วันเวลาปัจจุบัน 21 ก.ค. 2025, 05:11  



เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง




กลับไปยังกระทู้  [ 228 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1 ... 10, 11, 12, 13, 14, 15, 16  ต่อไป  Bookmark and Share
เจ้าของ ข้อความ
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 19 ก.ค. 2013, 14:43 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 04 ธ.ค. 2012, 15:49
โพสต์: 932


 ข้อมูลส่วนตัว


โฮฮับ เขียน:
amazing เขียน:
ผมมีความเห็นอย่างนี้นะครับ เมื่อผมรู้ว่าพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬากับมหามงกุฎนั้นต่างอ้างอิงทั้งหมดมาจากบาลีสยามรัฐ แต่หลายอย่างในพระไตรปิฎกทั้งอภิธรรมปิฎกและพระสูตรหลายพระสูตรเมื่อตรวจด้วยโปรแกรมตรวจแล้วไม่มีในบาลีสยามรัฐ ก็แสดงว่าพระไตรปิฎกทั้งสองสำนักแต่งใหม่ขึ้นมา มันอาจจะมีความจริงบ้างและไม่จริงบ้างเราไม่ไม่สมควรที่จะศึกษาเพราะที่แต่งใหม่นั้นเป้นความเห้นที่สาวกรุ่นหลังแต่งใหม่เจือปนอยู่ ซึ่งเป็นสิ่งที่พระองค์ทรงห้ามไว้อย่างชัดเจน

ที่คุณบอกว่าแต่งใหม่ ถามหน่อยใหม่จากอะไรครับ(ผมงงกับคุณจริงๆ)
คณกรุณาตั้งสติตั้งใจฟังนะครับว่า.....พระไตรปิฎกฉบับปัจจุบัน เป็นพระไตรปิฎกแปล
เขาแปลมาจากบาลีสยามรัฐ คุณจะมาว่าเขาแต่งใหม่ได้อย่างไร
ถ้าแต่งใหม่เขาต้องเขียนบาลีขึ้นใหม่ แบบนี้ถึงจะเรียกว่าแต่งใหม่

แล้วที่บอกโปรแกรมไม่มี แล้วไปโทษหาว่าคนอื่นเขียนขึ้นมาใหม๋
ถามหน่อยโปรแกรมพุทธวจนที่คุณใช้กับพระไตรปิฎกฉบับปัจจุบัน ใครมันมีมาก่อนครับ
ไอ้โปรแกรมที่คุณว่า อย่าว่าแต่ของคนอื่นไม่มีเลย แม้แต่พจนานุกรมของโปรแกรม
ผมเอาบาลีไปหาคำแปลยังไม่มีเลย ....โปรแกรมทำมาไม่ละเอีดนั้นไปโทษชาวบ้าน

พระไตรปิฏกฉบับปัจจุบัน เป็นฉบับแปลบาลีและอธิบายความหมายของบาลี
เขาไม่ได้เพิ่มสิ่งที่เป็นพุทธพจน์ คุณเข้าใจมั้ย
ดังนั้นมันไม่ใช่การเอาคำที่แปลและอธิบายความไปเสิร์ชหาบาลี
......มันต้องเอาบาลีเป็นตัวตั้งแล้วค่อยเสิร์ชหาคำแปลหรือคำอธิบายความที่เป็นไทย เข้าใจมั้ย

แล้วที่บอกพุทธเจ้าห้ามน่ะ ห้ามอะไรผมขอหลักฐานที่เป็นพุทธวจนคุณ
หลายหนแล้วน่ะ

amazing เขียน:
และแม้แต่ในฉบับบาลีสยามรัฐเองเมื่อศึกษาเข้าไปแล้วก็ยังเห็นว่าเป็นคำของสาวกเจือปนอยู่ด้วยซึ่งพระศาสดาตรัสไว้ว่า สาวกเป็นผู้เดินตามเป็นผู้ฟังคำกล่าวของพระศาสดาเท่านั้น ซึ่งสาวกไม่มีคำสอนของตนเอง สาวกเป็นผู้มีหน้าที่นำคำสอนของพระศาสดามาบอกต่อด้วยปากต่อปาก สิ่งนี้จะทำให้พระสัทธรรมสืบต่อและยังยืนนาน พระอาจารย์ท่านมีความตั้งใจที่จะคัดเอาแต่คำของพระตถาคตเท่านั้น และพระอาจารย์ท่านยังบอกกับลูกศิษย์ว่า ให้ฟังและอ่านแต่คำตถาคตเท่านั้นไม่ใช่ยึดติดตัวอาจารย์เพราะตัวอาจารย์อาจมีผิดบ้างให้สนใจและถกเถียงกันแต่คำตถาคต เรื่องของเรื่องก็มีเท่านี้ไม่เห็นมีอะไร

คุณเพี้ยนหรือเปล่าครับ พูดไปพูดมา แม้กระทั้งบาลีสยามรัฐคุณก็จะไม่เอาอีก
หาว่ามีของสาวกเจือปน สรุปคุณจะเอาอย่างไรกันแน่ หรือเอาแต่คำสอนของอาจารย์คุณ

อาจารย์คุณรู้ดีกว่า อรหันตสาวก รู้ดีกว่าพระสารีบุตร ใช่มั้ย
ผมว่าอาจารย์คุณจะถูกชาวบ้านเขาปรามาสก็เพราะตัวคุณที่แสดงความเห็นแบบนี้น่ะครับ
amazing เขียน:
ส่วนลิ้งที่คุณยกมาผมเห็นว่าเป็นเรื่องธรรมดาของโลกที่แสดงความคิดเห็น พระอาจารย์ก็ยังบอกต่อว่า ให้ศึกษาแต่คำตถาคต แล้วหยั่งลงมั่นเท่านั้น เปรียบเหมือนเรานั่งต่อหน้าพระองค์แล้วพระองค์ก็สอนเราโดยตรง ชีวิตนี้ทำเท่านี้ในเรื่องการศึกษาและปฎิบัติธรรม เพราะเรามีหลักฐานเก่าแก่ที่สุดเท่านี้ (สรุปฟังพุทธวจน และปฎิบัติสมถะวิปัสนาโดยใช้อานาปานสติ เท่านี้ง่ายดีครับ)

ปัญหามันไม่ได้อยู่ที่การแสดงความเห็นครับ เพียงแต่ผมเห็นคุณกำลัง
กล่าวอ้างสรรพคุณอาจารย์ของคุณ อันเกี่ยวข้องกับพุทธวจน

