วันเวลาปัจจุบัน 27 เม.ย. 2024, 23:37  



เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง




กลับไปยังกระทู้  [ 94 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1 ... 3, 4, 5, 6, 7  ต่อไป  Bookmark and Share
เจ้าของ ข้อความ
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 26 เม.ย. 2019, 14:26 
 
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 6
สมาชิก ระดับ 6
ลงทะเบียนเมื่อ: 17 ส.ค. 2018, 07:07
โพสต์: 482

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


Rosarin เขียน:
กรัชกาย เขียน:
Rosarin เขียน:
กรัชกาย เขียน:
อ้างคำพูด:

อ้างคำพูด:
กรัชกาย
พ่ะน่ะ ให้ลบความจำ คุณโรสวาสลีน คิกๆๆ ถ้าลบความจำหมด มันจะต่างอะไรกับคนเป็นโรคอัลไซเมอร์ เล่า เออ คิดไปได้ (นี่แหละจิตคิดฟุ้งซ่าน) ลบความจำ จำอะไรไม่ได้ กินแล้วก็ว่าไม่ได้กิน ขี้แล้วก็ว่ายังไม่ได้ขี้ อิอิ เอาหรอแบบนี้ ถ้าแบบนี่้นะ ก็ขอให้คุณโรสจำอะไรไม่ได้เลย เดินแก้ผ้า ก็ไม่รู้ตัว เอ้า คิกๆๆ


อ้างคำพูด:
Rosarin
ยังไม่เข้าใจอีก1ขณะจิต มีครบ ขันธ์ 5 มีเจตสิก 1 คือสัญญาขันธ์ ดับแล้ว นี่มีอดีตสัญญาไหม
มีแต่ความคิดนึกจำเรื่องราวเก่าๆที่ไปอ่านมาไม่ปล่อยวางเออน่ะจิตเกิดดับทีละ1ขณะไม่มีตัวตน
ขณะนี้เป็นจิตขณะใหม่ทั้งหมดตรงปัจจุบันขณะรู้ตรงตามเสียงใครรู้ล่วงหน้าว่าเสียงต่อไปคือเสียงคำไหน


อ้างคำพูด:
สัญญาขันธ์ ดับแล้ว นี่มีอดีตสัญญาไหม


คุณโรสกินข้าวเข้าแล้วนะ กินหรือยังจำได้ไหม ตอบ

รู้ที่กายใจตัวเอง
เอาเรื่องเก่ามาถามทำไม
เดี๋ยวนี้เห็นขณะใหม่เกิดดับนับไม่ถ้วน
อ่ะที่เห็นอยู่เนี่ยอันไหนดับอันไหนยังไม่ดับที่กำลังเห็นอยู่เนี่ยก็ไม่รู้555
มีตัวตนคิดนึกไปตามเห็นผิดไงคะมีปัญญารู้ไหมว่าเห็นที่กำลังเห็นเป็น1ขณะลำดับไหนในแสนล้านขณะค๊ะ
https://youtu.be/Utc-PSozbyw
:b32: :b32:


จำได้ไหมว่ากินข้าวเช้าแล้วหรือยัง ตอบก่อน คิกๆๆ

จำถูกตามคำสอนได้สักทีรึยังว่าไม่มีตัวตนเนี่ยเห็นๆอยู่เนี่ยคุยกะความคิดอยู่ไม่มีใครเลยสักคน555
:b32: :b32:


พระพุทธเจ้าสอนให้คนรู้ไม่เคยสอนให้คนหลง .. หากกล่าวถ้อยคำแสดงความหลงก็เจาะจงด้วย
ว่าคำสอนใคร .. ฟังคำใครมาหรือคิดเองก็ว่าไป

ที่กล่าวว่า '' ไม่มีตัวตนเนี่ยเห็นๆอยู่เนี่ยคุยกะความคิดอยู่ไม่มีใครเลยสักคน '' .. อันนี้มันทิฏฐิว่า
อัตตาไม่มีพวกหลงอย่างนี้ไม่ได้พึ่งมี .. มีมาตั้งแต่สมัยพุทธกาลแล้ว

คำสอนของพระพุทธเจ้าสอนว่า '' สัพเพ ธัมมา อนัตตาติ '' .. นี้เป็นคำสอนของผู้ตรัสรู้ธรรมด้วย
ปัญญาอันชอบ .. ห่างไกลกับพวกหลงด้วยทิฏฐิว่าอัตตาไม่มีมาก

พวกนี้ไปถามพระพุทธเจ้าพระพุทธเจ้าไม่ทรงตอบแต่ทรงเงียบ .. เพราะหากตอบไปที่หลงอยู่แล้ว
ก็หลงไปใหญ่ .. อย่างที่ผมบอก .. '' พระพุทธเจ้าไม่เคยสอนให้ใครหลง ''

คนเราเกิดมาพร้อม ๆ กับความหลง .. '' ถึงแม้หลงก็จงเป็นคนหลงที่พอสอนให้รู้ได้ '' .. อย่าเป็น
คนที่แม้แต่พระพุทธเจ้าก็ไม่สอน


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 26 เม.ย. 2019, 14:40 
 
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 6
สมาชิก ระดับ 6
ลงทะเบียนเมื่อ: 17 ส.ค. 2018, 07:07
โพสต์: 482

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


Love J. เขียน:
Rosarin เขียน:
กรัชกาย เขียน:
Rosarin เขียน:
กรัชกาย เขียน:
อ้างคำพูด:

อ้างคำพูด:
กรัชกาย
พ่ะน่ะ ให้ลบความจำ คุณโรสวาสลีน คิกๆๆ ถ้าลบความจำหมด มันจะต่างอะไรกับคนเป็นโรคอัลไซเมอร์ เล่า เออ คิดไปได้ (นี่แหละจิตคิดฟุ้งซ่าน) ลบความจำ จำอะไรไม่ได้ กินแล้วก็ว่าไม่ได้กิน ขี้แล้วก็ว่ายังไม่ได้ขี้ อิอิ เอาหรอแบบนี้ ถ้าแบบนี่้นะ ก็ขอให้คุณโรสจำอะไรไม่ได้เลย เดินแก้ผ้า ก็ไม่รู้ตัว เอ้า คิกๆๆ


อ้างคำพูด:
Rosarin
ยังไม่เข้าใจอีก1ขณะจิต มีครบ ขันธ์ 5 มีเจตสิก 1 คือสัญญาขันธ์ ดับแล้ว นี่มีอดีตสัญญาไหม
มีแต่ความคิดนึกจำเรื่องราวเก่าๆที่ไปอ่านมาไม่ปล่อยวางเออน่ะจิตเกิดดับทีละ1ขณะไม่มีตัวตน
ขณะนี้เป็นจิตขณะใหม่ทั้งหมดตรงปัจจุบันขณะรู้ตรงตามเสียงใครรู้ล่วงหน้าว่าเสียงต่อไปคือเสียงคำไหน


อ้างคำพูด:
สัญญาขันธ์ ดับแล้ว นี่มีอดีตสัญญาไหม


คุณโรสกินข้าวเข้าแล้วนะ กินหรือยังจำได้ไหม ตอบ

รู้ที่กายใจตัวเอง
เอาเรื่องเก่ามาถามทำไม
เดี๋ยวนี้เห็นขณะใหม่เกิดดับนับไม่ถ้วน
อ่ะที่เห็นอยู่เนี่ยอันไหนดับอันไหนยังไม่ดับที่กำลังเห็นอยู่เนี่ยก็ไม่รู้555
มีตัวตนคิดนึกไปตามเห็นผิดไงคะมีปัญญารู้ไหมว่าเห็นที่กำลังเห็นเป็น1ขณะลำดับไหนในแสนล้านขณะค๊ะ
https://youtu.be/Utc-PSozbyw
:b32: :b32:


จำได้ไหมว่ากินข้าวเช้าแล้วหรือยัง ตอบก่อน คิกๆๆ

จำถูกตามคำสอนได้สักทีรึยังว่าไม่มีตัวตนเนี่ยเห็นๆอยู่เนี่ยคุยกะความคิดอยู่ไม่มีใครเลยสักคน555
:b32: :b32:

Love J. เขียน:
พระพุทธเจ้าสอนให้คนรู้ไม่เคยสอนให้คนหลง .. หากกล่าวถ้อยคำแสดงความหลงก็เจาะจงด้วย
ว่าคำสอนใคร .. ฟังคำใครมาหรือคิดเองก็ว่าไป

ที่กล่าวว่า '' ไม่มีตัวตนเนี่ยเห็นๆอยู่เนี่ยคุยกะความคิดอยู่ไม่มีใครเลยสักคน '' .. อันนี้มันทิฏฐิว่า
อัตตาไม่มีพวกหลงอย่างนี้ไม่ได้พึ่งมี .. มีมาตั้งแต่สมัยพุทธกาลแล้ว

คำสอนของพระพุทธเจ้าสอนว่า '' สัพเพ ธัมมา อนัตตาติ '' .. นี้เป็นคำสอนของผู้ตรัสรู้ธรรมด้วย
ปัญญาอันชอบ .. ห่างไกลกับพวกหลงด้วยทิฏฐิว่าอัตตาไม่มีมาก

พวกนี้ไปถามพระพุทธเจ้าพระพุทธเจ้าไม่ทรงตอบแต่ทรงเงียบ .. เพราะหากตอบไปที่หลงอยู่แล้ว
ก็หลงไปใหญ่ .. อย่างที่ผมบอก .. '' พระพุทธเจ้าไม่เคยสอนให้ใครหลง ''

คนเราเกิดมาพร้อม ๆ กับความหลง .. '' ถึงแม้หลงก็จงเป็นคนหลงที่พอสอนให้รู้ได้ '' .. อย่าเป็น
คนที่แม้แต่พระพุทธเจ้าก็ไม่สอน


แล้วก็ไม่ต้องพยายามสรรหาถ้อยคำมากดข่มเอาชนะคำพูดผมหรอก .. ผมหาถ้อยคำที่เป็นคำสอน
ของพระพุทธเจ้ามากดข่มเอาชนะทิฏฐิวาทะตัวเองประจำอยู่แล้ว


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 26 เม.ย. 2019, 14:41 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 29 ต.ค. 2009, 15:06
โพสต์: 7502

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


Love J. เขียน:
Rosarin เขียน:
กรัชกาย เขียน:
Rosarin เขียน:
กรัชกาย เขียน:
อ้างคำพูด:

อ้างคำพูด:
กรัชกาย
พ่ะน่ะ ให้ลบความจำ คุณโรสวาสลีน คิกๆๆ ถ้าลบความจำหมด มันจะต่างอะไรกับคนเป็นโรคอัลไซเมอร์ เล่า เออ คิดไปได้ (นี่แหละจิตคิดฟุ้งซ่าน) ลบความจำ จำอะไรไม่ได้ กินแล้วก็ว่าไม่ได้กิน ขี้แล้วก็ว่ายังไม่ได้ขี้ อิอิ เอาหรอแบบนี้ ถ้าแบบนี่้นะ ก็ขอให้คุณโรสจำอะไรไม่ได้เลย เดินแก้ผ้า ก็ไม่รู้ตัว เอ้า คิกๆๆ


อ้างคำพูด:
Rosarin
ยังไม่เข้าใจอีก1ขณะจิต มีครบ ขันธ์ 5 มีเจตสิก 1 คือสัญญาขันธ์ ดับแล้ว นี่มีอดีตสัญญาไหม
มีแต่ความคิดนึกจำเรื่องราวเก่าๆที่ไปอ่านมาไม่ปล่อยวางเออน่ะจิตเกิดดับทีละ1ขณะไม่มีตัวตน
ขณะนี้เป็นจิตขณะใหม่ทั้งหมดตรงปัจจุบันขณะรู้ตรงตามเสียงใครรู้ล่วงหน้าว่าเสียงต่อไปคือเสียงคำไหน


อ้างคำพูด:
สัญญาขันธ์ ดับแล้ว นี่มีอดีตสัญญาไหม


คุณโรสกินข้าวเข้าแล้วนะ กินหรือยังจำได้ไหม ตอบ

รู้ที่กายใจตัวเอง
เอาเรื่องเก่ามาถามทำไม
เดี๋ยวนี้เห็นขณะใหม่เกิดดับนับไม่ถ้วน
อ่ะที่เห็นอยู่เนี่ยอันไหนดับอันไหนยังไม่ดับที่กำลังเห็นอยู่เนี่ยก็ไม่รู้555
มีตัวตนคิดนึกไปตามเห็นผิดไงคะมีปัญญารู้ไหมว่าเห็นที่กำลังเห็นเป็น1ขณะลำดับไหนในแสนล้านขณะค๊ะ
https://youtu.be/Utc-PSozbyw
:b32: :b32:


จำได้ไหมว่ากินข้าวเช้าแล้วหรือยัง ตอบก่อน คิกๆๆ

จำถูกตามคำสอนได้สักทีรึยังว่าไม่มีตัวตนเนี่ยเห็นๆอยู่เนี่ยคุยกะความคิดอยู่ไม่มีใครเลยสักคน555
:b32: :b32:


พระพุทธเจ้าสอนให้คนรู้ไม่เคยสอนให้คนหลง .. หากกล่าวถ้อยคำแสดงความหลงก็เจาะจงด้วย
ว่าคำสอนใคร .. ฟังคำใครมาหรือคิดเองก็ว่าไป

ที่กล่าวว่า '' ไม่มีตัวตนเนี่ยเห็นๆอยู่เนี่ยคุยกะความคิดอยู่ไม่มีใครเลยสักคน '' .. อันนี้มันทิฏฐิว่า
อัตตาไม่มีพวกหลงอย่างนี้ไม่ได้พึ่งมี .. มีมาตั้งแต่สมัยพุทธกาลแล้ว

คำสอนของพระพุทธเจ้าสอนว่า '' สัพเพ ธัมมา อนัตตาติ '' .. นี้เป็นคำสอนของผู้ตรัสรู้ธรรมด้วย
ปัญญาอันชอบ .. ห่างไกลกับพวกหลงด้วยทิฏฐิว่าอัตตาไม่มีมาก

พวกนี้ไปถามพระพุทธเจ้าพระพุทธเจ้าไม่ทรงตอบแต่ทรงเงียบ .. เพราะหากตอบไปที่หลงอยู่แล้ว
ก็หลงไปใหญ่ .. อย่างที่ผมบอก .. '' พระพุทธเจ้าไม่เคยสอนให้ใครหลง ''

คนเราเกิดมาพร้อม ๆ กับความหลง .. '' ถึงแม้หลงก็จงเป็นคนหลงที่พอสอนให้รู้ได้ '' .. อย่าเป็น
คนที่แม้แต่พระพุทธเจ้าก็ไม่สอน

:b12:
คิดสิ...อายตนะทั้ง6เนี่ยเกิดพร้อมกันได้ไหม
จิตเกิดดับทีละ1ขณะสลับกันไม่ปนทางกัน
จักขุวิญญาณ=จักขุปสาทะรูป+แสงสี1สี+จิต
ไหนในคำว่ากำลังมีอายตนะทางตามีทางอื่นปนไหม
ทางตาเกิดขึ้น1ขณะต้องดับก่อนเกลี้ยงเลยถึงจะเกิดทางอื่นต่อ
ตอนคิดมีตาไหมคะ555เนี่ยทั้งคิดทั้งเห็นพร้อมกันเลยค่ะ คิด เห็น ที่ กำลัง เห็น ผิด แล้ว เพราะ คิดไม่มีแสง
จิตคิดนึกคือมโนทวารวิถีไม่มีแสงสว่างเกิดร่วมด้วยคร่าสีคือรูปๆเดียวที่เห็นได้ตอนมีแสงตอนคิดไม่เห็นค่ะ
:b32: :b32:


แก้ไขล่าสุดโดย Rosarin เมื่อ 26 เม.ย. 2019, 14:57, แก้ไขแล้ว 1 ครั้ง

โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 26 เม.ย. 2019, 14:56 
 
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 6
สมาชิก ระดับ 6
ลงทะเบียนเมื่อ: 17 ส.ค. 2018, 07:07
โพสต์: 482

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


Rosarin เขียน:
Love J. เขียน:
Rosarin เขียน:
กรัชกาย เขียน:
Rosarin เขียน:
กรัชกาย เขียน:
อ้างคำพูด:

อ้างคำพูด:
กรัชกาย
พ่ะน่ะ ให้ลบความจำ คุณโรสวาสลีน คิกๆๆ ถ้าลบความจำหมด มันจะต่างอะไรกับคนเป็นโรคอัลไซเมอร์ เล่า เออ คิดไปได้ (นี่แหละจิตคิดฟุ้งซ่าน) ลบความจำ จำอะไรไม่ได้ กินแล้วก็ว่าไม่ได้กิน ขี้แล้วก็ว่ายังไม่ได้ขี้ อิอิ เอาหรอแบบนี้ ถ้าแบบนี่้นะ ก็ขอให้คุณโรสจำอะไรไม่ได้เลย เดินแก้ผ้า ก็ไม่รู้ตัว เอ้า คิกๆๆ


อ้างคำพูด:
Rosarin
ยังไม่เข้าใจอีก1ขณะจิต มีครบ ขันธ์ 5 มีเจตสิก 1 คือสัญญาขันธ์ ดับแล้ว นี่มีอดีตสัญญาไหม
มีแต่ความคิดนึกจำเรื่องราวเก่าๆที่ไปอ่านมาไม่ปล่อยวางเออน่ะจิตเกิดดับทีละ1ขณะไม่มีตัวตน
ขณะนี้เป็นจิตขณะใหม่ทั้งหมดตรงปัจจุบันขณะรู้ตรงตามเสียงใครรู้ล่วงหน้าว่าเสียงต่อไปคือเสียงคำไหน


อ้างคำพูด:
สัญญาขันธ์ ดับแล้ว นี่มีอดีตสัญญาไหม


คุณโรสกินข้าวเข้าแล้วนะ กินหรือยังจำได้ไหม ตอบ

รู้ที่กายใจตัวเอง
เอาเรื่องเก่ามาถามทำไม
เดี๋ยวนี้เห็นขณะใหม่เกิดดับนับไม่ถ้วน
อ่ะที่เห็นอยู่เนี่ยอันไหนดับอันไหนยังไม่ดับที่กำลังเห็นอยู่เนี่ยก็ไม่รู้555
มีตัวตนคิดนึกไปตามเห็นผิดไงคะมีปัญญารู้ไหมว่าเห็นที่กำลังเห็นเป็น1ขณะลำดับไหนในแสนล้านขณะค๊ะ
https://youtu.be/Utc-PSozbyw
:b32: :b32:


จำได้ไหมว่ากินข้าวเช้าแล้วหรือยัง ตอบก่อน คิกๆๆ

จำถูกตามคำสอนได้สักทีรึยังว่าไม่มีตัวตนเนี่ยเห็นๆอยู่เนี่ยคุยกะความคิดอยู่ไม่มีใครเลยสักคน555
:b32: :b32:


พระพุทธเจ้าสอนให้คนรู้ไม่เคยสอนให้คนหลง .. หากกล่าวถ้อยคำแสดงความหลงก็เจาะจงด้วย
ว่าคำสอนใคร .. ฟังคำใครมาหรือคิดเองก็ว่าไป

ที่กล่าวว่า '' ไม่มีตัวตนเนี่ยเห็นๆอยู่เนี่ยคุยกะความคิดอยู่ไม่มีใครเลยสักคน '' .. อันนี้มันทิฏฐิว่า
อัตตาไม่มีพวกหลงอย่างนี้ไม่ได้พึ่งมี .. มีมาตั้งแต่สมัยพุทธกาลแล้ว

คำสอนของพระพุทธเจ้าสอนว่า '' สัพเพ ธัมมา อนัตตาติ '' .. นี้เป็นคำสอนของผู้ตรัสรู้ธรรมด้วย
ปัญญาอันชอบ .. ห่างไกลกับพวกหลงด้วยทิฏฐิว่าอัตตาไม่มีมาก

พวกนี้ไปถามพระพุทธเจ้าพระพุทธเจ้าไม่ทรงตอบแต่ทรงเงียบ .. เพราะหากตอบไปที่หลงอยู่แล้ว
ก็หลงไปใหญ่ .. อย่างที่ผมบอก .. '' พระพุทธเจ้าไม่เคยสอนให้ใครหลง ''

คนเราเกิดมาพร้อม ๆ กับความหลง .. '' ถึงแม้หลงก็จงเป็นคนหลงที่พอสอนให้รู้ได้ '' .. อย่าเป็น
คนที่แม้แต่พระพุทธเจ้าก็ไม่สอน

:b12:
คิดสิ...อายตนะทั้ง6เนี่ยเกิดพร้อมกันได้ไหม
จิตเกิดดับทีละ1ขณะสลับกันไม่ปนทางกัน
จักขุวิญญาณ=จักขุปสาทะรูป+แสงสี1สี+จิต
ไหนในคำว่ากำลังมีอายตนะทางตามีทางอื่นปนไหม
ทางตาเกิดขึ้น1ขณะต้องดับก่อนเกลี้ยงเลยถึงจะเกิดทางอื่นต่อ
ตอนคิดมีตาไหมคะ555เนี่ยทั้งคิดทั้งเห็นพร้อมกันเลยค่ะ คิด เห็น ที่ กำลัง เห็น ผิด แล้ว เพราะ คิดไม่มีแสง
:b32: :b32:

พอคิดก็ไปคิดแบบหลง ๆ มันถึงได้หลงซ้ำหลงซ้อน
มันแย่ตรงที่หลงมืดบอด ยังมัวหลงระเริงนี่แหละ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 26 เม.ย. 2019, 15:00 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 29 ต.ค. 2009, 15:06
โพสต์: 7502

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


Love J. เขียน:
Rosarin เขียน:
Love J. เขียน:
Rosarin เขียน:
กรัชกาย เขียน:
Rosarin เขียน:
กรัชกาย เขียน:
อ้างคำพูด:

อ้างคำพูด:
กรัชกาย
พ่ะน่ะ ให้ลบความจำ คุณโรสวาสลีน คิกๆๆ ถ้าลบความจำหมด มันจะต่างอะไรกับคนเป็นโรคอัลไซเมอร์ เล่า เออ คิดไปได้ (นี่แหละจิตคิดฟุ้งซ่าน) ลบความจำ จำอะไรไม่ได้ กินแล้วก็ว่าไม่ได้กิน ขี้แล้วก็ว่ายังไม่ได้ขี้ อิอิ เอาหรอแบบนี้ ถ้าแบบนี่้นะ ก็ขอให้คุณโรสจำอะไรไม่ได้เลย เดินแก้ผ้า ก็ไม่รู้ตัว เอ้า คิกๆๆ


อ้างคำพูด:
Rosarin
ยังไม่เข้าใจอีก1ขณะจิต มีครบ ขันธ์ 5 มีเจตสิก 1 คือสัญญาขันธ์ ดับแล้ว นี่มีอดีตสัญญาไหม
มีแต่ความคิดนึกจำเรื่องราวเก่าๆที่ไปอ่านมาไม่ปล่อยวางเออน่ะจิตเกิดดับทีละ1ขณะไม่มีตัวตน
ขณะนี้เป็นจิตขณะใหม่ทั้งหมดตรงปัจจุบันขณะรู้ตรงตามเสียงใครรู้ล่วงหน้าว่าเสียงต่อไปคือเสียงคำไหน


