม..

และที่ผมยกมา..ก็ชัดเจนว่า...พระองค์บอกว่าอริยะสาวก..ทั้งละ..และ..งดเว้น...

ก็ล้วนไปทางเดียวกัน....แต่ชัดเจนมากขึ้น...ทางใจก็ละ....ทางกายก็งดเว้น

:b1: :b1: :b1:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 29 ส.ค. 2015, 07:37 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 27 มิ.ย. 2012, 14:54
โพสต์: 2805


 ข้อมูลส่วนตัว


กบนอกกะลา เขียน:
คำพูดพระองค์..ไม่ใช่ขัดแย้งกันไม่ได้

แต่...ไม่ขัดแย้งกันเลย..ต่างหาก

ที่ Bigtoo ยกมา..บอกว่า..อริยะสาวกไม่เสพทางเสื่อม..

และที่ผมยกมา..ก็ชัดเจนว่า...พระองค์บอกว่าอริยะสาวก..ทั้งละ..และ..งดเว้น...

ก็ล้วนไปทางเดียวกัน....แต่ชัดเจนมากขึ้น...ทางใจก็ละ....ทางกายก็งดเว้น

:b1: :b1: :b1:
งั้นกบตอบคำถามของคหบดีบุตรหน่อยซิ
.1 ไม่เสพทางเสื่อม6ประการเป็นไฉน?.......
และ2กิเลสธรรม4อย่างที่อริยะเลิกได้แล้วเป็นไฉนน?............
ช่วยตอบหน่อยนะ

.....................................................
อย่าลืมทำกิจในอริยสัจ
เราจะเดินให้สุดทาง http://www.thaidhamma.net


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 29 ส.ค. 2015, 22:01 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 25 เม.ย. 2009, 02:43
โพสต์: 12232


 ข้อมูลส่วนตัว


บอกไปแล้ว


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 29 ส.ค. 2015, 22:24 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 25 เม.ย. 2009, 02:43
โพสต์: 12232


 ข้อมูลส่วนตัว


อ้างคำพูด:
มหานามสูตร
ผู้ประกอบด้วยธรรม ๔ ประการเป็นพระโสดาบัน


[๑๖๑๙] กบิลพัสดุ์นิทาน. พระผู้มีพระภาคได้ตรัสกะพระเจ้ามหานามศากยราชผู้
ประทับนั่ง ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่งว่า ดูกรมหาบพิตร อริยสาวกผู้ประกอบด้วยธรรม ๔ ประการ
ย่อมเป็นพระโสดาบัน มีความไม่ตกต่ำเป็นธรรมดา ... อริยสาวกผู้ประกอบด้วยธรรม ๔ ประการนี้
แล ย่อมเป็นพระโสดาบันมีความไม่ตกต่ำเป็นธรรมดา
เป็นผู้เที่ยงที่จะตรัสรู้ในเบื้องหน้า.
จบ สูตรที่ ๙
โสตาปัตติยังคสูตร
โสตาปัตติยังคะ ๔ ประการ


[๑๖๒๐] ดูกรภิกษุทั้งหลาย โสตาปัตติยังคะ ๔ ประการนี้ ๔ ประการเป็นไฉน? คือ
การคบสัตบุรุษ ๑ การฟังธรรม ๑ การทำไว้ในใจโดยแยบคาย ๑ การปฏิบัติธรรมสมควรแก่ธรรม ๑
ดูกรภิกษุทั้งหลาย โสตาปัตติยังคะ ๔ ประการนี้แล.
จบ สูตรที่ ๑๐
จบสคาถกปุญญาภิสันทวรรคที่ ๕



คำที่พูดว่า..อริยะสาวก...ที่อยู่ข้างต้นนั้น..หมายถึง..สาวกของอริยะ....หรือ..สาวกที่เป็นอริยะบุคคลแล้ว...เป็นแบบไหนละคับ?