ผมก็เลยเอาลิ้งมาให้ดูว่า .....พุทธวจนที่ออกมาจากปากพวกคุณ
ไงมันกลายเป็นยีห้อสินค้าไปได้.....ขนมปังตราพุทธวจน
แบบนี้อาจารย์คุณไม่ว่า ลูกศิษย์ทำพระสัทธรรมเสื่อมหรือครับ :b32:
เอาง่ายๆอย่างนีดีมั้ยบาลีสลามรัฐก็มีอยู่แล้ว ศึกษาตรงนั้นดีมั้ยเลือกเอาแต่พุทธวจนดีมั้ย ส่วนเรื่องขนมปังอะไรของคุณมันเกี่ยวอะไรกับผม ผมบอกให้คุณซื้อขนมปังเหรอ แต่ถ้ามันมีกดีนะ พุทธวจนจะได้อยู่ทั่วอณูของทุกส่วนในการใช้ชีวิต กินขนมปังไปเรียนรูสิ่งที่ดีไปด้วย

ที่นี้มาดู 31ภพภูมิ มันถูกหรือผิด ตามพุทธวจนฉบับบาลีสยามรัฐมีเป็นร้อยภพภูมิ คุณโฮฮับลองเปิดใจไปฟังที่ท่านอาจารย์ดูนะครับว่าทำไมต้องพุทธวจน อย่างเดียวเพื่อจะได้ข้อคิดเห็นอะไรดีสำหรับตัวคุณบ้าง และจะได้รู้ว่ามีอะไรที่เขียนเพิ่มเติมจากฉบับเดิมบาง


แก้ไขล่าสุดโดย amazing เมื่อ 19 ก.ค. 2013, 15:32, แก้ไขแล้ว 3 ครั้ง.

โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 19 ก.ค. 2013, 14:47 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 04 ธ.ค. 2012, 15:49
โพสต์: 932


 ข้อมูลส่วนตัว


กบนอกกะลา เขียน:
หากทาง...ที่ยังไม่เคยเดิน....คนที่พูดบอกทาง....เขาทำได้เพียง..สักแต่ว่าพูด...จะใช้ความคิดวิเคราะห์วิจารณ์ให้เริดหรู่

อย่างไร......ก็ยังขาดอัตถรสแก่ผู้ที่มีอินทรีย์แก่รอบพอที่จะผ่านจุดนั้นไปได้...
ในขณะเดียวกัน....จะดูดีมีค่า....กับผู้ที่เอาแต่ใช้ความคิด...อย่างเดียวกัน

พุทธวจน..นั้นดีอยู่แล้ว...แต่กิเลสตัณหาทั้งหยาบทั้งละเอียดที่แฝงในตัวผู้พูด...นั้นไม่ดีเลย

ทางที่ยังไม่เคยเดิน...จะอธิบายอย่างไร...ก็ยังเป็นชั้นความคิด
คนที่เคยเดิน....บอกได้ลึกแบบ..ไม่มีคำว่า...คิดว่า...หรือ..น่าจะ...อะไรทำนองนี้...เป็นต้น

อย่างที่หลวงตาว่า...พอเราเป็นซะเอง....มันจะรู้ได้เลยว่า..ผู้รสจนาตำราเป็นอรหันต์หรือไม่เป็น
แล้วก็แปลก..ที่คนเป็น.(คิดว่าก็มีไม่น้อย)...ไม่หยักกะไปเปลี่ยนแปลคำ..บางคำ..ที่ต่อเติมเพิ่มขึ้นมา

ส่วนตัวคิดว่า..ตรงนี้.มีเหตุผลในตัวของมัน....

คนที่ไม่เข้าใจเหตุผลอันนี้....ก็อาจเข้าไปจัดการตามความรู้สึกตน..

หากเข้าใจแล้ว..ก็คงหยุดเอง
ผมก็เพียงกลั่นกรองสิ่งที่ง่ายที่สุด เช่นฟังพุทธวจน ปฎิบัติอานาปานสติให้รู้ว่านี้เป็นเส้นทางง่ายสุดแก่การถึงจุดหมาย ส่วนที่เหลือมันขึ้นอยู่กับอินทรีย์ของผู้ฟังแล้วล่ะครับ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 19 ก.ค. 2013, 15:13 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 14 ก.ค. 2008, 21:56
โพสต์: 3925

ชื่อเล่น: เช่นนั้น
อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


student เขียน:
อ้างคำพูด:
[๑๒๕] ในธาตุ ๑๘ นั้น จักขุธาตุ เป็นไฉน
จักขุใด เป็นปสาทรูป อาศัยมหาภูตรูป ๔ ฯลฯ ๑- นี้เรียกว่า บ้านว่าง
บ้าง นี้เรียกว่า จักขุธาตุ
รูปธาตุ เป็นไฉน
รูปใด อาศัยมหาภูตรูป ๔ ได้แก่ สี ฯลฯ นี้เรียกว่า รูปธาตุบ้าง
นี้เรียกว่า รูปธาตุ
จักขุวิญญาณธาตุ เป็นไฉน
@๑. ความที่ ฯลฯ ในอภิธรรมภาชนีย์นี้ พึงดูความเต็มในธรรมสังคณีปกรณ์
@ตั้งแต่ข้อ (๕๑๖) เป็นลำดับไป
จิต มโน มานัส หทัย ปัณฑร มโน มนายตนะ มนินทรีย์
วิญญาณ วิญญาณขันธ์ จักขุวิญญาณธาตุที่สมกัน อาศัยจักขุปสาทและรูปารมณ์
เกิดขึ้น นี้เรียกว่า จักขุวิญญาณธาตุ......ฯลฯ.......
มโนวิญญาณธาตุ เป็นไฉน
มโนธาตุเกิดในลำดับแห่งการเกิดดับของจักขุวิญญาณธาตุ จิต มโน
มานัส ฯลฯ มโนวิญญาณธาตุที่สมกัน เกิดในลำดับแห่งการเกิดดับแม้ของ
มโนธาตุอีกชั้นหนึ่ง มโนธาตุ เกิดในลำดับแห่งการเกิดดับของโสตวิญญาณธาตุ
ฯลฯ มโนธาตุ เกิดในลำดับแห่งการเกิดดับของฆานวิญญาณธาตุ ฯลฯ มโนธาตุ
เกิดในลำดับแห่งการเกิดดับของชิวหาวิญญาณธาตุ ฯลฯ มโนธาตุ เกิดในลำดับ
แห่งการเกิดดับของกายวิญญาณธาตุ จิต มโน มานัส ฯลฯ มโนวิญญาณธาตุ
ที่สมกัน เกิดในลำดับแห่งการเกิดดับแม้ของมโนธาตุอีกชั้นหนึ่ง จิต มโน
มานัส หทัย ปัณฑร มโน มนายตนะ มนินทรีย์ วิญญาณ วิญญาณขันธ์
มโนวิญญาณธาตุที่สมกัน อาศัยมโนและธรรมารมณ์เกิดขึ้น นี้เรียกว่า มโน-
*วิญญาณธาตุ
อภิธรรมภาชนีย์ จบ


