วันเวลาปัจจุบัน 12 ก.ย. 2024, 02:16  



เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง




กลับไปยังกระทู้  [ 1 โพสต์ ]    Bookmark and Share
เจ้าของ ข้อความ
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 28 ธ.ค. 2011, 10:41 
 
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 1
สมาชิก ระดับ 1
ลงทะเบียนเมื่อ: 13 ธ.ค. 2011, 11:43
โพสต์: 11


 ข้อมูลส่วนตัว


รูปภาพ
รูปภาพ
...................................................................
ร้านหนังสือธรรมะไตรลักษณ์ , ศูนย์หนังสือพระพุทธศาสนาริมกำแพงวัดญาณเวศกวัน บริการจำหน่ายหนังสือ ธรรมะและหนังสือเพื่อสุขภาพ,จัดพิมพ์หนังสือธรรมะและหนังสือสุขภาพ
จำหน่ายตู้พระไตรปิฎก และหนังสือพระไตรปิฎก ของมหาจุฬาลงกรณราวิทยาลัย และหนังสือพระไตรปิฎกของมหามกุฏราชวิทยาลัย-พิมพ์หนังสือธรรมะ เป็นธรรมบรรณาการ,หรือหนังสือที่ระลึกเนื่องในโอกาสพิเศษต่างๆ
http://www.trilakbooks.com

ศูนย์หนังสือพระพุทธศาสนาไตรลักษณ์ (ริมกำแพงวัดญาณเวศกวัน)
ตั้งอยู่ เลขที่ 19/5 ม3. ต.บางกระทึก อ.สามพราน จ.นครปฐม 73210
ตั้งอยู่ริมกำแพงวัดญาณเวศกวัน อ.สามพราน จ.นครปฐม ((ใกล้พุทธมณฑลสถาน องค์พระ))

โทรเพื่อสอบถามเส้นทางได้ที่ 02-482-7358 , 087-696-7771

E-MAIL ของศูนย์หนังสือพระพุทธศาสนาไตรลักษณ์ แหล่งจำหน่ายหนังสือพระไตรปิฎกและหนังสือธรรมะ : trilak_books@yahoo.com

เบอร์โทรศัพท์ เพื่อติดต่อ สอบถาม รายละเอียดข้อมูลหนังสือต่างๆ : 087-696-7771, 081-424-0781, 02-482-7358

เพื่อสอบถามรายละเอียด เกี่ยวกับหนังสือพระไตรปิฎก และตู้พระไตรปิฎก โดยตรง : 085-819-4018 , 02-482-7358

...................................................................


พุทธธรรม ฉบับปรับปรุงและขยายความ โดยพระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต)

มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย จัดพิมพ์เผยแพร่

หนังสือ ปกแข็ง หุ้มหนังอย่างดี เย็บกี่

กระดาษ ถนอมสายตาสีครีม

จำนวน 1242 หน้า

จัดพิมพ์ครั้งที่ 11 พ.ศ. 2552

พิมพ์ที่ โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย จำนวน 15,000 เล่ม



ควรทราบก่อนอ่าน (บทคัดย่อ)

หนังสือนี้เรียงเนื้อหาตามลำดับหลักธรรม แต่อาจเลือกอ่านที่ใดๆ ตามที่ง่ายหรือสนใจ

เนื้อหาของหนังสือนี้ได้เรียงตามลำดับหลักวิชาทางพระพุทธศาสนา ซึ่งถือว่าได้จัดไว้อย่างเป็นระบบ

จึงเหมาะสำหรับผู้ที่ต้องการหาคามรู้เกี่ยวกับธรรมอย่างเอาจริงเอาจัง หรือศึกษาพุทธศาสนาอย่างเป็นวิชาการ แต่สำหรับผู้สนใจในทางปฏิบัติ ไม่จำเป็นต้องอ่านทุกส่วน

โดยตลอดหรือต้องอ่านไปตามลำดับ ตรงข้าม จะเลือกอ่านส่วนใดตอนใด และก่อนหลับกันอย่างไรก็ได้ สุดแต่สนใจหรือเห็นว่าเข้าใจง่าย