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 30 ส.ค. 2015, 06:43 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 27 มิ.ย. 2012, 14:54
โพสต์: 2805


 ข้อมูลส่วนตัว


กบนอกกะลา เขียน:
อ้างคำพูด:
มหานามสูตร
ผู้ประกอบด้วยธรรม ๔ ประการเป็นพระโสดาบัน


[๑๖๑๙] กบิลพัสดุ์นิทาน. พระผู้มีพระภาคได้ตรัสกะพระเจ้ามหานามศากยราชผู้
ประทับนั่ง ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่งว่า ดูกรมหาบพิตร อริยสาวกผู้ประกอบด้วยธรรม ๔ ประการ
ย่อมเป็นพระโสดาบัน มีความไม่ตกต่ำเป็นธรรมดา ... อริยสาวกผู้ประกอบด้วยธรรม ๔ ประการนี้
แล ย่อมเป็นพระโสดาบันมีความไม่ตกต่ำเป็นธรรมดา
เป็นผู้เที่ยงที่จะตรัสรู้ในเบื้องหน้า.
จบ สูตรที่ ๙
โสตาปัตติยังคสูตร
โสตาปัตติยังคะ ๔ ประการ


[๑๖๒๐] ดูกรภิกษุทั้งหลาย โสตาปัตติยังคะ ๔ ประการนี้ ๔ ประการเป็นไฉน? คือ
การคบสัตบุรุษ ๑ การฟังธรรม ๑ การทำไว้ในใจโดยแยบคาย ๑ การปฏิบัติธรรมสมควรแก่ธรรม ๑
ดูกรภิกษุทั้งหลาย โสตาปัตติยังคะ ๔ ประการนี้แล.
จบ สูตรที่ ๑๐
จบสคาถกปุญญาภิสันทวรรคที่ ๕



คำที่พูดว่า..อริยะสาวก...ที่อยู่ข้างต้นนั้น..หมายถึง..สาวกของอริยะ....หรือ..สาวกที่เป็นอริยะบุคคลแล้ว...เป็นแบบไหนละคับ?
อะไรของคุณ งง คำว่าอริยะสาวกยังต้องให้แปล ไปดีกว่าเรา....ฝากไว้นิดกบกลับไปศึกษาเรื่องคำว่า. "เรากล่าวว่าเจตนาเป็นกรรม"

.....................................................
อย่าลืมทำกิจในอริยสัจ
เราจะเดินให้สุดทาง http://www.thaidhamma.net


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 30 ส.ค. 2015, 07:16 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 25 เม.ย. 2009, 02:43
โพสต์: 12232


 ข้อมูลส่วนตัว


อ้างคำพูด:
มหานามสูตร
ผู้ประกอบด้วยธรรม ๔ ประการเป็นพระโสดาบัน


[๑๖๑๙] กบิลพัสดุ์นิทาน. พระผู้มีพระภาคได้ตรัสกะพระเจ้ามหานามศากยราชผู้
ประทับนั่ง ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่งว่า ดูกรมหาบพิตร อริยสาวกผู้ประกอบด้วยธรรม ๔ ประการ
ย่อมเป็นพระโสดาบัน มีความไม่ตกต่ำเป็นธรรมดา ... อริยสาวกผู้ประกอบด้วยธรรม ๔ ประการนี้
แล ย่อมเป็นพระโสดาบันมีความไม่ตกต่ำเป็นธรรมดา
เป็นผู้เที่ยงที่จะตรัสรู้ในเบื้องหน้า.
จบ สูตรที่ ๙
โสตาปัตติยังคสูตร
โสตาปัตติยังคะ ๔ ประการ


[๑๖๒๐] ดูกรภิกษุทั้งหลาย โสตาปัตติยังคะ ๔ ประการนี้ ๔ ประการเป็นไฉน? คือ
การคบสัตบุรุษ ๑ การฟังธรรม ๑ การทำไว้ในใจโดยแยบคาย ๑ การปฏิบัติธรรมสมควรแก่ธรรม ๑
ดูกรภิกษุทั้งหลาย โสตาปัตติยังคะ ๔ ประการนี้แล.
จบ สูตรที่ ๑๐
จบสคาถกปุญญาภิสันทวรรคที่ ๕