อ้างคำพูด:
สัญญาขันธ์ ดับแล้ว นี่มีอดีตสัญญาไหม


คุณโรสกินข้าวเข้าแล้วนะ กินหรือยังจำได้ไหม ตอบ

รู้ที่กายใจตัวเอง
เอาเรื่องเก่ามาถามทำไม
เดี๋ยวนี้เห็นขณะใหม่เกิดดับนับไม่ถ้วน
อ่ะที่เห็นอยู่เนี่ยอันไหนดับอันไหนยังไม่ดับที่กำลังเห็นอยู่เนี่ยก็ไม่รู้555
มีตัวตนคิดนึกไปตามเห็นผิดไงคะมีปัญญารู้ไหมว่าเห็นที่กำลังเห็นเป็น1ขณะลำดับไหนในแสนล้านขณะค๊ะ
https://youtu.be/Utc-PSozbyw
:b32: :b32:


จำได้ไหมว่ากินข้าวเช้าแล้วหรือยัง ตอบก่อน คิกๆๆ

จำถูกตามคำสอนได้สักทีรึยังว่าไม่มีตัวตนเนี่ยเห็นๆอยู่เนี่ยคุยกะความคิดอยู่ไม่มีใครเลยสักคน555
:b32: :b32:


พระพุทธเจ้าสอนให้คนรู้ไม่เคยสอนให้คนหลง .. หากกล่าวถ้อยคำแสดงความหลงก็เจาะจงด้วย
ว่าคำสอนใคร .. ฟังคำใครมาหรือคิดเองก็ว่าไป

ที่กล่าวว่า '' ไม่มีตัวตนเนี่ยเห็นๆอยู่เนี่ยคุยกะความคิดอยู่ไม่มีใครเลยสักคน '' .. อันนี้มันทิฏฐิว่า
อัตตาไม่มีพวกหลงอย่างนี้ไม่ได้พึ่งมี .. มีมาตั้งแต่สมัยพุทธกาลแล้ว

คำสอนของพระพุทธเจ้าสอนว่า '' สัพเพ ธัมมา อนัตตาติ '' .. นี้เป็นคำสอนของผู้ตรัสรู้ธรรมด้วย
ปัญญาอันชอบ .. ห่างไกลกับพวกหลงด้วยทิฏฐิว่าอัตตาไม่มีมาก

พวกนี้ไปถามพระพุทธเจ้าพระพุทธเจ้าไม่ทรงตอบแต่ทรงเงียบ .. เพราะหากตอบไปที่หลงอยู่แล้ว
ก็หลงไปใหญ่ .. อย่างที่ผมบอก .. '' พระพุทธเจ้าไม่เคยสอนให้ใครหลง ''

คนเราเกิดมาพร้อม ๆ กับความหลง .. '' ถึงแม้หลงก็จงเป็นคนหลงที่พอสอนให้รู้ได้ '' .. อย่าเป็น
คนที่แม้แต่พระพุทธเจ้าก็ไม่สอน

:b12:
คิดสิ...อายตนะทั้ง6เนี่ยเกิดพร้อมกันได้ไหม
จิตเกิดดับทีละ1ขณะสลับกันไม่ปนทางกัน
จักขุวิญญาณ=จักขุปสาทะรูป+แสงสี1สี+จิต
ไหนในคำว่ากำลังมีอายตนะทางตามีทางอื่นปนไหม
ทางตาเกิดขึ้น1ขณะต้องดับก่อนเกลี้ยงเลยถึงจะเกิดทางอื่นต่อ
ตอนคิดมีตาไหมคะ555เนี่ยทั้งคิดทั้งเห็นพร้อมกันเลยค่ะ คิด เห็น ที่ กำลัง เห็น ผิด แล้ว เพราะ คิดไม่มีแสง
:b32: :b32:

พอคิดก็ไปคิดแบบหลง ๆ มันถึงได้หลงซ้ำหลงซ้อน

คำสอนตรงจริงแต่เราน่ะเราน่ะไม่รู้มีอวิชชาสี1สีมีอายุ17ขณะจิตเห็นสีใหม่กี่รอบแล้ว
ที่เห็นเกินสี1ขณะนั้นน่ะเรียกว่าเห็นผิดไงคะเออนะคนมันไม่ยอมรับว่ามีกิเลส555
:b32: :b32:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 27 เม.ย. 2019, 08:29 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
ทีนี้ ดูอีกฝากหนึ่ง ซึ่งเมื่อประสบกับทุกขเวทนาบ้าง


ในทางตรงข้าม ถ้ารับรู้อารมณ์ใดแล้ว เกิดความรู้สึกทุกข์ เจ็บปวด ไม่สบาย (ทุกข-เวทนา) ก็ไม่ชอบใจ ขัดเคือง อยากจะพ้นไป หรือ ให้มันสูญสิ้นไป อยากทำลาย (ตัณหา)
ผูกใจ ปักใจ ค้างใจกับสิ่งนั้น (อุปาทาน) ในทางร้าย ที่จะชิงชัง เกลียดกลัว หลีกหนี อย่าให้พบเห็นอีก เป็นต้น พร้อมกับเกิดเป็นปฏิกิริยา ให้ยิ่งยึดมั่นฝันหาผูกใจมั่นหมาย ที่จะให้พบให้ได้สุขเวทนา และสิ่งที่หวังว่าจะให้สุขเวทนาแก่ตนยิ่งขึ้นไปอีก

ในกระบวนการนี้ ก็จึงบังเกิดเป็นสุขทุกข์ แบบซับซ้อนรุนแรงเข้มข้น ที่เป็นผลเสกสรรของมนุษย์เอง ซึ่งหมุนเวียนเข้าวงจรที่เริ่มจากเวทนาใหม่ซ้ำแล้วซ้ำเล่า กลายเป็นสังสารวัฏฏ วนอยู่อย่างนั้น ไม่สามารถก้าวต่อไปสู่ผลเลิศอย่างอื่น ที่ชีวิตนี้ยังสามารถเข้าถึงได้ยิ่งกว่านั้นขึ้นไป

(เดิมมันเป็นวงจรของธรรมชาติ พอคนไปยึดเอาธรรม-ชาติเข้า ก็จึงกลายเป็นทุกข์ของคน (ทุกขอริยสัจ) ไป)


่มีตัวอย่าง คือว่า เมื่อประสบกับอนิฏฐารมณ์ที่เป็นทุกข์เวทนาแล้ว ก็ขัดใจ อยากหลีก อยากหนีไปให้พ้นๆ ดู

อ้างคำพูด:
เริ่มสงบจะมีอาการคันคอ

เวลานั่งสมาธิกำหนดคำภาวนา พร้อมไปกับลมหายใจ นั่งทำสมาธิไปสักพักจะต้องเริ่มมีอาการคันคอ ทุกครั้ง พยามยามฝืนไม่สนใจ แต่จะคันคอจนต้องไอออกมาทุกครั้ง บางครั้งน้ำลายกระเด็นออกมาเลอะปาก พร้อมน้ำตาไหล พอไอออกมา สักครั้ง สองครั้ง แล้วจะหายไป แล้วไม่คันคออีกเลย อยากรบกวนสอบถามถึงอาการที่เกิด และทำอย่างไรถึงจะไม่ให้เกิดอาการคันคอได้ เพราะตอนนั่งพอจะเริ่มสงบนิ่งจะเป็นทุกครั้ง ทำให้เกิดความรำคาญ


อ้างคำพูด:
นั่งสมาธิเสร็จแล้วคันมากค่ะ

บางทีก็คันตอนนั่ง เคยแต่โยก ไม่เคยคัน สงสัยว่าจะแก้ยังไง ขอบคุณค่ะ

คือว่า ไม่นั่งสมาธิไม่คันค่ะ

มันก็คันตรงนู้นตรงนี้ ไม่ได้หยุดหย่อนน่ะค่ะ เวลาปกติไม่ได้รู้สึกคันตลอดเวลาอย่างนี้ พอนั่งไปสักพักก็จะเป็น


