ลานธรรมจักร http://www.dhammajak.net/forums/ |
|
อริยสัจ 4 http://www.dhammajak.net/forums/viewtopic.php?f=1&t=57406 |
หน้า 2 จากทั้งหมด 4 |
เจ้าของ: | แค่อากาศ [ 13 เม.ย. 2019, 20:58 ] |
หัวข้อกระทู้: | Re: อริยสัจ 4 |
โลกสวย เขียน: แค่อากาศ เขียน: ผมชอบที่ท่านโพสท์หลายๆกระทู้นะ มีประโยชน์หลายอย่างมีแนวทางที่ผมเห็นแล้ว รู้แล้ว ประจักษ์ได้ด้วยตนเองแต่ยังไม่แยบคายพอเมื่อเห็นในพระสูตรก็ทำให้เข้าใจในทันที ![]() ![]() ![]() แต่ในหลายๆอย่างแบ่งไปตามพระอริยะภูมิธรรมที่เข้าถึงก็ดี แบ่งไปตามความแยบคายขอแต่ละฐานะก็ดี มันทำให้ปุถุชนที่ยังไม่เคยรับรู้สัมผัสแม้ในโลกียะจะมองถึงความยากเกินไปให้เข้าถึง ดังนั้นลองเปลี่ยนเป็น ใช้คำว่า 1. เบื้องต้นพึงพิจารณาเห็น ทุกข์อย่างนี้ๆ..ฯลฯ..จนแยบคาย เพื่อให้ใจน้อมไปในความหน่ายสิ่งนี้ๆ..เมื่อเห็นแล้วดังนี้ จะยังความแจ้งชัดให้ใจ อันถึงผลอย่างนี้ๆ..ฯลฯ..ได้ 2. ท่ามกลางพึงพิจารณาเห็นสืบต่อ ทุกข์อย่างนี้ๆ..ฯลฯ..จนแยบคาย เพื่อให้ใจน้อมไปในความหน่ายสิ่งนี้ๆ..เมื่อเห็นแล้วดังนี้ จะยังความแจ้งชัดให้ใจ อันถึงผลอย่างนี้ๆ..ฯลฯ..ได้ 3. เบื้องสุดพึงพิจารณาเห็นสืบต่อ ทุกข์อย่างนี้ๆ..ฯลฯ..จนแยบคาย เพื่อให้ใจน้อมไปในความหน่ายสิ่งนี้ๆ..เมื่อเห็นแล้วดังนี้ จะยังความแจ้งชัดให้ใจ อันถึงผลอย่างนี้ๆ..ฯลฯ..ได้ ซึ่งคนที่ถึงธรรมต่างๆได้ย่อมรู้ได้เฉพาะตน ไม่อย่างนั้นบางคนรับรู้ได้นิดหน่อยก็จะหลงตามไปได้ว่า ตนบรรลุธรรมใดธรรมหนึ่งแล้วด้วยปรัะการที่อ้างกล่าวดังนี้ที่ท่านกกล่าวไว้ ทำให้ธรรมที่ท่านเข้าถึงเป็นเรื่องง่ายที่จะเข้าถึง แต่มีหลักในการเจริญ ผลปฏิบัติที่สามารถสัมผัสที่เข้าถึงได้ตามจริง ความรักษา ความคงไว้ไม่ให้เสื่อม หากถึงผลนี้ๆไม่ได้ให้เพียรสะสมอย่างไร โดยไม่หลง อยู่ด้วยสติ สัมปะชัญญะอย่างไร รู้ประมาณแบบไหน คลาย อัตตา มานะทิฏฐิอย่างไรให้ดำรงในทางสายกลาง ผมเชื่อว่าจะมีประโยชน์มากๆ ![]() ![]() ![]() ![]() ![]() ![]() (ความรู้สึกที่สัมผัสได้ ดูคล้ายน้องเมที่รักผมนะ ![]() ![]() ![]() คริคริ คุณป้าวัลลัยพร เธอโพสต์ไว้ดีแล้ว เม ขออนุโมทนาด้วยค่ะ ไม่ได้แวะมาคุยกะป้านานแล้วเรยแวะมาสวัสดีปีใหม่ค่ะ มั่วตามเคยแหละเธอช่างอากาศ ซ่อมแอร ซ่อมพัดลมไปตามเรื่องเธอเหอะ ที่แนะนำไปนั่นมันทางสายเธอ คุณอากาศ เธอไม่รู้ว่า