กบนอกกะลา เขียน:
คำที่พูดว่า..อริยะสาวก...ที่อยู่ข้างต้นนั้น..หมายถึง..สาวกของอริยะ....หรือ..สาวกที่เป็นอริยะบุคคลแล้ว...เป็นแบบไหนละคับ?


bigtoo เขียน:
อะไรของคุณ งง คำว่าอริยะสาวกยังต้องให้แปล ไปดีกว่าเรา....ฝากไว้นิดกบกลับไปศึกษาเรื่องคำว่า. "เรากล่าวว่าเจตนาเป็นกรรม"


จะรีบไปหน่าย.... :b32:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 08 ก.ย. 2015, 06:06 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 25 เม.ย. 2009, 02:43
โพสต์: 12232


 ข้อมูลส่วนตัว


กบนอกกะลา เขียน:
:
..........
พระไตรปิฎก เล่มที่ ๒๓ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๕
อังคุตตรนิกาย สัตตก-อัฏฐก-นวกนิบาต

ปุญญาภิสันทสูตร


[๑๒๙] ดูกรภิกษุทั้งหลาย ห้วงบุญห้วงกุศล ๘ ประการนี้ นำความสุข
มาให้ ให้อารมณ์เลิศ มีสุขเป็นผล เป็นไปเพื่อสวรรค์ เป็นไปเพื่อสิ่งที่น่า
ปรารถนา น่าใคร่ น่าพอใจ เพื่อประโยชน์เกื้อกูล เพื่อความสุข ห้วงบุญ
ห้วงกุศล ๘ ประการเป็นไฉน ดูกรภิกษุทั้งหลาย อริยสาวกในธรรมวินัยนี้ ถึง
พระพุทธเจ้าเป็นสรณะ นี้เป็นห้วงบุญห้วงกุศลประการที่ ๑ นำความสุขมาให้ ให้
อารมณ์เลิศ มีสุขเป็นผล เป็นไปเพื่อสวรรค์ เป็นไปเพื่อสิ่งที่น่าปรารถนา
น่าใคร่ น่าพอใจ เพื่อประโยชน์เกื้อกูล เพื่อความสุข ฯ
อีกประการหนึ่ง อริยสาวกในธรรมวินัยนี้ ถึงพระธรรมเป็นสรณะ
นี้เป็นห้วงบุญห้วงกุศลประการที่ ๒ ฯลฯ
อีกประการหนึ่ง อริยสาวกในธรรมวินัยนี้ ถึงพระสงฆ์เป็นสรณะ นี้
เป็นห้วงบุญห้วงกุศลประการที่ ๓ ฯลฯ
ดูกรภิกษุทั้งหลาย ทาน ๕ ประการนี้ เป็นมหาทาน อันบัณฑิตพึงรู้ว่า
เป็นเลิศ มีมานาน เป็นเชื้อสายแห่งพระอริยะ เป็นของเก่า ไม่กระจัดกระจาย
ไม่เคยกระจัดกระจาย อันบัณฑิตไม่รังเกียจอยู่ จักไม่รังเกียจ อันสมณพราหมณ์
ผู้เป็นวิญญูไม่เกลียด ทาน ๕ ประการเป็นไฉน

ดูกรภิกษุทั้งหลาย อริยสาวกในธรรมวินัยนี้ เป็นผู้ละปาณาติบาต งดเว้นจากปาณาติบาต
ดูกรภิกษุทั้งหลายอริยสาวกผู้งดเว้นจากปาณาติบาต ชื่อว่าให้ความไม่มีภัย ความไม่มีเวร ความไม่
เบียดเบียน แก่สัตว์หาประมาณมิได้ ครั้นให้ความไม่มีภัย ความไม่มีเวร ความ
ไม่เบียดเบียนแก่สัตว์หาประมาณมิได้แล้ว ย่อมเป็นผู้มีส่วนแห่งความไม่มีภัย
ความไม่มีเวร ความไม่เบียดเบียน หาประมาณมิได้ ดูกรภิกษุทั้งหลาย นี้เป็น
ทานประการที่ ๑ ที่เป็นมหาทาน บัณฑิตพึงรู้ว่าเป็นเลิศ มีมานาน เป็นเชื้อสาย
แห่งพระอริยะ เป็นของเก่า ไม่กระจัดกระจาย ไม่เคยกระจัดกระจาย อันบัณฑิต
ไม่รังเกียจ อันสมณพราหมณ์ผู้เป็นวิญญูไม่เกลียด ดูกรภิกษุทั้งหลาย นี้เป็นห้วง
บุญห้วงกุศลประการที่ ๔ ฯลฯ