คุณ เช่นนั้น เอามาลง อ่านเห็นคำว่า หทัย จึงเกิดความสนใจมาก เพราะปฏิบัติแล้ว มีความรู้สึกถึงความสัมพันธ์เมื่อธรรมเกิด หทัยเป็นตัวส่งและเป็นตัวรับ อยากทราบรายละเอียดเพิ่มเติมครับ

จิต มโน มานัส หทัย ปัณฑร มโน มนายตนะ มนินทรีย์ วิญญาณ วิญญาณขันธ์
ทั้งหมดนี้ เป็นชื่อเรียก ของธรรมชาติที่รู้แจ้ง

การที่คุณ student กล่าวว่า "มีความรู้สึกถึงความสัมพันธ์เมื่อธรรมเกิด หทัยเป็นตัวส่ง และเป็นตัวรับ"
เพราะวิญญาณ 5 เมื่อเกิดดับไป มโนวิญญาณในลำดับต่อไป นั้นสืบต่อมาจากวิญญาณ 5 ที่ดับไป
แต่มโนวิญญาณที่สืบต่อมานั้น ก็มีเจตสิกธรรมประกอบกับมันเองนั้นพ่วงมาด้วย
จิตทำการปรุงแต่งต่ออารมณ์จึงทำให้ student รู้สึกว่า มีอะไรบางอย่างเป็นตัวส่งตัวรับ

หวังว่าอธิบายตรงต่อคำถามของ Student

.....................................................
ธรรมะอันยิ่งใหญ่ ไม่อาจเอื้อนเอ่ย
บัญญัติ เป็นเพียงสิ่งต่ำต้อยแบกรับความยิ่งใหญ่


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 20 ก.ค. 2013, 02:44 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 13 ก.พ. 2010, 17:53
โพสต์: 4999

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


amazing เขียน:
เอาง่ายๆอย่างนีดีมั้ยบาลีสลามรัฐก็มีอยู่แล้ว ศึกษาตรงนั้นดีมั้ยเลือกเอาแต่พุทธวจนดีมั้ย ส่วนเรื่องขนมปังอะไรของคุณมันเกี่ยวอะไรกับผม ผมบอกให้คุณซื้อขนมปังเหรอ แต่ถ้ามันมีกดีนะ พุทธวจนจะได้อยู่ทั่วอณูของทุกส่วนในการใช้ชีวิต กินขนมปังไปเรียนรูสิ่งที่ดีไปด้วย

ที่นี้มาดู 31ภพภูมิ มันถูกหรือผิด ตามพุทธวจนฉบับบาลีสยามรัฐมีเป็นร้อยภพภูมิ คุณโฮฮับลองเปิดใจไปฟังที่ท่านอาจารย์ดูนะครับว่าทำไมต้องพุทธวจน อย่างเดียวเพื่อจะได้ข้อคิดเห็นอะไรดีสำหรับตัวคุณบ้าง และจะได้รู้ว่ามีอะไรที่เขียนเพิ่มเติมจากฉบับเดิมบาง

เตือนหลายครั้งแล้วว่า อย่าพูดจาลอยๆ ยิ่งที่เป็นเรื่องกระทบกระเทีอนถึงคนอื่น
มันต้องมีหลักฐาน

นี่มาอีกแล้ว ภพภูมิอะไรของคุณ ร้อยภพ ๓๑ภูมิ ว่าไปซะไกลเกินกู่
เรื่องที่เห็นๆแค่กายใจตนยังไม่รู้เรื่อง ไถลไปภพภูมิอีกแล้ว

บอกกี่ครั้งแล้วว่า แสดงความเห็นประเด็นที่เกี่ยวกับพุทธวจน
ให้โพสพุทธวจนมาด้วย มันถึงจะได้คุยกันถูกเรื่อง
พูดจาลอยๆแบบนี้ มันไม่มีสาระ(เพ้อเจ้อ) ...เข้าใจมั้ย


เอาเป็นว่าผมฝากธรรมให้คุณและอาจารย์คุณ
เอาไว้เตือนสติ
พุทธวจนว่าด้วย.....

.ปรมัฏฐกสูตร
บุคคลในโลกยึดถือในทิฐิทั้งหลายว่า สิ่งนี้เป็นอย่างยิ่ง
ย่อมกระทำศาสดาเป็นต้นของตนให้เป็นผู้ประเสริฐ กล่าว
ผู้อื่นนอกจากศาสดาเป็นต้นของตนนั้นว่า เลวทั้งหมด เพราะ
เหตุนั้น บุคคลนั้นจึงไม่ล่วงพ้นความวิวาทไปได้ บุคคลนั้น
เห็นอานิสงส์อันใดในตนกล่าวคือ ทิฐิ ที่เกิดขึ้นในสิ่งเหล่านี้
คือ ในรูปที่ได้เห็น เสียงที่ได้ฟัง ศีล พรต หรืออารมณ์
ที่ได้ทราบ บุคคลนั้นยึดมั่นอานิสงส์ในทิฐิของตนนั้นแลว่า
ประเสริฐที่สุด เห็นศาสดาอื่นทั้งหมดโดยความเป็นคนเลว
อนึ่ง บุคคลผู้อาศัยศาสดาของตนแล้ว เห็นศาสดาอื่น
เป็นคนเลว เพราะความเห็นอันใด ท่านผู้ฉลาดทั้งหลาย
กล่าวความเห็นนั้นว่า เป็นกิเลสเครื่องร้อยรัด เพราะฉะนั้น
แหละ ภิกษุไม่พึงยึดมั่นรูปที่ได้เห็น เสียงที่ได้ฟัง
อารมณ์ที่ได้ทราบ หรือศีลและพรต แม้ทิฐิก็ไม่พึงกำหนด
ด้วยญาณ หรือแม้ด้วยศีลและพรตในโลก ไม่พึงนำตนเข้า
ไปเปรียบว่า เป็นผู้เสมอเขา ไม่พึงสำคัญว่า เป็นผู้เลว
กว่าเขา หรือว่าเป็นผู้วิเศษกว่าเขา ภิกษุนั้นละความเห็นว่า
เป็นตนได้แล้ว ไม่ถือมั่นอยู่ ย่อมไม่กระทำนิสัย (ตัณหา
นิสัยและทิฐินิสัย) แม้ในญาณ ไม่เป็นผู้แล่นไปเข้าพวก
ในสัตว์ทั้งหลายผู้แตกต่างกันด้วยอำนาจทิฐิต่างๆ ย่อมไม่
กลับมาแม้สู่ทิฐิอะไรๆ พราหมณ์ในโลกนี้ไม่มีตัณหาใน
ส่วนสุดทั้ง ๒ มีผัสสะเป็นต้นเพื่อความเกิดบ่อยๆ ในโลกนี้
หรือในโลกอื่น ไม่มีความยึดมั่นอะไรๆ ไม่มีสัญญาอันปัจจัย
กำหนดแล้วแม้แต่น้อย ในรูปที่ได้เห็น ในเสียงที่ได้ฟัง
หรือในอารมณ์ที่ได้ทราบ ในโลกนี้ เพราะได้ตัดสินธรรม
ที่ตนยึดถือแล้วในธรรมทั้งหลาย ใครๆ จะพึงกำหนดพราหมณ์
นั้นผู้ไม่ถือมั่นทิฐิ ด้วยการกำหนดด้วยตัณหาหรือด้วยการ
กำหนดด้วยทิฐิอะไรๆ ในโลกนี้ พราหมณ์ทั้งหลายย่อมไม่
กำหนดด้วยตัณหาหรือทิฐิ ย่อมไม่กระทำตัณหาและทิฐิไว้ใน
เบื้องหน้า แม้ธรรมคือทิฐิทั้งหลาย พราหมณ์เหล่านั้นก็มิได้
ปกปิดไว้ พราหมณ์ผู้อันใครๆ จะพึงนำไปด้วยศีลและพรต
ไม่ได้ ถึงฝั่ง คือ นิพพานแล้ว เป็นผู้คงที่ ย่อมไม่กลับมา
หากิเลสทั้งหลายอีก ฉะนั้นแล ฯ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 20 ก.ค. 2013, 03:24 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 13 ก.พ. 2010, 17:53
โพสต์: 4999