ในอริยะทุกระดับ และในมหาสติปัฎฐาน ต้องมีอริยสัจ ทุกระดับ อ่ะจ๊ะ อ่อ คุณอากาศ หนุพีเอมไป ไปรับด้วย ![]() ที่พี่คุยกับป้าเขานี้ พี่หมายเอาการแสดงธรรมเพื่อเผยแพร่น่ะน้องเมที่รัก จะคนละเรื่องกับการเข้าถึงธรรม การเชื้อเชิญให้ผู้ที่ยังไม่สัทธาให้สัทธา มันมีหลายแนวทาง แม้พระสารีบุตรเถระ พระนาคเสนเถระ ตลอดจนถึงพระบรมศาสดา ก็ได้ทรงจำแนกธรรมสั่งสอนสัตว์ มีความไพเราะในเบื้องต้น ท่ามกลาง และที่สุด หรือในอีกนัยยะหนึ่งคือ จำแนกสอนตามสติปัญญาของสัตว์ ทั้งในเบื้องต้น ท่ามกลาง และที่สุด เมื่อจะตรัสสอนธรรมใดล้วนเป็นความสืบเนื่องด้วยเหตุและผล บุคคลผู้ยังไม่มีสันดารอริยะสถิตย์ก็ทรงแสดงธรรมที่ให้เห็นไม่เป็นเรื่องยาก แต่อาศัยความเพียรประครองใจด้วยสติ เป็นต้น ทำไว้ในใจโดยแยบคายเข้าไปรู้เห็นตามจริง ซึ่งความเพียรประครองใจด้วยสตินี้เข้าไปถึงโพชฌงค์ได้เลย ธรรมหนึ่งข้อของพระศาสดาจึงสามารถเข้าถึงได้ทั้ง เบื้องต้น ท่ามกลาง และที่สุด การประกาศพระพุทธศาสนานี้ไม่ใช่เรื่องยากสำหรับผู้ที่แจ้งชัดแทงตลอดในธรรมนั้นแล้ว เพราะท่านจะสามารถทำให้มันง่ายแล้วสืบต่อตามลำดับได้ แต่ก็ไม่ใช่เรื่องง่ายที่จะเข้าถึงใจคน เมื่อคนที่ยังจิตไม่น้อมมา คือ ยังโอปะนะยิโกไม่ได้ เราจึงควรจำแนกธรรมอันสมควรตามที่พระศาสดาตรัสสอนว่า เธอจงมาดูเถิด ![]() ![]() ![]() รักเมนะจุ๊บๆ ![]() ![]() ![]() |
เจ้าของ: | โลกสวย [ 13 เม.ย. 2019, 23:38 ] |
หัวข้อกระทู้: | Re: อริยสัจ 4 |
แค่อากาศ เขียน: โลกสวย เขียน: แค่อากาศ เขียน: ผมชอบที่ท่านโพสท์หลายๆกระทู้นะ มีประโยชน์หลายอย่างมีแนวทางที่ผมเห็นแล้ว รู้แล้ว ประจักษ์ได้ด้วยตนเองแต่ยังไม่แยบคายพอเมื่อเห็นในพระสูตรก็ทำให้เข้าใจในทันที ![]() ![]() ![]() แต่ในหลายๆอย่างแบ่งไปตามพระอริยะภูมิธรรมที่เข้าถึงก็ดี แบ่งไปตามความแยบคายขอแต่ละฐานะก็ดี มันทำให้ปุถุชนที่ยังไม่เคยรับรู้สัมผัสแม้ในโลกียะจะมองถึงความยากเกินไปให้เข้าถึง ดังนั้นลองเปลี่ยนเป็น ใช้คำว่า 1. เบื้องต้นพึงพิจารณาเห็น ทุกข์อย่างนี้ๆ..ฯลฯ..จนแยบคาย เพื่อให้ใจน้อมไปในความหน่ายสิ่งนี้ๆ..เมื่อเห็นแล้วดังนี้ จะยังความแจ้งชัดให้ใจ อันถึงผลอย่างนี้ๆ..ฯลฯ..ได้ 2. ท่ามกลางพึงพิจารณาเห็นสืบต่อ ทุกข์อย่างนี้ๆ..ฯลฯ..จนแยบคาย เพื่อให้ใจน้อมไปในความหน่ายสิ่งนี้ๆ..