อีกประการหนึ่ง อริยสาวกละอทินนาทาน งดเว้นจากอทินนาทาน ฯลฯ
นี้เป็นทานประการที่ ๒ ฯลฯ นี้เป็นห้วงบุญห้วงกุศลประการที่ ๕ ฯลฯ

อีกประการหนึ่ง อริยสาวกละกาเมสุมิจฉาจาร งดเว้นจากกาเมสุมิจฉาจารฯลฯ นี้เป็นทานประการที่ ๓ ฯลฯ นี้เป็นห้วงบุญห้วงกุศลประการที่ ๖ ฯลฯ

อีกประการหนึ่ง อริยสาวกละมุสาวาท งดเว้นจากมุสาวาท ฯลฯ นี้
เป็นทานประการที่ ๔ ฯลฯ นี้เป็นห้วงบุญห้วงกุศลประการที่ ๗ ฯลฯ

อีกประการหนึ่ง อริยสาวกละการดื่มน้ำเมา คือ สุราและเมรัย อันเป็น
ที่ตั้งแห่งความประมาท งดเว้นจากการดื่มน้ำเมา คือ สุราและเมรัยอันเป็นที่ตั้ง
แห่งความประมาท
ดูกรภิกษุทั้งหลาย อริยสาวกผู้งดเว้นจากการดื่มน้ำเมา คือ
สุราและเมรัย อันเป็นที่ตั้งแห่งความประมาทแล้ว ชื่อว่าให้ความไม่มีภัย ความ
ไม่มีเวร ความไม่เบียดเบียนแก่สัตว์หาประมาณมิได้ ครั้นให้ความไม่มีภัย ความ
ไม่มีเวร ความไม่เบียดเบียนแก่สัตว์หาประมาณมิได้แล้ว ย่อมเป็นผู้มีส่วนแห่ง
ความไม่มีภัย ความไม่มีเวร ความไม่เบียดเบียนหาประมาณมิได้ ดูกรภิกษุทั้งหลาย
นี้เป็นทานประการที่ ๕ ที่เป็นมหาทาน บัณฑิตพึงรู้ว่าเป็นเลิศ มีมานาน เป็น
เชื้อสายแห่งพระอริยะ เป็นของเก่า ไม่กระจัดกระจาย ไม่เคยกระจัดกระจาย
อันบัณฑิตไม่รังเกียจ จักไม่รังเกียจ อันสมณพราหมณ์ผู้เป็นวิญญูไม่เกลียด
ดูกรภิกษุทั้งหลาย นี้เป็นห้วงบุญห้วงกุศลประการที่ ๘ นำสุขมาให้ ให้อารมณ์
อันเลิศ มีสุขเป็นผล เป็นไปเพื่อสวรรค์ ย่อมเป็นไปเพื่อสิ่งที่น่าปรารถนา
น่าใคร่ น่าพอใจ เพื่อประโยชน์เกื้อกูล เพื่อความสุข ดูกรภิกษุทั้งหลาย
ห้วงบุญห้วงกุศล ๘ ประการนี้แล นำสุขมาให้ ให้อารมณ์อันเลิศ มีสุขเป็นผล
เป็นไปเพื่อสวรรค์ ย่อมเป็นไปเพื่อสิ่งที่น่าปรารถนา น่าใคร่ น่าพอใจ เพื่อ
ประโยชน์เกื้อกูล เพื่อความสุข ฯ
จบสูตรที่ ๙


..........................................