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


เช่นนั้น เขียน:
จิต มโน มานัส หทัย ปัณฑร มโน มนายตนะ มนินทรีย์ วิญญาณ วิญญาณขันธ์
ทั้งหมดนี้ เป็นชื่อเรียก ของธรรมชาติที่รู้แจ้ง

การที่คุณ student กล่าวว่า "มีความรู้สึกถึงความสัมพันธ์เมื่อธรรมเกิด หทัยเป็นตัวส่ง และเป็นตัวรับ"
เพราะวิญญาณ 5 เมื่อเกิดดับไป มโนวิญญาณในลำดับต่อไป นั้นสืบต่อมาจากวิญญาณ 5 ที่ดับไป
แต่มโนวิญญาณที่สืบต่อมานั้น ก็มีเจตสิกธรรมประกอบกับมันเองนั้นพ่วงมาด้วย
จิตทำการปรุงแต่งต่ออารมณ์จึงทำให้ student รู้สึกว่า มีอะไรบางอย่างเป็นตัวส่งตัวรับ

เข้าใจเรื่องวิญญานหกหรือยังล่ะ :b32:

มโนวิญญาน หรือวิญานตัวที่หก ในกระบวนการขันธ์ห้า
จึงมีวิญญานขันธ์เป็นผัสสสัมปยุต

วิญญานห้าตัวแรก วิญญานขันธ์ไม่ใช่ผัสสัมปยุต แต่มีอายนะภายนอก อายตนะภายใน(รูป)
และวิญญานเป็นผัสสสัมปยุต :b13:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 20 ก.ค. 2013, 06:46 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 04 ธ.ค. 2012, 15:49
โพสต์: 932


 ข้อมูลส่วนตัว


โฮฮับ เขียน:
amazing เขียน:
เอาง่ายๆอย่างนีดีมั้ยบาลีสลามรัฐก็มีอยู่แล้ว ศึกษาตรงนั้นดีมั้ยเลือกเอาแต่พุทธวจนดีมั้ย ส่วนเรื่องขนมปังอะไรของคุณมันเกี่ยวอะไรกับผม ผมบอกให้คุณซื้อขนมปังเหรอ แต่ถ้ามันมีกดีนะ พุทธวจนจะได้อยู่ทั่วอณูของทุกส่วนในการใช้ชีวิต กินขนมปังไปเรียนรูสิ่งที่ดีไปด้วย

ที่นี้มาดู 31ภพภูมิ มันถูกหรือผิด ตามพุทธวจนฉบับบาลีสยามรัฐมีเป็นร้อยภพภูมิ คุณโฮฮับลองเปิดใจไปฟังที่ท่านอาจารย์ดูนะครับว่าทำไมต้องพุทธวจน อย่างเดียวเพื่อจะได้ข้อคิดเห็นอะไรดีสำหรับตัวคุณบ้าง และจะได้รู้ว่ามีอะไรที่เขียนเพิ่มเติมจากฉบับเดิมบาง

เตือนหลายครั้งแล้วว่า อย่าพูดจาลอยๆ ยิ่งที่เป็นเรื่องกระทบกระเทีอนถึงคนอื่น
มันต้องมีหลักฐาน

นี่มาอีกแล้ว ภพภูมิอะไรของคุณ ร้อยภพ ๓๑ภูมิ ว่าไปซะไกลเกินกู่
เรื่องที่เห็นๆแค่กายใจตนยังไม่รู้เรื่อง ไถลไปภพภูมิอีกแล้ว

บอกกี่ครั้งแล้วว่า แสดงความเห็นประเด็นที่เกี่ยวกับพุทธวจน
ให้โพสพุทธวจนมาด้วย มันถึงจะได้คุยกันถูกเรื่อง
พูดจาลอยๆแบบนี้ มันไม่มีสาระ(เพ้อเจ้อ) ...เข้าใจมั้ย


เอาเป็นว่าผมฝากธรรมให้คุณและอาจารย์คุณ
เอาไว้เตือนสติ
พุทธวจนว่าด้วย.....