เมื่อเห็นแล้วดังนี้ จะยังความแจ้งชัดให้ใจ อันถึงผลอย่างนี้ๆ..ฯลฯ..ได้ 3. เบื้องสุดพึงพิจารณาเห็นสืบต่อ ทุกข์อย่างนี้ๆ..ฯลฯ..จนแยบคาย เพื่อให้ใจน้อมไปในความหน่ายสิ่งนี้ๆ..เมื่อเห็นแล้วดังนี้ จะยังความแจ้งชัดให้ใจ อันถึงผลอย่างนี้ๆ..ฯลฯ..ได้ ซึ่งคนที่ถึงธรรมต่างๆได้ย่อมรู้ได้เฉพาะตน ไม่อย่างนั้นบางคนรับรู้ได้นิดหน่อยก็จะหลงตามไปได้ว่า ตนบรรลุธรรมใดธรรมหนึ่งแล้วด้วยปรัะการที่อ้างกล่าวดังนี้ที่ท่านกกล่าวไว้ ทำให้ธรรมที่ท่านเข้าถึงเป็นเรื่องง่ายที่จะเข้าถึง แต่มีหลักในการเจริญ ผลปฏิบัติที่สามารถสัมผัสที่เข้าถึงได้ตามจริง ความรักษา ความคงไว้ไม่ให้เสื่อม หากถึงผลนี้ๆไม่ได้ให้เพียรสะสมอย่างไร โดยไม่หลง อยู่ด้วยสติ สัมปะชัญญะอย่างไร รู้ประมาณแบบไหน คลาย อัตตา มานะทิฏฐิอย่างไรให้ดำรงในทางสายกลาง ผมเชื่อว่าจะมีประโยชน์มากๆ ![]() ![]() ![]() ![]() ![]() ![]() (ความรู้สึกที่สัมผัสได้ ดูคล้ายน้องเมที่รักผมนะ ![]() ![]() ![]() คริคริ คุณป้าวัลลัยพร เธอโพสต์ไว้ดีแล้ว เม ขออนุโมทนาด้วยค่ะ ไม่ได้แวะมาคุยกะป้านานแล้วเรยแวะมาสวัสดีปีใหม่ค่ะ มั่วตามเคยแหละเธอช่างอากาศ ซ่อมแอร ซ่อมพัดลมไปตามเรื่องเธอเหอะ ที่แนะนำไปนั่นมันทางสายเธอ คุณอากาศ เธอไม่รู้ว่า ในอริยะทุกระดับ และในมหาสติปัฎฐาน ต้องมีอริยสัจ ทุกระดับ อ่ะจ๊ะ อ่อ คุณอากาศ หนุพีเอมไป ไปรับด้วย ![]() ที่พี่คุยกับป้าเขานี้ พี่หมายเอาการแสดงธรรมเพื่อเผยแพร่น่ะน้องเมที่รัก จะคนละเรื่องกับการเข้าถึงธรรม การเชื้อเชิญให้ผู้ที่ยังไม่สัทธาให้สัทธา มันมีหลายแนวทาง แม้พระสารีบุตรเถระ พระนาคเสนเถระ ตลอดจนถึงพระบรมศาสดา ก็ได้ทรงจำแนกธรรมสั่งสอนสัตว์ มีความไพเราะในเบื้องต้น ท่ามกลาง และที่สุด หรือในอีกนัยยะหนึ่งคือ จำแนกสอนตามสติปัญญาของสัตว์ ทั้งในเบื้องต้น ท่ามกลาง และที่สุด เมื่อจะตรัสสอนธรรมใดล้วนเป็นความสืบเนื่องด้วยเหตุและผล บุคคลผู้ยังไม่มีสันดารอริยะสถิตย์ก็ทรงแสดงธรรมที่ให้เห็นไม่เป็นเรื่องยาก แต่อาศัยความเพียรประครองใจด้วยสติ เป็นต้น ทำไว้ในใจโดยแยบคายเข้าไปรู้เห็นตามจริง ซึ่งความเพียรประครองใจด้วยสตินี้เข้าไปถึงโพชฌงค์ได้เลย ธรรมหนึ่งข้อของพระศาสดาจึงสามารถเข้าถึงได้ทั้ง เบื้องต้น ท่ามกลาง และที่สุด การประกาศพระพุทธศาสนานี้ไม่ใช่เรื่องยากสำหรับผู้ที่แจ้งชัดแทงตลอดในธรรมนั้นแล้ว