:b16: :b16: :b16:


กบนอกกะลา เขียน:
จากพระสูตรนี้....บอกชัดเจนว่า..อริยะสาวก..ทั้งละ...ทั้งงดเว้น...ในศีลทั้ง 5 ข้อ

ละ....นี้คือ....ไม่มีในจิตใจเลย..ไม่มีการกระทำทางใจ
งดเว้น..นี้คือ...ไม่กระทำออกมาทางกาย...

ทั้งละ..และงดเว้น...ก็รวมความว่า..ไม่มีการกระทำทั้งทางใจ..และทางกาย
...


rolleyes rolleyes rolleyes


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 08 ก.ย. 2015, 06:10 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 18 ก.ย. 2011, 21:51
โพสต์: 4941


 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
าธุนะกบ ที่ค้นพระสูตรมารับรองจนได้
:b27:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 08 ก.ย. 2015, 06:29 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 27 มิ.ย. 2012, 14:54
โพสต์: 2805


 ข้อมูลส่วนตัว


กบนอกกะลา เขียน:
กบนอกกะลา เขียน:
:
..........
พระไตรปิฎก เล่มที่ ๒๓ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๕
อังคุตตรนิกาย สัตตก-อัฏฐก-นวกนิบาต

ปุญญาภิสันทสูตร


[๑๒๙] ดูกรภิกษุทั้งหลาย ห้วงบุญห้วงกุศล ๘ ประการนี้ นำความสุข
มาให้ ให้อารมณ์เลิศ มีสุขเป็นผล เป็นไปเพื่อสวรรค์ เป็นไปเพื่อสิ่งที่น่า
ปรารถนา น่าใคร่ น่าพอใจ เพื่อประโยชน์เกื้อกูล เพื่อความสุข ห้วงบุญ
ห้วงกุศล ๘ ประการเป็นไฉน ดูกรภิกษุทั้งหลาย อริยสาวกในธรรมวินัยนี้ ถึง
พระพุทธเจ้าเป็นสรณะ นี้เป็นห้วงบุญห้วงกุศลประการที่ ๑ นำความสุขมาให้ ให้
อารมณ์เลิศ มีสุขเป็นผล เป็นไปเพื่อสวรรค์ เป็นไปเพื่อสิ่งที่น่าปรารถนา
น่าใคร่ น่าพอใจ เพื่อประโยชน์เกื้อกูล เพื่อความสุข ฯ
อีกประการหนึ่ง อริยสาวกในธรรมวินัยนี้ ถึงพระธรรมเป็นสรณะ
นี้เป็นห้วงบุญห้วงกุศลประการที่ ๒ ฯลฯ
อีกประการหนึ่ง อริยสาวกในธรรมวินัยนี้ ถึงพระสงฆ์เป็นสรณะ นี้
เป็นห้วงบุญห้วงกุศลประการที่ ๓ ฯลฯ
ดูกรภิกษุทั้งหลาย ทาน ๕ ประการนี้ เป็นมหาทาน อันบัณฑิตพึงรู้ว่า
เป็นเลิศ มีมานาน เป็นเชื้อสายแห่งพระอริยะ เป็นของเก่า ไม่กระจัดกระจาย
ไม่เคยกระจัดกระจาย อันบัณฑิตไม่รังเกียจอยู่ จักไม่รังเกียจ อันสมณพราหมณ์
ผู้เป็นวิญญูไม่เกลียด ทาน ๕ ประการเป็นไฉน