.ปรมัฏฐกสูตร
บุคคลในโลกยึดถือในทิฐิทั้งหลายว่า สิ่งนี้เป็นอย่างยิ่ง
ย่อมกระทำศาสดาเป็นต้นของตนให้เป็นผู้ประเสริฐ กล่าว
ผู้อื่นนอกจากศาสดาเป็นต้นของตนนั้นว่า เลวทั้งหมด เพราะ
เหตุนั้น บุคคลนั้นจึงไม่ล่วงพ้นความวิวาทไปได้ บุคคลนั้น
เห็นอานิสงส์อันใดในตนกล่าวคือ ทิฐิ ที่เกิดขึ้นในสิ่งเหล่านี้
คือ ในรูปที่ได้เห็น เสียงที่ได้ฟัง ศีล พรต หรืออารมณ์
ที่ได้ทราบ บุคคลนั้นยึดมั่นอานิสงส์ในทิฐิของตนนั้นแลว่า
ประเสริฐที่สุด เห็นศาสดาอื่นทั้งหมดโดยความเป็นคนเลว
อนึ่ง บุคคลผู้อาศัยศาสดาของตนแล้ว เห็นศาสดาอื่น
เป็นคนเลว เพราะความเห็นอันใด ท่านผู้ฉลาดทั้งหลาย
กล่าวความเห็นนั้นว่า เป็นกิเลสเครื่องร้อยรัด เพราะฉะนั้น
แหละ ภิกษุไม่พึงยึดมั่นรูปที่ได้เห็น เสียงที่ได้ฟัง
อารมณ์ที่ได้ทราบ หรือศีลและพรต แม้ทิฐิก็ไม่พึงกำหนด
ด้วยญาณ หรือแม้ด้วยศีลและพรตในโลก ไม่พึงนำตนเข้า
ไปเปรียบว่า เป็นผู้เสมอเขา ไม่พึงสำคัญว่า เป็นผู้เลว
กว่าเขา หรือว่าเป็นผู้วิเศษกว่าเขา ภิกษุนั้นละความเห็นว่า
เป็นตนได้แล้ว ไม่ถือมั่นอยู่ ย่อมไม่กระทำนิสัย (ตัณหา
นิสัยและทิฐินิสัย) แม้ในญาณ ไม่เป็นผู้แล่นไปเข้าพวก
ในสัตว์ทั้งหลายผู้แตกต่างกันด้วยอำนาจทิฐิต่างๆ ย่อมไม่
กลับมาแม้สู่ทิฐิอะไรๆ พราหมณ์ในโลกนี้ไม่มีตัณหาใน
ส่วนสุดทั้ง ๒ มีผัสสะเป็นต้นเพื่อความเกิดบ่อยๆ ในโลกนี้
หรือในโลกอื่น ไม่มีความยึดมั่นอะไรๆ ไม่มีสัญญาอันปัจจัย
กำหนดแล้วแม้แต่น้อย ในรูปที่ได้เห็น ในเสียงที่ได้ฟัง
หรือในอารมณ์ที่ได้ทราบ ในโลกนี้ เพราะได้ตัดสินธรรม
ที่ตนยึดถือแล้วในธรรมทั้งหลาย ใครๆ จะพึงกำหนดพราหมณ์
นั้นผู้ไม่ถือมั่นทิฐิ ด้วยการกำหนดด้วยตัณหาหรือด้วยการ
กำหนดด้วยทิฐิอะไรๆ ในโลกนี้ พราหมณ์ทั้งหลายย่อมไม่
กำหนดด้วยตัณหาหรือทิฐิ ย่อมไม่กระทำตัณหาและทิฐิไว้ใน
เบื้องหน้า แม้ธรรมคือทิฐิทั้งหลาย พราหมณ์เหล่านั้นก็มิได้
ปกปิดไว้ พราหมณ์ผู้อันใครๆ จะพึงนำไปด้วยศีลและพรต
ไม่ได้ ถึงฝั่ง คือ นิพพานแล้ว เป็นผู้คงที่ ย่อมไม่กลับมา
หากิเลสทั้งหลายอีก ฉะนั้นแล ฯ
ในตำราปัจจุบัน บอกว่ามี31ภูมิ ส่วนพุทธวจนมีเปนร้อย อ่านดูเอานะยกมาไม่หมดมันเยอะ พออ่านแล้วจะรู้ว่า 31ภูมิมาจากไหนผิดกับพระศาสดากล่าวไว้หรือเปล่า
http://15c78e68827edd100d00-3e5118b4a901d5cb5f2a37359b3bf3bc.r28.cf1.rackcdn.com/%E0%B8%9E%E0%B8%B8%E0%B8%97%E0%B8%98%E0%B8%A7%E0%B8%88%E0%B8%99_11_%E0%B8%A0%E0%B8%9E%E0%B8%A0%E0%B8%B9%E0%B8%A1%E0%B8%B4.pdf


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 20 ก.ค. 2013, 11:11 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 14 ก.ค. 2008, 21:56
โพสต์: 3925

ชื่อเล่น: เช่นนั้น
อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


โฮฮับ เขียน:
เช่นนั้น เขียน:
จิต มโน มานัส หทัย ปัณฑร มโน มนายตนะ มนินทรีย์ วิญญาณ วิญญาณขันธ์
ทั้งหมดนี้ เป็นชื่อเรียก ของธรรมชาติที่รู้แจ้ง

การที่คุณ student กล่าวว่า "มีความรู้สึกถึงความสัมพันธ์เมื่อธรรมเกิด หทัยเป็นตัวส่ง และเป็นตัวรับ"
เพราะวิญญาณ 5 เมื่อเกิดดับไป มโนวิญญาณในลำดับต่อไป นั้นสืบต่อมาจากวิญญาณ 5 ที่ดับไป
แต่มโนวิญญาณที่สืบต่อมานั้น ก็มีเจตสิกธรรมประกอบกับมันเองนั้นพ่วงมาด้วย
จิตทำการปรุงแต่งต่ออารมณ์จึงทำให้ student รู้สึกว่า มีอะไรบางอย่างเป็นตัวส่งตัวรับ

เข้าใจเรื่องวิญญานหกหรือยังล่ะ :b32:

มโนวิญญาน หรือวิญานตัวที่หก ในกระบวนการขันธ์ห้า
จึงมีวิญญานขันธ์เป็นผัสสสัมปยุต

วิญญานห้าตัวแรก วิญญานขันธ์ไม่ใช่ผัสสัมปยุต แต่มีอายนะภายนอก อายตนะภายใน(รูป)
และวิญญานเป็นผัสสสัมปยุต :b13:


โชว์ โง่ มาอีกแระ โฮฮับ

ไม่เข้าใจ อรรถ ไม่เข้าใจพยัญชนะ ไม่เข้าใจนิรุติ
ไร้ความรู้เรื่อง เหตุปัจจัย และผลวิบาก
ไร้ความรู้เรื่อง ขันธ์ 5 โดยประการทั้งปวง

วิญญาณ 6 ทั้งหมด ล้วนแล้วแต่ผัสสะสัมปยุต ทั้งสิ้น
หากจะโชว์ โง่อีก ก็อ่าน ลิงค์ที่อ้างถึง ธาตุ 18 ที่ให้ไว้ หลายๆ เที่ยวนะโฮฮับ

.....................................................
ธรรมะอันยิ่งใหญ่ ไม่อาจเอื้อนเอ่ย
บัญญัติ เป็นเพียงสิ่งต่ำต้อยแบกรับความยิ่งใหญ่


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 20 ก.ค. 2013, 12:01 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 11 ต.ค. 2010, 12:11
โพสต์: 5019


 ข้อมูลส่วนตัว


เช่นนั้น เขียน:
จิต มโน มานัส หทัย ปัณฑร มโน มนายตนะ มนินทรีย์ วิญญาณ วิญญาณขันธ์
ทั้งหมดนี้ เป็นชื่อเรียก ของธรรมชาติที่รู้แจ้ง