ลงเทียบไว้ 2 ตัวอย่าง เผื่อท่านอื่นๆจะได้เข้าใจ ส่วนคุณโรสปล่อยเทอไปตามยถากรรม คิกๆๆๆ

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 27 เม.ย. 2019, 08:41 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
กรัชกาย เขียน:
ทีนี้ ดูอีกฝากหนึ่ง ซึ่งเมื่อประสบกับทุกขเวทนาบ้าง


ในทางตรงข้าม ถ้ารับรู้อารมณ์ใดแล้ว เกิดความรู้สึกทุกข์ เจ็บปวด ไม่สบาย (ทุกข-เวทนา) ก็ไม่ชอบใจ ขัดเคือง อยากจะพ้นไป หรือ ให้มันสูญสิ้นไป อยากทำลาย (ตัณหา)
ผูกใจ ปักใจ ค้างใจกับสิ่งนั้น (อุปาทาน) ในทางร้าย ที่จะชิงชัง เกลียดกลัว หลีกหนี อย่าให้พบเห็นอีก เป็นต้น พร้อมกับเกิดเป็นปฏิกิริยา ให้ยิ่งยึดมั่นฝันหาผูกใจมั่นหมาย ที่จะให้พบให้ได้สุขเวทนา และสิ่งที่หวังว่าจะให้สุขเวทนาแก่ตนยิ่งขึ้นไปอีก

ในกระบวนการนี้ ก็จึงบังเกิดเป็นสุขทุกข์ แบบซับซ้อนรุนแรงเข้มข้น ที่เป็นผลเสกสรรของมนุษย์เอง ซึ่งหมุนเวียนเข้าวงจรที่เริ่มจากเวทนาใหม่ซ้ำแล้วซ้ำเล่า กลายเป็นสังสารวัฏฏ์ วนอยู่อย่างนั้น ไม่สามารถก้าวต่อไปสู่ผลเลิศอย่างอื่น ที่ชีวิตนี้ยังสามารถเข้าถึงได้ยิ่งกว่านั้นขึ้นไป



ต่อไป


โดยนัยนี้ จะเห็นว่า ช่วงต่อที่กระบวนธรรมจะสืบทอดจากการรับรู้ (ผัสสะ) ต่อไปนั้นเป็นขั้นตอนที่สำคัญอย่างยิ่ง เรียกได้ว่า เป็นหัวเลี้ยวหัวต่อทีเดียว และในภาวะเช่นนี้ เวทนาเป็นองค์ธรรมที่มีบทบาทสำคัญมาก กระบวนธรรมที่ดำเนินต่อไปจะเป็นอย่างไร ต้องขึ้นต่อบทบาทของเวทนาว่า จะมีลักษณะอย่างใด ทั้งนี้ พอจะตั้งเป็นข้อสังเกตได้ว่า

ก. กระบวนธรรมที่สืบทอดต่อจากผัสสะ เป็นหัวเลี้ยวหัวต่อ ระหว่างกระบวนรับรู้ที่บริสุทธิ์ กับ กระบวนการสังสารวัฏ

ในกระบวนการรับรู้บริสุทธิ์ เวทนามีบทบาทเป็นเพียงองค์ประกอบย่อย อย่างหนึ่งที่ช่วยให้เกิดความรู้ที่ถูกต้องสมบูรณ์

ในกระบวนการสังสารวัฏ เวทนาเป็นปัจจัยตัวเอกที่มีอิทธิพลครอบงำความเป็นไปของกระบวนธรรมทั้งหมด กล่าวได้ว่า มนุษย์จะคิดปรุงแต่งอย่างไรและทำการอะไร ก็เพราะเวทนา และเพื่อเวทนา หรือชีวิตจะเป็นอย่างไร นอกจากนั้น ในกระบวนการสังสารวัฏนี้ มนุษย์มิได้หยุดอยู่เพียงแค่เป็นผู้รับรู้อารมณ์เรียนรู้โลกเพื่อเกี่ยวข้อง จัดการกับโลกอย่างได้ผลดีเท่านั้น แต่ได้ก้าวต่อไปสู่ความเป็นผู้เสพเสวยโลกด้วย

สำหรับกระบวนการรับรู้บริสุทธิ์นั้น ถ้าจะพูดให้ละเอียดชัดเจนตามหลัก ก็ต้องตัดตอนที่ช่วงต่อจากผัสสะนี้ด้วยเหมือนกัน โดยถือว่า การรับรู้เกิดขึ้นเสร็จสิ้นแล้วที่ผัสสะ ดังนั้น กระบวนธรรมต่อจากนี้ไปจึงแยกได้เป็นอีกตอนหนึ่ง และขอเรียกชื่อว่า กระบวนการญาณทัศนะ หรือกระบวนธรรมแบบวิวัฏฏ์ เป็นคู่ปฏิปักษ์ กับ กระบวนการสังสารวัฏ


ข. กระบวนธรรมที่สืบทอดจากผัสสะ เป็นหัวเลี้ยวหัวต่อทางจริยธรรม ระหว่างความดี กับ ความชั่ว ระหว่างกุศล กับ อกุศล ระหว่างความหลุดพ้นเป็นอิสระ กับ การหมกติดหมุนเวียนอยู่ในสังสารวัฏ

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 27 เม.ย. 2019, 15:47 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


เมื่อกล่าวถึงส่วนอื่นๆ ของกระบวนธรรมแล้ว ก็ต้องย้อนกลับไปพูดถึงอายตนะอีก เพราะกระบวนธรรมต่างๆ ที่กล่าวมานั้น ต้องอาศัยอายตนะ เริ่มต้นที่อายตนะ เมื่อว่าองค์ธรรมอื่นๆ สำคัญ ก็ต้องว่าอายตนะสำคัญเหมือนกัน เช่น เมื่อว่าเวทนาเป็นองค์ธรรมสำคัญยิ่งในกระบวนธรรมแบบเสพเสวยโลก
อายตนะก็ย่อมมีความสำคัญมากด้วย เพราะอายตนะเป็นแหล่ง หรือ เป็นช่องทางที่อำนายให้เวทนาเกิดขึ้น เวทนาเป็นสิ่งที่มนุษย์มุ่งประสงค์ อายตนะเป็นแหล่งอำนวยสิ่งที่มุ่งประสงค์นั้น

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 27 เม.ย. 2019, 15:49 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


ต่อ

เท่าที่กล่าวมานี้ สรุปได้ว่า อายตนะ ๖ ทำหน้าที่รับใช้มนุษย์ ๒ อย่าง คือ

๑. เป็นทางรับรู้โลก หรือเป็นแหล่งนำโลกมาเสนอต่อมนุษย์ เป็นเครื่องมือสื่อสาร ทำให้มนุษย์ได้รับข้อมูลแหล่งความรู้ ซึ่งเป็นสิ่งจำเป็นที่จะช่วยให้มนุษย์สามารถเกี่ยวข้องกับโลกได้ถูกต้อง ทำให้ชีวิตอยู่รอด และดำเนินไปด้วยดี

๒. เป็นช่องทางเสวยโลก หรือเป็นประตูที่มนุษย์จะเปิดออกไปรับอารมณ์ที่เป็นรสอร่อยของโลก มาเสพเสวย ด้วยการดู การฟัง การดม การลิ้มชิมรส การแตะต้องเสียดสี ความสนุกสนานบันเทิง ตลอดจนจินตนาการสิ่งที่หวานชื่นระรื่นใจ

ความจริง หน้าที่ทั้งสองอย่างนี้ ก็ติดเนื่องอยู่ด้วยกัน หน้าที่อย่างแรก เรียกได้ว่าเป็นหน้าที่หลัก หรือหน้าที่พื้นฐานที่จำเป็น ส่วนหน้าที่ที่สองเป็นหน้าที่รอง จะว่าเป็นของแถมหรือส่วนเกินก็คงได้