ดูกรภิกษุทั้งหลาย อริยสาวกในธรรมวินัยนี้ เป็นผู้ละปาณาติบาต งดเว้นจากปาณาติบาต
ดูกรภิกษุทั้งหลายอริยสาวกผู้งดเว้นจากปาณาติบาต ชื่อว่าให้ความไม่มีภัย ความไม่มีเวร ความไม่
เบียดเบียน แก่สัตว์หาประมาณมิได้ ครั้นให้ความไม่มีภัย ความไม่มีเวร ความ
ไม่เบียดเบียนแก่สัตว์หาประมาณมิได้แล้ว ย่อมเป็นผู้มีส่วนแห่งความไม่มีภัย
ความไม่มีเวร ความไม่เบียดเบียน หาประมาณมิได้ ดูกรภิกษุทั้งหลาย นี้เป็น
ทานประการที่ ๑ ที่เป็นมหาทาน บัณฑิตพึงรู้ว่าเป็นเลิศ มีมานาน เป็นเชื้อสาย
แห่งพระอริยะ เป็นของเก่า ไม่กระจัดกระจาย ไม่เคยกระจัดกระจาย อันบัณฑิต
ไม่รังเกียจ อันสมณพราหมณ์ผู้เป็นวิญญูไม่เกลียด ดูกรภิกษุทั้งหลาย นี้เป็นห้วง
บุญห้วงกุศลประการที่ ๔ ฯลฯ

อีกประการหนึ่ง อริยสาวกละอทินนาทาน งดเว้นจากอทินนาทาน ฯลฯ
นี้เป็นทานประการที่ ๒ ฯลฯ นี้เป็นห้วงบุญห้วงกุศลประการที่ ๕ ฯลฯ

อีกประการหนึ่ง อริยสาวกละกาเมสุมิจฉาจาร งดเว้นจากกาเมสุมิจฉาจารฯลฯ นี้เป็นทานประการที่ ๓ ฯลฯ นี้เป็นห้วงบุญห้วงกุศลประการที่ ๖ ฯลฯ

อีกประการหนึ่ง อริยสาวกละมุสาวาท งดเว้นจากมุสาวาท ฯลฯ นี้
เป็นทานประการที่ ๔ ฯลฯ นี้เป็นห้วงบุญห้วงกุศลประการที่ ๗ ฯลฯ

อีกประการหนึ่ง อริยสาวกละการดื่มน้ำเมา คือ สุราและเมรัย อันเป็น
ที่ตั้งแห่งความประมาท งดเว้นจากการดื่มน้ำเมา คือ สุราและเมรัยอันเป็นที่ตั้ง
แห่งความประมาท
ดูกรภิกษุทั้งหลาย อริยสาวกผู้งดเว้นจากการดื่มน้ำเมา คือ
สุราและเมรัย อันเป็นที่ตั้งแห่งความประมาทแล้ว ชื่อว่าให้ความไม่มีภัย ความ
ไม่มีเวร ความไม่เบียดเบียนแก่สัตว์หาประมาณมิได้ ครั้นให้ความไม่มีภัย ความ
ไม่มีเวร ความไม่เบียดเบียนแก่สัตว์หาประมาณมิได้แล้ว ย่อมเป็นผู้มีส่วนแห่ง
ความไม่มีภัย ความไม่มีเวร ความไม่เบียดเบียนหาประมาณมิได้ ดูกรภิกษุทั้งหลาย
นี้เป็นทานประการที่ ๕ ที่เป็นมหาทาน บัณฑิตพึงรู้ว่าเป็นเลิศ มีมานาน เป็น
เชื้อสายแห่งพระอริยะ เป็นของเก่า ไม่กระจัดกระจาย ไม่เคยกระจัดกระจาย
อันบัณฑิตไม่รังเกียจ จักไม่รังเกียจ อันสมณพราหมณ์ผู้เป็นวิญญูไม่เกลียด
ดูกรภิกษุทั้งหลาย นี้เป็นห้วงบุญห้วงกุศลประการที่ ๘ นำสุขมาให้ ให้อารมณ์
อันเลิศ มีสุขเป็นผล เป็นไปเพื่อสวรรค์ ย่อมเป็นไปเพื่อสิ่งที่น่าปรารถนา
น่าใคร่ น่าพอใจ เพื่อประโยชน์เกื้อกูล เพื่อความสุข ดูกรภิกษุทั้งหลาย
ห้วงบุญห้วงกุศล ๘ ประการนี้แล นำสุขมาให้ ให้อารมณ์อันเลิศ มีสุขเป็นผล
เป็นไปเพื่อสวรรค์ ย่อมเป็นไปเพื่อสิ่งที่น่าปรารถนา น่าใคร่ น่าพอใจ เพื่อ
ประโยชน์เกื้อกูล เพื่อความสุข ฯ
จบสูตรที่ ๙


..........................................