การที่คุณ student กล่าวว่า "มีความรู้สึกถึงความสัมพันธ์เมื่อธรรมเกิด หทัยเป็นตัวส่ง และเป็นตัวรับ"
เพราะวิญญาณ 5 เมื่อเกิดดับไป มโนวิญญาณในลำดับต่อไป นั้นสืบต่อมาจากวิญญาณ 5 ที่ดับไป
แต่มโนวิญญาณที่สืบต่อมานั้น ก็มีเจตสิกธรรมประกอบกับมันเองนั้นพ่วงมาด้วย
จิตทำการปรุงแต่งต่ออารมณ์จึงทำให้ student รู้สึกว่า มีอะไรบางอย่างเป็นตัวส่งตัวรับ

หวังว่าอธิบายตรงต่อคำถามของ Student


:b1:

จากคำกล่าว...ทั้งสองท่อน...
ท่านเช่นนั้น...เห็นเช่นนั้น แล้วหรือ อย่างไร

คือ เอกอนอ่านแล้วเข้าใจว่า...
น่าจะเป็นทักษะของผู้ที่มีประสบการณ์ทางกสินน่ะ...
ที่จะ...เข้าไปพิสูจน์ ลักษณะของ "ธรรมชาติที่รู้แจ้ง" ได้
และจะเข้าไปพิสูจน์ ลักษณะของ "เจตสิกธรรมที่ประกอบกับมันนั้นพ่วงมาด้วย"
มันไม่ใช่ธรรมที่คิด หรือตรึกตรองให้ถึงได้น่ะ
แต่น่าจะด้วยอาศัย กสินนิมิต ... คือเอกอนคาดว่าน่ะ

ท่านเช่นนั้นเป็นกสินติดตัวมาด้วยแน่ ๆ เรยยยย :b13:

:b13: :b13: :b13:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 20 ก.ค. 2013, 12:18 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 13 ก.พ. 2010, 17:53
โพสต์: 4999

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


เช่นนั้น เขียน:
โฮฮับ เขียน:
เช่นนั้น เขียน:
จิต มโน มานัส หทัย ปัณฑร มโน มนายตนะ มนินทรีย์ วิญญาณ วิญญาณขันธ์
ทั้งหมดนี้ เป็นชื่อเรียก ของธรรมชาติที่รู้แจ้ง

การที่คุณ student กล่าวว่า "มีความรู้สึกถึงความสัมพันธ์เมื่อธรรมเกิด หทัยเป็นตัวส่ง และเป็นตัวรับ"
เพราะวิญญาณ 5 เมื่อเกิดดับไป มโนวิญญาณในลำดับต่อไป นั้นสืบต่อมาจากวิญญาณ 5 ที่ดับไป
แต่มโนวิญญาณที่สืบต่อมานั้น ก็มีเจตสิกธรรมประกอบกับมันเองนั้นพ่วงมาด้วย
จิตทำการปรุงแต่งต่ออารมณ์จึงทำให้ student รู้สึกว่า มีอะไรบางอย่างเป็นตัวส่งตัวรับ

เข้าใจเรื่องวิญญานหกหรือยังล่ะ :b32:

มโนวิญญาน หรือวิญานตัวที่หก ในกระบวนการขันธ์ห้า
จึงมีวิญญานขันธ์เป็นผัสสสัมปยุต

วิญญานห้าตัวแรก วิญญานขันธ์ไม่ใช่ผัสสัมปยุต แต่มีอายนะภายนอก อายตนะภายใน(รูป)
และวิญญานเป็นผัสสสัมปยุต :b13:


โชว์ โง่ มาอีกแระ โฮฮับ

ไม่เข้าใจ อรรถ ไม่เข้าใจพยัญชนะ ไม่เข้าใจนิรุติ
ไร้ความรู้เรื่อง เหตุปัจจัย และผลวิบาก
ไร้ความรู้เรื่อง ขันธ์ 5 โดยประการทั้งปวง

วิญญาณ 6 ทั้งหมด ล้วนแล้วแต่ผัสสะสัมปยุต ทั้งสิ้น
หากจะโชว์ โง่อีก ก็อ่าน ลิงค์ที่อ้างถึง ธาตุ 18 ที่ให้ไว้ หลายๆ เที่ยวนะโฮฮับ

เช่นนั้นแกล้งตีลูกซื่อ ทำเนียนเหมือนอเมซิ่งไม่มีผิด ตอบไม่ตรงคำถาม แย้งไม่ตรงคำตอบ :b9:

วิญญานหรือวิญญานหก เป็นผัสสสัมปยุตไง

แต่วิญาณขันธ์ไม่ใช่ผัสสสัมปยุต

วิญญานขันธ์มีเหตุมาจาก....ผัสสสัมปยุต

เช่นนั้น เขียน:
จิต มโน มานัส หทัย ปัณฑร มโน มนายตนะ มนินทรีย์ วิญญาณ วิญญาณขันธ์
ทั้งหมดนี้ เป็นชื่อเรียก ของธรรมชาติที่รู้แจ้ง


บัญญัติพวกนี้ไม่ได้เรียกหรือหมายความแบบเช่นนนั้นบอก

บัญญัติพวกนั้นเรียกว่า .....สิ่งที่ต้องทำให้รู้แจ้ง เข้าใจมั้ย
:b13:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 20 ก.ค. 2013, 16:49 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 04 ธ.ค. 2012, 15:49
โพสต์: 932


 ข้อมูลส่วนตัว


โฮฮับ เขียน:
เช่นนั้น เขียน:
โฮฮับ เขียน:
เช่นนั้น เขียน:
จิต มโน มานัส หทัย ปัณฑร มโน มนายตนะ มนินทรีย์ วิญญาณ วิญญาณขันธ์
ทั้งหมดนี้ เป็นชื่อเรียก ของธรรมชาติที่รู้แจ้ง

การที่คุณ student กล่าวว่า "มีความรู้สึกถึงความสัมพันธ์เมื่อธรรมเกิด หทัยเป็นตัวส่ง และเป็นตัวรับ"
เพราะวิญญาณ 5 เมื่อเกิดดับไป มโนวิญญาณในลำดับต่อไป นั้นสืบต่อมาจากวิญญาณ 5 ที่ดับไป
แต่มโนวิญญาณที่สืบต่อมานั้น ก็มีเจตสิกธรรมประกอบกับมันเองนั้นพ่วงมาด้วย
จิตทำการปรุงแต่งต่ออารมณ์จึงทำให้ student รู้สึกว่า มีอะไรบางอย่างเป็นตัวส่งตัวรับ

เข้าใจเรื่องวิญญานหกหรือยังล่ะ :b32:

มโนวิญญาน หรือวิญานตัวที่หก ในกระบวนการขันธ์ห้า
จึงมีวิญญานขันธ์เป็นผัสสสัมปยุต

วิญญานห้าตัวแรก วิญญานขันธ์ไม่ใช่ผัสสัมปยุต แต่มีอายนะภายนอก อายตนะภายใน(รูป)
และวิญญานเป็นผัสสสัมปยุต :b13:


โชว์ โง่ มาอีกแระ โฮฮับ

ไม่เข้าใจ อรรถ ไม่เข้าใจพยัญชนะ ไม่เข้าใจนิรุติ
ไร้ความรู้เรื่อง เหตุปัจจัย และผลวิบาก
ไร้ความรู้เรื่อง ขันธ์ 5 โดยประการทั้งปวง

วิญญาณ 6 ทั้งหมด ล้วนแล้วแต่ผัสสะสัมปยุต ทั้งสิ้น
หากจะโชว์ โง่อีก ก็อ่าน ลิงค์ที่อ้างถึง ธาตุ 18 ที่ให้ไว้ หลายๆ เที่ยวนะโฮฮับ

เช่นนั้นแกล้งตีลูกซื่อ ทำเนียนเหมือนอเมซิ่งไม่มีผิด ตอบไม่ตรงคำถาม แย้งไม่ตรงคำตอบ :b9:

วิญญานหรือวิญญานหก เป็นผัสสสัมปยุตไง

แต่วิญาณขันธ์ไม่ใช่ผัสสสัมปยุต

วิญญานขันธ์มีเหตุมาจาก....ผัสสสัมปยุต

เช่นนั้น เขียน:
จิต มโน มานัส หทัย ปัณฑร มโน มนายตนะ มนินทรีย์ วิญญาณ วิญญาณขันธ์
ทั้งหมดนี้ เป็นชื่อเรียก ของธรรมชาติที่รู้แจ้ง


บัญญัติพวกนี้ไม่ได้เรียกหรือหมายความแบบเช่นนนั้นบอก

บัญญัติพวกนั้นเรียกว่า .....สิ่งที่ต้องทำให้รู้แจ้ง เข้าใจมั้ย
:b13:
เมื่อไหร่จะอยู่เหนือเหตุผลซะทีโฮฮับ ความหลุดพ้นเริ่มต้นด้วยการอยู่เหนือเหตุผล เหตุผลมันทำใหเกิดและก็ดับ อยู่เหนือเหตุผลไม่เิกิดไม่ดับ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 20 ก.ค. 2013, 23:01 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 14 ก.ค. 2008, 21:56
โพสต์: 3925

ชื่อเล่น: เช่นนั้น
อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


โฮฮับ เขียน:
วิญญานหรือวิญญานหก เป็นผัสสสัมปยุตไง

แต่วิญาณขันธ์ไม่ใช่ผัสสสัมปยุต

วิญญานขันธ์มีเหตุมาจาก....ผัสสสัมปยุต



Quote Tipitaka:
วิญญาณขันธ์ เป็นไฉน
[๗๔] วิญญาณขันธ์หมวดละ ๑ คือ วิญญาณขันธ์เป็นผัสสสัมปยุต
http://84000.org/tipitaka/pitaka3/v.php ... 240&Z=1498

.....................................................
ธรรมะอันยิ่งใหญ่ ไม่อาจเอื้อนเอ่ย
บัญญัติ เป็นเพียงสิ่งต่ำต้อยแบกรับความยิ่งใหญ่


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 20 ก.ค. 2013, 23:14 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 14 ก.ค. 2008, 21:56
โพสต์: 3925

ชื่อเล่น: เช่นนั้น
อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


eragon_joe เขียน:
เช่นนั้น เขียน:
จิต มโน มานัส หทัย ปัณฑร มโน มนายตนะ มนินทรีย์ วิญญาณ วิญญาณขันธ์
ทั้งหมดนี้ เป็นชื่อเรียก ของธรรมชาติที่รู้แจ้ง

การที่คุณ student กล่าวว่า "มีความรู้สึกถึงความสัมพันธ์เมื่อธรรมเกิด หทัยเป็นตัวส่ง และเป็นตัวรับ"
เพราะวิญญาณ 5 เมื่อเกิดดับไป มโนวิญญาณในลำดับต่อไป นั้นสืบต่อมาจากวิญญาณ 5 ที่ดับไป
แต่มโนวิญญาณที่สืบต่อมานั้น ก็มีเจตสิกธรรมประกอบกับมันเองนั้นพ่วงมาด้วย
จิตทำการปรุงแต่งต่ออารมณ์จึงทำให้ student รู้สึกว่า มีอะไรบางอย่างเป็นตัวส่งตัวรับ

หวังว่าอธิบายตรงต่อคำถามของ Student


:b1:

จากคำกล่าว...ทั้งสองท่อน...
ท่านเช่นนั้น...เห็นเช่นนั้น แล้วหรือ อย่างไร

คือ เอกอนอ่านแล้วเข้าใจว่า...
น่าจะเป็นทักษะของผู้ที่มีประสบการณ์ทางกสินน่ะ...
ที่จะ...เข้าไปพิสูจน์ ลักษณะของ "ธรรมชาติที่รู้แจ้ง" ได้
และจะเข้าไปพิสูจน์ ลักษณะของ "เจตสิกธรรมที่ประกอบกับมันนั้นพ่วงมาด้วย"
มันไม่ใช่ธรรมที่คิด หรือตรึกตรองให้ถึงได้น่ะ
แต่น่าจะด้วยอาศัย กสินนิมิต ... คือเอกอนคาดว่าน่ะ

ท่านเช่นนั้นเป็นกสินติดตัวมาด้วยแน่ ๆ เรยยยย :b13:

:b13: :b13: :b13:

ธรรมชาติของจิต น่ะมังกรน้อย ....ต้องมีเจตสิกธรรมพ่วงมาเสมอ หากมีสติมากพอก็กำหนดได้ล่ะ

.....................................................
ธรรมะอันยิ่งใหญ่ ไม่อาจเอื้อนเอ่ย
บัญญัติ เป็นเพียงสิ่งต่ำต้อยแบกรับความยิ่งใหญ่


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 21 ก.ค. 2013, 04:15 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 13 ก.พ. 2010, 17:53
โพสต์: 4999

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


เช่นนั้น เขียน:
โฮฮับ เขียน:
วิญญานหรือวิญญานหก เป็นผัสสสัมปยุตไง

แต่วิญาณขันธ์ไม่ใช่ผัสสสัมปยุต

วิญญานขันธ์มีเหตุมาจาก....ผัสสสัมปยุต



Quote Tipitaka:
วิญญาณขันธ์ เป็นไฉน
[๗๔] วิญญาณขันธ์หมวดละ ๑ คือ วิญญาณขันธ์เป็นผัสสสัมปยุต
http://84000.org/tipitaka/pitaka3/v.php ... 240&Z=1498


วิญญาณขันธ์ เป็นไฉน
[ทุกมูลกวาร]
[๗๔] วิญญาณขันธ์หมวดละ ๑ คือ วิญญาณขันธ์เป็นผัสสสัมปยุต
วิญญาณขันธ์หมวดละ ๒ คือ วิญญาณขันธ์เป็นสเหตุกะ เป็นอเหตุกะ
วิญญาณขันธ์หมวดละ ๓ คือ วิญญาณขันธ์เป็นกุศล เป็นอกุศล เป็น
อัพยากฤต