ในกรณีสนองหน้าที่ทั้งสองนั้น การทำงานของอายตนะก็อย่างเดียวกัน ความแตกต่างอยู่ที่เจตจำนงของมนุษย์ ซึ่งมุ่งไปที่ความรู้ หรือมุ่งไปที่เวทนา

สำหรับมนุษย์ปุถุชน ความสำคัญของอายตนะมักจะก้าวข้ามมาอยู่กับหน้าที่อย่างที่สอง คือการเสพเสวยโลก จนถึงขั้นที่กลายเป็นว่า หน้าที่อย่างที่หนึ่งมีไว้เพียงเพื่อเป็นส่วนประกอบสนองการทำหน้าที่อย่างที่สอง
หรือพูดอีกอย่างหนึ่งว่า กระบวนการรับรู้มีไว้เพื่อรับใช้กระบวนการเสพเสวยโลก หรือรับใช้กระบวนการสังสารวัฏเท่านั้นเอง ทั้งนี้ เพราะปุถุชนมักใช้อายตนะเพื่อมุ่งรับรู้เฉพาะความรู้ส่วนที่จะทำให้ตนได้เสพเสวยอารมณ์อร่อยของโลกเท่านั้น หาสนใจสิ่งอันพึงรู้นอกจากนั้นไม่

ยิ่งกว่านั้น สำหรับปุถุชน แม้กระทั่งความสัมพันธ์กับโลก ในภาคแสดงออกด้วยการทำ การพูด การคิด ก็จะกลายเป็นการกระทำเพื่อรับใช้กระบวนการสังสารวัฏเช่นเดียวกัน คือ มุ่งทำ พูด คิด เพื่อแสวงหาและให้ได้มา ซึ่งอารมณ์สำหรับเสพเสวย

ยิ่งเป็นปุถุชนที่หนามากเท่าใด ความติดข้องพัวพันอยู่กับหน้าที่อย่างที่สองของอายตนะก็ยิ่งมากขึ้นเท่า นั้น จนถึงขั้นที่ว่า ชีวิตและโลกของมนุษย์วนเวียนอยู่แค่อายตนะ ๖ เท่านั้นเอง

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 27 เม.ย. 2019, 15:58 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


เท่าที่กล่าวมานี้ จึงเห็นได้ว่า แม้อายตนะ (ภายใน) ๖ จะเป็นเพียงส่วนหนึ่งของขันธ์ ๕ * และไม่ครอบคลุมทุกส่วนแห่งชีวิตมนุษย์โดยสิ้นเชิง เหมือนอย่างขันธ์ ๕ ก็จริง แต่มันก็มีบทบาทสำคัญยิ่งในการดำเนินชีวิตของมนุษย์
มีอำนาจกำกับวิถีชีวิตของมนุษย์เป็นอย่างมาก จนกล่าวได้ว่าชีวิตเท่าที่มนุษย์รู้จัก และดำเนินอยู่ ก็คือการติดต่อเกี่ยวข้องกับโลกทางอายตนะเหล่านี้ และชีวิตมีความหมายต่อมนุษย์ก็ด้วยอาศัยอายตนะเหล่านี้
ถ้าอายตนะไม่ทำหน้าที่แล้ว โลกก็ดับ ชีวิตก็ไร้ความหมายสำหรับมนุษย์


ที่อ้างอิงที่ *

* อายตนะทั้ง ๑๒ (คือรวมทั้งอายตนะภายนอก) จัดลงในขันธ์ ๕ (อายตนะภายใน ๖ ลงได้หมด แต่อายตนะภายนอก ๖ เกินขันธ์ ๕ ) ดังนี้
๑. อายตนะ ๕ คู่แรก (จักขุ - รูป โสต - สัททะ ฆานะ - คันธะ ชิวหา - รส กาย -โผฏฐัพพะ) อยู่ในรูปขันธ์

๒. อายตนะภายในที่ ๖ คือ มโนหรือใจ อยู่ในวิญญาณขันธ์

๓. อายตนะภายนอก ๖ คือ ธรรม หรือธรรมารมณ์ อยู่ในขันธ์ ๔ คือ นามขันธ์ ๓ (เวทนา สัญญา สังขาร) และ รูปขันธ์ (เฉพาะที่เป็นสุขุมรูปเท่านั้น เช่น อากาศธาตุ ความเป็นหญิง ความเป็นชาย ความเบา ความอ่อนสลวย ความสืบต่อ ความทรุดโทรม การขยายตัว ความแปรสลายของรูป เป็นต้น) กับทั้งนิพพาน ซึ่งเป็นภาวะพ้นจากขันธ์ (ขันธวินิมุต) (ดู อภิ. วิ. 35/100/85)


.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 27 เม.ย. 2019, 19:11 
 
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 6
สมาชิก ระดับ 6
ลงทะเบียนเมื่อ: 17 ส.ค. 2018, 07:07
โพสต์: 482

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
กรัชกาย เขียน:
ทีนี้ ดูอีกฝากหนึ่ง ซึ่งเมื่อประสบกับทุกขเวทนาบ้าง


ในทางตรงข้าม ถ้ารับรู้อารมณ์ใดแล้ว เกิดความรู้สึกทุกข์ เจ็บปวด ไม่สบาย (ทุกข-เวทนา) ก็ไม่ชอบใจ ขัดเคือง อยากจะพ้นไป หรือ ให้มันสูญสิ้นไป อยากทำลาย (ตัณหา)
ผูกใจ ปักใจ ค้างใจกับสิ่งนั้น (อุปาทาน) ในทางร้าย ที่จะชิงชัง เกลียดกลัว หลีกหนี อย่าให้พบเห็นอีก เป็นต้น พร้อมกับเกิดเป็นปฏิกิริยา ให้ยิ่งยึดมั่นฝันหาผูกใจมั่นหมาย ที่จะให้พบให้ได้สุขเวทนา และสิ่งที่หวังว่าจะให้สุขเวทนาแก่ตนยิ่งขึ้นไปอีก

ในกระบวนการนี้ ก็จึงบังเกิดเป็นสุขทุกข์ แบบซับซ้อนรุนแรงเข้มข้น ที่เป็นผลเสกสรรของมนุษย์เอง ซึ่งหมุนเวียนเข้าวงจรที่เริ่มจากเวทนาใหม่ซ้ำแล้วซ้ำเล่า กลายเป็นสังสารวัฏฏ วนอยู่อย่างนั้น ไม่สามารถก้าวต่อไปสู่ผลเลิศอย่างอื่น ที่ชีวิตนี้ยังสามารถเข้าถึงได้ยิ่งกว่านั้นขึ้นไป

(เดิมมันเป็นวงจรของธรรมชาติ พอคนไปยึดเอาธรรม-ชาติเข้า ก็จึงกลายเป็นทุกข์ของคน (ทุกขอริยสัจ) ไป)


่มีตัวอย่าง คือว่า เมื่อประสบกับอนิฏฐารมณ์ที่เป็นทุกข์เวทนาแล้ว ก็ขัดใจ อยากหลีก อยากหนีไปให้พ้นๆ ดู

อ้างคำพูด:
เริ่มสงบจะมีอาการคันคอ

เวลานั่งสมาธิกำหนดคำภาวนา พร้อมไปกับลมหายใจ นั่งทำสมาธิไปสักพักจะต้องเริ่มมีอาการคันคอ ทุกครั้ง พยามยามฝืนไม่สนใจ แต่จะคันคอจนต้องไอออกมาทุกครั้ง บางครั้งน้ำลายกระเด็นออกมาเลอะปาก พร้อมน้ำตาไหล พอไอออกมา สักครั้ง สองครั้ง แล้วจะหายไป แล้วไม่คันคออีกเลย อยากรบกวนสอบถามถึงอาการที่เกิด และทำอย่างไรถึงจะไม่ให้เกิดอาการคันคอได้ เพราะตอนนั่งพอจะเริ่มสงบนิ่งจะเป็นทุกครั้ง ทำให้เกิดความรำคาญ