:b16: :b16: :b16:


กบนอกกะลา เขียน:
จากพระสูตรนี้....บอกชัดเจนว่า..อริยะสาวก..ทั้งละ...ทั้งงดเว้น...ในศีลทั้ง 5 ข้อ

ละ....นี้คือ....ไม่มีในจิตใจเลย..ไม่มีการกระทำทางใจ
งดเว้น..นี้คือ...ไม่กระทำออกมาทางกาย...

ทั้งละ..และงดเว้น...ก็รวมความว่า..ไม่มีการกระทำทั้งทางใจ..และทางกาย
...


rolleyes rolleyes rolleyes
นี่ก็ไม่หายโง่สักทีเนาะ. ละกับงดเว้นมันก็เหมือนกัน. เขางดเว้นเจตนาทั้งหมดได้ทั้งนั้นแหล่ะครับ. คุณไปเอาพระสูตรไหนที่ท่านสอนมามันก็มีบริบทเดียวคือต้องเว้นขาดจากเจตนา. เพราะพระองค์สอนว่า เจตนคือกรรม และอย่าลืมไปดูเรื่องการล่วงศิลมันมีองค์อะไรบ้างนะอย่ามานั่งนึกว่าสิ่งนี้ถูกอย่างเดียว. มันเสียการทรงไว้ซึ่งความจริง นั้นคือการสอน. ไม่มีใครหรอกจะสอนให้ทำในสิ่งชั่วทำชั่วได้บ้างทำชั่วไม่ได้บ้าง. แต่ใครจะล่ะอะไรก็ต้องตามฐานะ. เหมือนกิเลสโลภ โกรธ. หลง. พระองค์เคยสอนให้โลภโกรธหลงมั้ยท่านก็สอนให้ละ. แล้วละกันได้มั้ยล่ะ. มันก็ละกันตามฐานะพอเข้าใจหรือยัง. ส่วนเรื่องการสนทนาพระองค์เวลาตรัสตอบก็ตอบตามฐานะชัด้จน. อริยะละกิเลสกรรมได้แค่4อย่าง. ไม่ประกอบเนื่องๆชัดเจน. ยังโง่ไม่หายสักที. อกุศลกรรมบทก็ไม่มีถ้ามันเลวร้ายขนาดนั้น. แค่นี้ไม่รู้จักคิด

.....................................................
อย่าลืมทำกิจในอริยสัจ
เราจะเดินให้สุดทาง http://www.thaidhamma.net


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 08 ก.ย. 2015, 07:36 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 25 เม.ย. 2009, 02:43
โพสต์: 12232


 ข้อมูลส่วนตัว


พระองค์บอกชัดเจน..ว่า..ทั้ง..ละ..และ..งดเว้น

อริยะสาวก...ไม่มีอะไรสงสัยในคำของพระองค์..เพราะแจ้งแก่ใจตามฐานะตนแล้ว...
กัลยาณปุถุชนผู้มีศรัทธาแล้ว...ย่อมรับฟังคำพระองค์ด้วยดี...มีใจน้อมตามธรรมที่พระองค์กล่าว...เข้าใจธรรมตามฐานะตน..