วิญญานขันธ์เป็น.....สเหตุกะ จึงจะเป็นผัสสะสัมปยุต

วิญญานขันธ์ที่เป็นผัสสะสัมปยุต มีสเหตุกะมาจาก ขันธ์ห้าของผัสสะตัวแรก
วิญญานรู้กายทำให้เกิดวิญานขันธ์ ความรู้สึกทางกายส่งต่อความรู้สึกทางใจ
นั้นคือ วิญญานขันธ์ที่เกิดจากความรู้สึกทางกาย(วิญญาน) ได้ส่งต่อมาเป็นความรู้สึกทาางใจ
เรียกว่า....มโนวิญญาน

มโนวิญญานก็คือ สัญญาความจำได้หมายรู้วิญญานขันธ์หรือความรู้สึกทางกาย

ในความเป็นจริงมโนวิญญานเป็นผัสสะสัมปยุต ไม่ใช่วิญญานขันธ์
แต่ด้วยผัสสะสัมปยุต ประกอบด้วย อายตนะภายนอก(ธัมมารมณ์)+อายตนะภายใน(มโน)+มโนวิญญาน

อายตนภายนอกหรือธัมมารมณ์มีสเหตุกะมาจาก วิญญานขันธ์ของผัสสะตัวแรกหรือผัสสะทางกาย
มันจึงเป็นวิญญานขันธ์ที่เป็นผัสสสัมปยุต
ซึ่งในความเป็นจริงมันเป็นเพียงผัสสะสัมปยุตในส่วนของ...
อายตนภายนอกหรือธัมมารมณ์ ......มันไม่ใช่วิญญานหรือมโนวิญญาน


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 21 ก.ค. 2013, 11:19 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 11 ต.ค. 2010, 12:11
โพสต์: 5019


 ข้อมูลส่วนตัว


เช่นนั้น เขียน:
ธรรมชาติของจิต น่ะมังกรน้อย ....ต้องมีเจตสิกธรรมพ่วงมาเสมอ หากมีสติมากพอก็กำหนดได้ล่ะ


:b1: smiley smiley :b1:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 21 ก.ค. 2013, 12:12 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 14 ก.ค. 2008, 21:56
โพสต์: 3925

ชื่อเล่น: เช่นนั้น
อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


โฮฮับ เขียน:
เช่นนั้น เขียน:
โฮฮับ เขียน:
วิญญานหรือวิญญานหก เป็นผัสสสัมปยุตไง

แต่วิญาณขันธ์ไม่ใช่ผัสสสัมปยุต

วิญญานขันธ์มีเหตุมาจาก....ผัสสสัมปยุต



Quote Tipitaka:
วิญญาณขันธ์ เป็นไฉน
[๗๔] วิญญาณขันธ์หมวดละ ๑ คือ วิญญาณขันธ์เป็นผัสสสัมปยุต
http://84000.org/tipitaka/pitaka3/v.php ... 240&Z=1498


วิญญาณขันธ์ เป็นไฉน
[ทุกมูลกวาร]
[๗๔] วิญญาณขันธ์หมวดละ ๑ คือ วิญญาณขันธ์เป็นผัสสสัมปยุต
วิญญาณขันธ์หมวดละ ๒ คือ วิญญาณขันธ์เป็นสเหตุกะ เป็นอเหตุกะ
วิญญาณขันธ์หมวดละ ๓ คือ วิญญาณขันธ์เป็นกุศล เป็นอกุศล เป็น
อัพยากฤต


วิญญานขันธ์เป็น.....สเหตุกะ จึงจะเป็นผัสสะสัมปยุต

วิญญานขันธ์ที่เป็นผัสสะสัมปยุต มีสเหตุกะมาจาก ขันธ์ห้าของผัสสะตัวแรก
วิญญานรู้กายทำให้เกิดวิญานขันธ์ ความรู้สึกทางกายส่งต่อความรู้สึกทางใจ
นั้นคือ วิญญานขันธ์ที่เกิดจากความรู้สึกทางกาย(วิญญาน) ได้ส่งต่อมาเป็นความรู้สึกทาางใจ
เรียกว่า....มโนวิญญาน

มโนวิญญานก็คือ สัญญาความจำได้หมายรู้วิญญานขันธ์หรือความรู้สึกทางกาย

ในความเป็นจริงมโนวิญญานเป็นผัสสะสัมปยุต ไม่ใช่วิญญานขันธ์
แต่ด้วยผัสสะสัมปยุต ประกอบด้วย อายตนะภายนอก(ธัมมารมณ์)+อายตนะภายใน(มโน)+มโนวิญญาน

อายตนภายนอกหรือธัมมารมณ์มีสเหตุกะมาจาก วิญญานขันธ์ของผัสสะตัวแรกหรือผัสสะทางกาย
มันจึงเป็นวิญญานขันธ์ที่เป็นผัสสสัมปยุต
ซึ่งในความเป็นจริงมันเป็นเพียงผัสสะสัมปยุตในส่วนของ...
อายตนภายนอกหรือธัมมารมณ์ ......มันไม่ใช่วิญญานหรือมโนวิญญาน

ทำของดีให้เน่าอีกแระโฮฮับ
สเหตุกะ อเหตุกะ .........โฮฮับก็ไม่มีความรู้
อย่ามั่วๆ อธิบาย

Quote Tipitaka:
[๗๔] วิญญาณขันธ์หมวดละ ๑ คือ วิญญาณขันธ์เป็นผัสสสัมปยุต
วิญญาณขันธ์หมวดละ ๒ คือ วิญญาณขันธ์เป็นสเหตุกะ เป็นอเหตุกะ


ไม่ว่าวิญญาณขันธ์ เป็นสเหตุกะ หรืออเหตุกะ ก็ตาม ก็ล้วนเป็นผัสสสัมปยุต นะโฮฮับ

.....................................................
ธรรมะอันยิ่งใหญ่ ไม่อาจเอื้อนเอ่ย
บัญญัติ เป็นเพียงสิ่งต่ำต้อยแบกรับความยิ่งใหญ่


แสดงโพสต์จาก:  เรียงตาม  
กลับไปยังกระทู้  [ 228 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1 ... 10, 11, 12, 13, 14, 15, 16  ต่อไป

เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


 ผู้ใช้งานขณะนี้

่กำลังดูบอร์ดนี้: ไม่มีสมาชิก และ บุคคลทั่วไป 1 ท่าน


ท่าน ไม่สามารถ โพสต์กระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ตอบกระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แก้ไขโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ลบโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แนบไฟล์ในบอร์ดนี้ได้

ค้นหาสำหรับ:
ไปที่:  
Google
ทั่วไป เว็บธรรมจักร