อ้างคำพูด:
นั่งสมาธิเสร็จแล้วคันมากค่ะ

บางทีก็คันตอนนั่ง เคยแต่โยก ไม่เคยคัน สงสัยว่าจะแก้ยังไง ขอบคุณค่ะ

คือว่า ไม่นั่งสมาธิไม่คันค่ะ

มันก็คันตรงนู้นตรงนี้ ไม่ได้หยุดหย่อนน่ะค่ะ เวลาปกติไม่ได้รู้สึกคันตลอดเวลาอย่างนี้ พอนั่งไปสักพักก็จะเป็น


ลงเทียบไว้ 2 ตัวอย่าง เผื่อท่านอื่นๆจะได้เข้าใจ ส่วนคุณโรสปล่อยเทอไปตามยถากรรม คิกๆๆๆ


... ผมเคยเล่าแล้ว ... เห็นอาการที่จิต ... วิ่งไปรู้ความคันตามร่างกาย ... ตรงนั้นทีตรงนี้ที ... ดำริว่าดีล่ะ เอาความคันนี้แหล่ะ ... เป็นอารมณ์กรรมฐาน ... คันตรงไหนรู้ตรงนั้น ... เกิดขึ้นก็รู้ ... ตั้งอยู่ก็รู้ ... ดับไปก็รู้เกิดขึ้นไหม่ก็รู้ ... แค่ตามรู้ตามดูไปอย่างนั้น ... ไม่ไปเสริมเติมแต่ง ... ไม่ไปยุ่งไปปรุง ... จนใจมันไม่เดือดไม่ร้อนอะไรกับความคัน ... ถึงความเป็นกลางวางเฉย ... ทีนี้แหละไอความเป็นกลางวางเฉยนั้น จะพาให้เรา ... กำหนดรู้ทุกข์ได้ตามเป็นจริง

... ฟังดูง่าย ๆ ... แต่ผมค่อนข้างมั่นใจ ... ว่าแนวทางนี้ไม่มั่ว ... เห็นอริยสัจ ๔ ได้จริง ...พอใจมันเป็นกลางวางเฉยมันรู้ของมันเองอย่างนั้น ... ไม่ใช่นึกเอา .. หรือคิดไปเอง ... แต่มันรู้ของมันเอง ... ว่าไม่เที่ยงเป็นทุกข์ ... จะให้ถอดภาษามาเล่า ... ก็เล่าได้ไม่ดีเกินพระพุทธเจ้า ... สิ่งใดไม่เที่ยงสิ่งนั้นเป็นทุกข์ ... สิ่งใดเป็นทุกข์สิ่งนั้นไม่ควรยึดมั่นถือมั่น


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 28 เม.ย. 2019, 02:19 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 29 ต.ค. 2009, 15:06
โพสต์: 7502

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


Love J. เขียน:
กรัชกาย เขียน:
กรัชกาย เขียน:
ทีนี้ ดูอีกฝากหนึ่ง ซึ่งเมื่อประสบกับทุกขเวทนาบ้าง


ในทางตรงข้าม ถ้ารับรู้อารมณ์ใดแล้ว เกิดความรู้สึกทุกข์ เจ็บปวด ไม่สบาย (ทุกข-เวทนา) ก็ไม่ชอบใจ ขัดเคือง อยากจะพ้นไป หรือ ให้มันสูญสิ้นไป อยากทำลาย (ตัณหา)
ผูกใจ ปักใจ ค้างใจกับสิ่งนั้น (อุปาทาน) ในทางร้าย ที่จะชิงชัง เกลียดกลัว หลีกหนี อย่าให้พบเห็นอีก เป็นต้น พร้อมกับเกิดเป็นปฏิกิริยา ให้ยิ่งยึดมั่นฝันหาผูกใจมั่นหมาย ที่จะให้พบให้ได้สุขเวทนา และสิ่งที่หวังว่าจะให้สุขเวทนาแก่ตนยิ่งขึ้นไปอีก

ในกระบวนการนี้ ก็จึงบังเกิดเป็นสุขทุกข์ แบบซับซ้อนรุนแรงเข้มข้น ที่เป็นผลเสกสรรของมนุษย์เอง ซึ่งหมุนเวียนเข้าวงจรที่เริ่มจากเวทนาใหม่ซ้ำแล้วซ้ำเล่า กลายเป็นสังสารวัฏฏ วนอยู่อย่างนั้น ไม่สามารถก้าวต่อไปสู่ผลเลิศอย่างอื่น ที่ชีวิตนี้ยังสามารถเข้าถึงได้ยิ่งกว่านั้นขึ้นไป

(เดิมมันเป็นวงจรของธรรมชาติ พอคนไปยึดเอาธรรม-ชาติเข้า ก็จึงกลายเป็นทุกข์ของคน (ทุกขอริยสัจ) ไป)


่มีตัวอย่าง คือว่า เมื่อประสบกับอนิฏฐารมณ์ที่เป็นทุกข์เวทนาแล้ว ก็ขัดใจ อยากหลีก อยากหนีไปให้พ้นๆ ดู

อ้างคำพูด:
เริ่มสงบจะมีอาการคันคอ

เวลานั่งสมาธิกำหนดคำภาวนา พร้อมไปกับลมหายใจ นั่งทำสมาธิไปสักพักจะต้องเริ่มมีอาการคันคอ ทุกครั้ง พยามยามฝืนไม่สนใจ แต่จะคันคอจนต้องไอออกมาทุกครั้ง บางครั้งน้ำลายกระเด็นออกมาเลอะปาก พร้อมน้ำตาไหล พอไอออกมา สักครั้ง สองครั้ง แล้วจะหายไป แล้วไม่คันคออีกเลย อยากรบกวนสอบถามถึงอาการที่เกิด และทำอย่างไรถึงจะไม่ให้เกิดอาการคันคอได้ เพราะตอนนั่งพอจะเริ่มสงบนิ่งจะเป็นทุกครั้ง ทำให้เกิดความรำคาญ


อ้างคำพูด:
นั่งสมาธิเสร็จแล้วคันมากค่ะ

บางทีก็คันตอนนั่ง เคยแต่โยก ไม่เคยคัน สงสัยว่าจะแก้ยังไง ขอบคุณค่ะ

คือว่า ไม่นั่งสมาธิไม่คันค่ะ

มันก็คันตรงนู้นตรงนี้ ไม่ได้หยุดหย่อนน่ะค่ะ เวลาปกติไม่ได้รู้สึกคันตลอดเวลาอย่างนี้ พอนั่งไปสักพักก็จะเป็น


ลงเทียบไว้ 2 ตัวอย่าง เผื่อท่านอื่นๆจะได้เข้าใจ ส่วนคุณโรสปล่อยเทอไปตามยถากรรม คิกๆๆๆ


... ผมเคยเล่าแล้ว ... เห็นอาการที่จิต ... วิ่งไปรู้ความคันตามร่างกาย ... ตรงนั้นทีตรงนี้ที ... ดำริว่าดีล่ะ เอาความคันนี้แหล่ะ ... เป็นอารมณ์กรรมฐาน ... คันตรงไหนรู้ตรงนั้น ... เกิดขึ้นก็รู้ ... ตั้งอยู่ก็รู้ ... ดับไปก็รู้เกิดขึ้นไหม่ก็รู้ ... แค่ตามรู้ตามดูไปอย่างนั้น ... ไม่ไปเสริมเติมแต่ง ... ไม่ไปยุ่งไปปรุง ... จนใจมันไม่เดือดไม่ร้อนอะไรกับความคัน ... ถึงความเป็นกลางวางเฉย ... ทีนี้แหละไอความเป็นกลางวางเฉยนั้น จะพาให้เรา ... กำหนดรู้ทุกข์ได้ตามเป็นจริง