เช่นผู้ใหม่ อาจเริ่มด้วย บทที่ 22 (บทสรุป : อริยสัจ 4) หรือผู้สนใจเรื่องสมาธิอาจอ่านเฉพาะบทที่ 21 ซึ่งว่าด้วยสมาธิ ดังนี้เป็นต้น





สารบาญ (โดยย่อ)


ภาค 1 มัชเฌนธรรมเทศนา หลักความเป็นจริงตามธรรมชาติ หรือ ธรรมที่เป็นกลาง
ความนำ-สิ่งที่ควรเข้าใจก่อน-ลักษณะทั่วไปของพุทธรรม-พุทธธรรม หรือ กฎธรรมชาติและคุณค่าสำหรับชีวิต
สิ่งที่ควรเข้าใจก่อน
ลักษณะทั่วไปของพุทธธรรม

ตอน 1 ชีวิตคืออะไร : ก.ชีวิตตามสภาพของมันเอง
บทที่ 1 ขันธ์ 5 : ส่วนประกอบ 5 อย่างของชีวิต ตัวสภาวะ

สัญญา-สติ-ความจำ

สัญญา-วิญญาณ-ปัญญา

ความสัมพันธ์ระหว่างขันธ์ต่างๆ

ขันธ์ 5 กับ อุปทานขันธ์ 5 หรือ ชีวิต กับ ชีวิตซึ่งเป็นปัญหา

คุณค่าทางจริยธรรม

บันทึกพิเศษท้ายบท : ความรู้ประกอบเกี่ยวกับ ขันธ์ 5


ตอน 1 ชีวิตคืออะไร : ข.ชีวิตตามความหมายของมนุษย์ และโดยสัมพันธ์กับโลก






บทที่ 2 อายตนะ 6 : แดนรับรู้และเสพเสวยโลก ตัวสภาวะ

-ประเภทและระดับของความรู้ ก.จำแนกโดยสภาวะ

ข.จำแนกโดยทางรับรู้

ค.จำแนกโดยพัฒนาการทางปัญญา

ง.จำแนกโดยกิจกรรมและผลงานของมนุษย์ หน้า 53 -ความถูกต้องและผิดพลาดของความรู้

ก.สัจจะ 2 ระดับ

ข.วิปลาส 3

-พุทธพจน์เกี่ยวกับอายตนะ

-คุณค่าทางจริยธรรม



ตอน 2 ชีวิตเป็นอย่างไร ? : ไตรลักษณ์ ลักษณะโดยธรรมชาติ 3 อย่างของสิ่งทั้งปวง

บทที่ 3 ตัวกฎหรือตัวสภาวะ



ตอน 3 ชีวิตเป็นอย่างไร ? : ปฏิจจสมุปบาท - การที่สิ่งทั้งหลายอาศัยกันจึงเกิดมี


บทที่ 4 ตัวกฎหรือตัวสภาวะ

บทที่ 5 กรรม ในฐานะหลักธรรม ที่เนื่องอยู่ในปฏิจจสมุปบาท



ตอน 4 ชีวิตควรให้เป็นอย่างไร ? :
บทที่ 6 วิชชา วิมุตติ วิสุทธิ สันติ นิพพาน

บทที่ 7 ประเภท และ ระดับ แห่ง นิพพาน และ ผู้บรรลุนิพพาน

บทที่ 8 ข้อควรทราบ เพิ่มเติม เพื่อเสริมความเข้าใจ : สมถะ-วิปัสสนา, เจโตวิมุตติ - ปัญญาวิมุตติ

บทที่ 9 หลักการสำคัญ ของการบรรลุนิพพาน

บทที่ 10 บทสรุปเกี่ยวกับเรื่อง นิพพาน

บทที่ 11 บทความประกอบที่ 1 : ชีวิตและคุณธรรมพื้นฐานของอารยชน

บทที่ 12 บทความประกอบที่ 2 : ศีล กับ เจตนารมณ์ ทางสังคม

บทที่ 13 บทความประกอบที่ 3 : ชีวิตควรให้เป็นอย่างไร

เรื่อง เหนือสามัญวิสัย : ปาฏิหารย์ - เทวดา

บทที่ 14 บทความประกอบที่ 4 : ปัญหาเกี่ยวกับแรงจูงใจ

บทที่ 15 บทความประกอบที่ 5 : ความสุข



ตอน 5 ชีวิตควรเป็นอยู่อย่างไร ? :