เดียรถีย์..ผู้มีความโอ้อวดตนเป็นปกติ..เมื่อฟังธรรมของพระสุคตแล้ว...
ย่อมกล่าวว่านี้ไม่ใช่ธรรม...คำของตนต่างหากเป็นธรรม...
ย่อมกล่าวว่าธรรมอันนี้เล็กน้อย..ธรรมของตนยิ่งใหญ่ครอบคลุมกว่า
ย่อมกล่าวไปต่างๆนานา..เพื่อยกตน..เพื่อยังศรัทธาแก่ศิษย์ของตน..เพื่อลาภ..เพื่อยศ..เพื่อสรรเสริญ

ปุถุชนผู้มีศรัทธา...กัลยาณปุถุชนผู้มีศรัทธาแล้ว...อริยะสาวก...เมื่อเห็นเดียรถีย์ผู้มีปกติโอ้อวด..กล่าวอยู่อย่างนั้น...ย่อมเห็นความผิดในสิ่งนั้น...ย่อมตั้งตนใว้ถูก

ผู้มีอุเบกขาสมบูรณ์...ไม่สุขไม่ทุกข์
ผู้มีอุเบกขา...อาจมานั่งอมยิ้มแก่มตุ๋ย

:b12: :b12: :b12:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 08 ก.ย. 2015, 08:03 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 27 มิ.ย. 2012, 14:54
โพสต์: 2805


 ข้อมูลส่วนตัว


กบนอกกะลา เขียน:
พระองค์บอกชัดเจน..ว่า..ทั้ง..ละ..และ..งดเว้น

อริยะสาวก...ไม่มีอะไรสงสัยในคำของพระองค์..เพราะแจ้งแก่ใจตามฐานะตนแล้ว...
กัลยาณปุถุชนผู้มีศรัทธาแล้ว...ย่อมรับฟังคำพระองค์ด้วยดี...มีใจน้อมตามธรรมที่พระองค์กล่าว...เข้าใจธรรมตามฐานะตน..

เดียรถีย์..ผู้มีความโอ้อวดตนเป็นปกติ..เมื่อฟังธรรมของพระสุคตแล้ว...
ย่อมกล่าวว่านี้ไม่ใช่ธรรม...คำของตนต่างหากเป็นธรรม...
ย่อมกล่าวว่าธรรมอันนี้เล็กน้อย..ธรรมของตนยิ่งใหญ่ครอบคลุมกว่า
ย่อมกล่าวไปต่างๆนานา..เพื่อยกตน..เพื่อยังศรัทธาแก่ศิษย์ของตน..เพื่อลาภ..เพื่อยศ..เพื่อสรรเสริญ

ปุถุชนผู้มีศรัทธา...กัลยาณปุถุชนผู้มีศรัทธาแล้ว...อริยะสาวก...เมื่อเห็นเดียรถีย์ผู้มีปกติโอ้อวด..กล่าวอยู่อย่างนั้น...ย่อมเห็นความผิดในสิ่งนั้น...ย่อมตั้งตนใว้ถูก

ผู้มีอุเบกขาสมบูรณ์...ไม่สุขไม่ทุกข์
ผู้มีอุเบกขา...อาจมานั่งอมยิ้มแก่มตุ๋ย

:b12: :b12: :b12:

เห็นกบบอกตนเองว่ายังเป็นปุถุชนอยู่. แล้วกบจะมารู้จิตใจอริยะได้อย่างไรเหรอ

.....................................................
อย่าลืมทำกิจในอริยสัจ
เราจะเดินให้สุดทาง http://www.thaidhamma.net


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 08 ก.ย. 2015, 09:50 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 25 เม.ย. 2009, 02:43
โพสต์: 12232


 ข้อมูลส่วนตัว


เป็นหรือไม่เป็นก็แล้วแต่..

แต่เคยถามตัวเองมั้ยว่า...กลัวมั้ย...ถ้าจะพูดว่าตนเป็นปุถุชนอยู่..นะ?

:b1: :b1:


แสดงโพสต์จาก:  เรียงตาม  
กลับไปยังกระทู้  [ 33 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1, 2, 3  ต่อไป

เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


 ผู้ใช้งานขณะนี้

่กำลังดูบอร์ดนี้: ไม่มีสมาชิก และ บุคคลทั่วไป 1 ท่าน


ท่าน ไม่สามารถ โพสต์กระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ตอบกระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แก้ไขโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ลบโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แนบไฟล์ในบอร์ดนี้ได้

ค้นหาสำหรับ:
ไปที่:  
Google
ทั่วไป เว็บธรรมจักร