... ฟังดูง่าย ๆ ... แต่ผมค่อนข้างมั่นใจ ... ว่าแนวทางนี้ไม่มั่ว ... เห็นอริยสัจ ๔ ได้จริง ...พอใจมันเป็นกลางวางเฉยมันรู้ของมันเองอย่างนั้น ... ไม่ใช่นึกเอา .. หรือคิดไปเอง ... แต่มันรู้ของมันเอง ... ว่าไม่เที่ยงเป็นทุกข์ ... จะให้ถอดภาษามาเล่า ... ก็เล่าได้ไม่ดีเกินพระพุทธเจ้า ... สิ่งใดไม่เที่ยงสิ่งนั้นเป็นทุกข์ ... สิ่งใดเป็นทุกข์สิ่งนั้นไม่ควรยึดมั่นถือมั่น

:b1:
เนี่ยไม่ฟังอะไรเลยนะพ่อคู๊ณสมาธิคือเจตสิกชื่อว่าเอกัคตาเจตสิกมีแล้วเกิดกับจิตทุกขณะ
มันตั้งมั่นเป็นสมาธิตรงทางที่ละ1ทางทีละ1ขณะตรงวิถีจิตแต่ละ1ทางและเกิดดับสลับกัน
ตัวจริงธัมมะแต่ละ1ไม่ใช่อันเดียวกันเป็นอันใหม่ตลอดเป็นสิ่งที่กำลังมีจริงๆที่มีรูปารมณ์ใหม่หมด
จะเอาแต่ความคิดตัวเองเป็นใหญ่โดยไม่ฟังคนอื่นบอกแล้วก็มีตัวตนไปคิดนึกทำเองโดยขาดการฟัง
ไม่มีกาลามสูตร10ทำตามๆกันโดยเชื่อตามๆกันไม่ฟังคำสอนให้เข้าใจว่าพระองค์บอกว่ามีกิเลสฟังซะบ้างนะ
https://youtu.be/5riQMrQOoLw
:b12:
:b32: :b32:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 28 เม.ย. 2019, 02:31 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 29 ต.ค. 2009, 15:06
โพสต์: 7502

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


Kiss
แปลให้ตรงปัจจุบัน
พระพุทธเจ้าตรัสรู้ความจริงว่า
ความจริงที่จิตกำลังเกิดดับนับได้แสนโกฏิขณะเดี๋ยวนี้
เข้าใจคำว่าแสนโกฏิขณะไหมคะโกฏิ=1ล้าน/แสนโกฏิ=1ล้านxแสน(1ขณะจิต=จิต+เจตสิก+รูป)
คิดได้แค่คำว่าดีดับแล้วทั้งแสนโกฏิขณะนั้นน่ะค่ะกิเลสใหม่มันทับถมกิเลสเก่าไปอีกล้านๆๆๆๆขณะฟังบ้าง
:b12: :b12:
onion onion onion


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 28 เม.ย. 2019, 05:28 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
เท่าที่กล่าวมานี้ จึงเห็นได้ว่า แม้อายตนะ (ภายใน) ๖ จะเป็นเพียงส่วนหนึ่งของขันธ์ ๕ * และไม่ครอบคลุมทุกส่วนแห่งชีวิตมนุษย์โดยสิ้นเชิง เหมือนอย่างขันธ์ ๕ ก็จริง แต่มันก็มีบทบาทสำคัญยิ่งในการดำเนินชีวิตของมนุษย์
มีอำนาจกำกับวิถีชีวิตของมนุษย์เป็นอย่างมาก จนกล่าวได้ว่าชีวิตเท่าที่มนุษย์รู้จัก และดำเนินอยู่ ก็คือการติดต่อเกี่ยวข้องกับโลกทางอายตนะเหล่านี้ และชีวิตมีความหมายต่อมนุษย์ก็ด้วยอาศัยอายตนะเหล่านี้
ถ้าอายตนะไม่ทำหน้าที่แล้ว โลกก็ดับ ชีวิตก็ไร้ความหมายสำหรับมนุษย์




ต่อ :b13: :b16:


มีข้อความแห่งหนึ่งในบาลี แสดงกระบวนธรรมเท่าที่กล่าวมานี้ได้อย่างกะทัดรัด และช่วยเชื่อมความที่กล่าวมาในตอนว่าด้วยขันธ์ ๕ เข้ากับเรื่องที่อธิบายในตอนนี้ให้ต่อเนื่องกัน มองเห็นกระบวนธรรมได้ครบถ้วนตลอดสายยิ่งขึ้น จึงขอยกมาอ้างไว้ ดังนี้ * (ม.มู.12/248/226)

"อาศัยตา และรูป เกิดจักขุวิญญาณ ความประจวบแห่งธรรมทั้ง ๓ นั้น เป็นผัสสะ เพราะผัสสะเป็นปัจจัย เวทนาจึงมี
บุคคลเสวยอารมณ์ใด ย่อมหมายรู้อารมณ์นั้น (= สัญญา)
หมายรู้อารมณ์ใด ย่อมตริตรึกอารมณ์นั้น (= วิตักกะ)
ตริตรึกอารมณ์ใด ย่อมผันพิสดารซึ่งอารมณ์นั้น (= ปปัญจ) * (คำเต็มว่า ปปญฺจสญฺญาสงฺขา)
บุคคลผันพิสดารซึ่งอารมณ์ใด เพราะการผันพิสดารนั้นเป็นเหตุ ปปัญจสัญญาแง่ต่างๆ * (= สัญญาที่ซับซ้อนหลากหลาย) ย่อมผุดพลุ่งสุมรุมเขา ในเรื่องรูปทั้งหลาย ที่พึงรู้ได้ด้วยตา ทั้งที่เป็นอดีต อนาคต และปัจจุบัน"

(ต่อไป ว่าด้วยอายตนะ และอารมณ์อื่นๆ จนครบ ๖ คู่ ใจความอย่างเดียวกัน)

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 28 เม.ย. 2019, 09:07 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


ต่อ สังเกตไว้ก่อน

กระบวนธรรมนี้ เขียนให้เห็นง่ายขึ้นดังนี้

=>กระบวนการรับรู้ที่บริสุทธิ์=> l =>กระบวนธรรมแบบเสพเสวยโลก=>

- (กระแสปกติตามธรรมชาติ) - - - - - (เกิดมีผู้เสวย-สิ่งถูกเสวย ผู้คิด-สิ่งถูกคิด)

อายตะ+อารมณ์+วิญญาณ+ผัสสะ==>เวทนา>สัญญา>วิตักกะ=>ปปัญจะ>ปปัญจสัญญาแง่ต่างๆ

เมื่อเกิดปปัญจสัญญาแล้ว ก็ยิ่งมีความตริตรึกนึกคิด (วิตักกะ) ได้มากมายและกว้างขวางพิสดารยิ่งขึ้น
ทำให้เกิดกิเลสต่างๆ เช่น ชอบใจ ไม่ชอบใจ หวงแหน ริษยา เป็นต้น ปนเป คลุกเคล้า ไปกับความคิดนั้น * (ดู ที.ม.10/256-7/311)


ระหว่างผัสสะ กับ เวทนา เป็นทางแยก ระหว่างกระบวนการรับรู้ที่บริสุทธิ์ กับ กระบวนการรับรู้แบบเสพเสวยโลก

วิตักกะ > ปปัญจะ ที่ขีดเส้นใต้ = สังขาร

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


แสดงโพสต์จาก:  เรียงตาม  
กลับไปยังกระทู้  [ 94 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1 ... 3, 4, 5, 6, 7  ต่อไป

เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


 ผู้ใช้งานขณะนี้

กำลังดูบอร์ดนี้: Google [Bot] และ บุคคลทั่วไป 226 ท่าน


ท่าน ไม่สามารถ โพสต์กระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ตอบกระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แก้ไขโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ลบโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แนบไฟล์ในบอร์ดนี้ได้

ค้นหาสำหรับ:
ไปที่:  
Google
ทั่วไป เว็บธรรมจักร