บทที่ 16 มัชฌิมาปฏิปทา ต่อเนื่องจาก มัชเฌนธรรมเทศนา

บทที่ 17 บุพภาคของการศึกษา หรือ บุพนิมิตแห่ง มัชฌิมาปฏิปทา ปรโตโฆษะที่ดี- กัลยาณมิตร

บทที่ 18 บุพภาคของการศึกษา 2 โยโสมนสิการ-วิธีการแห่งปัญญา



บทที่ 19 องค์ประกอบของมัชฌิมาปฏิปทา 1 : หมวดปัญญา

บทที่ 20 องค์ประกอบของมัชฌิมาปฏิปทา 2 : หมวดศึล

บทที่ 21 องค์ประกอบของมัชฌิมาปฏิปทา 3 : หมวดสมาธิ

บทที่ 22 บทสรุป : อริสัจ 4



.........................................................................................

คำปรารภ

หนังสือพุทธรรม เป็นผลงานค้นคว้าชิ้นเอกของพระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)

ซึ่งพิมพ์ออกเผยแพร่ครั้งแรก เมื่อ พ.ศ. ๒๕๑๔ โดยโครงการตำราสังคมศาสตร์และ

มนุษย์ศาสตร์ จัดพิมพ์ต่อมา ใน พ.ศ. ๒๕๒๕ ท่านผู้เรียบเรียง ได้ปรับปรุงขยายความ

และได้มอบให้คณะระดมธรรมและธรรมสถานจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ซึ่งถือว่า เป็นการพิมพ์

ครั้งแรก และคณะระดมธรรม ได้จัดพิมพ์อีกเป็นครั้งที่ สอง



ต่อมาในปี พ.ศ. ๒๕๒๙ เป็นการจัดพิมพ์ครั้งที่ สาม พระเดชพระคุณผู้เรียบเรียงได้

เมตตามอบให้มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย จัดพิมพ์เผยแพร่ตลอดไป พระทั้ง

หนังสือพจนานุกรมศาสตร์ฉบับประมวลธรรม, พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลศัพท์

และธรรมนูญชีวิต



หนังสือพุทธธรรม ได้จัดพิมพ์มาแล้วถึง สิบครั้ง ปรากฎว่าได้รับความสนใจจากครู

อาจารย์ นิสิตนักศึกษา และสาธุชน เป็นอันมาก จนหมวดในเวลาไม่นานนัก

ดังนั้นมหาวิทยาลัยจึงได้จัดพิมพ์อีกเป็นครั้งที่ สิบเอ็ด จำนวน ๑๕,๐๐๐ เล่ม

และได้รับความเมตตาอนุญาติจากท่านเจ้าคุณพระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต) เช่นเคย

จึงขอกราบขอบพระคุณไว้ ณ ที่นี้ เป็นอย่างสูง



ขออำนาจคุณพระศรีรัตนตรัย และผลแห่งกุศลธรรมวิทยาทาน อันประเสริฐนี้

จงเป็นพลังปกป้อง ให้พระเดชพระคุณมีสุขภาพ และ พลานามัย แข็งแรง

สมบูรณ์ สามารถบำเพ็ญศาสนกิจเป็นหิตานุหิตประโยชน์ต่อพหูชน เป็นธงชัย

ของมวลศิษย์และพุทธศาสนิกชน ตลอดกาลนาน



มหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

๒๙ มกราคม ๒๕๕๒


แสดงโพสต์จาก:  เรียงตาม  
กลับไปยังกระทู้  [ 1 โพสต์ ] 

เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


 ผู้ใช้งานขณะนี้

่กำลังดูบอร์ดนี้: ไม่มีสมาชิก และ บุคคลทั่วไป 1 ท่าน


ท่าน ไม่สามารถ โพสต์กระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ตอบกระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แก้ไขโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ลบโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แนบไฟล์ในบอร์ดนี้ได้

ค้นหาสำหรับ:
ไปที่:  
Google
ทั่วไป เว็บธรรมจักร