เพราะท่านจะสามารถทำให้มันง่ายแล้วสืบต่อตามลำดับได้ แต่ก็ไม่ใช่เรื่องง่ายที่จะเข้าถึงใจคน เมื่อคนที่ยังจิตไม่น้อมมา คือ ยังโอปะนะยิโกไม่ได้ เราจึงควรจำแนกธรรมอันสมควรตามที่พระศาสดาตรัสสอนว่า เธอจงมาดูเถิด ![]() ![]() ![]() รักเมนะจุ๊บๆ ![]() ![]() ![]() คริคริ ป้าวัลลัยพร เธอโพสต์มาเป็นพันๆๆ กระทู้ และหลายๆเวปมาแล้วค่ะ รวมทั้งบล๊อกเธอด้วย ไม่ใช่มีแค่หัวข้อกระทู้นี้ ข้อเดียว เรยไม่จำเป็น ไม่ต้องออกเรียกแขก แบบเร่เข้ามาๆ สองมือล้วงกาเป๋าสองเท้าก้าวเข้ามา ... เหมือนที่คุณอากาศ คิด เม บอกแล้ว คิดไปนั่นมันทางสายคุณเองน่ะคุณอากาศ |
เจ้าของ: | โลกสวย [ 14 เม.ย. 2019, 03:26 ] |
หัวข้อกระทู้: | Re: อริยสัจ 4 |
ในมหายาน พระพุทธเจ้าทรงตรัสถึงพระวิญญานบริสุทธ์ สี่สัจธรรม สี่ศาลเจ้าศักดิ์สิทธิ์นั่นคือความจริงสี่ประการ นี่คือพื้นฐานทางทฤษฎีและจุดเริ่มต้นพื้นฐานของคำสอนทั้งหมดของพระพุทธศาสนา พื้นฐานทางทฤษฎีของศาสนาพุทธคือความจริงอันสูงส่งทั้งสี่ และการดูหมิ่นครั้งแรกของพระวิญญาณบริสุทธิ์ทั้งสี่นั้นเป็นเรื่องที่ขมขื่น ดังนั้นจึงอาจกล่าวได้ว่าหลักคำสอนของพระพุทธศาสนาทั่วพุทธศาสนาตั้งอยู่บนพื้นฐาน ของการตัดสินขั้นพื้นฐานของชีวิตที่ขมขื่น ศาสนาพุทธแบ่งความทุกข์ทรมานของชีวิตเป็นแปดชนิด ได้แก่ ชีวิต, เก่า, ป่วย, ตาย, ไม่พอใจ, ความรัก, การแยกและการปฏิเสธ |
เจ้าของ: | walaiporn [ 14 เม.ย. 2019, 09:02 ] |
หัวข้อกระทู้: | Re: อริยสัจ 4 |
แค่อากาศ เขียน: โลกสวย เขียน: แค่อากาศ เขียน: ผมชอบที่ท่านโพสท์หลายๆกระทู้นะ มีประโยชน์หลายอย่างมีแนวทางที่ผมเห็นแล้ว รู้แล้ว ประจักษ์ได้ด้วยตนเองแต่ยังไม่แยบคายพอเมื่อเห็นในพระสูตรก็ทำให้เข้าใจในทันที ![]() ![]() ![]() แต่ในหลายๆอย่างแบ่งไปตามพระอริยะภูมิธรรมที่เข้าถึงก็ดี แบ่งไปตามความแยบคายขอแต่ละฐานะก็ดี มันทำให้ปุถุชนที่ยังไม่เคยรับรู้สัมผัสแม้ในโลกียะจะมองถึงความยากเกินไปให้เข้าถึง ดังนั้นลองเปลี่ยนเป็น ใช้คำว่า 1. เบื้องต้นพึงพิจารณาเห็น ทุกข์อย่างนี้ๆ..ฯลฯ..จนแยบคาย เพื่อให้ใจน้อมไปในความหน่ายสิ่งนี้ๆ..เมื่อเห็นแล้วดังนี้ จะยังความแจ้งชัดให้ใจ อันถึงผลอย่างนี้ๆ..ฯลฯ..ได้ 2. ท่ามกลางพึงพิจารณาเห็นสืบต่อ ทุกข์อย่างนี้ๆ..ฯลฯ..จนแยบคาย เพื่อให้ใจน้อมไปในความหน่ายสิ่งนี้ๆ..เมื่อเห็นแล้วดังนี้ จะยังความแจ้งชัดให้ใจ อันถึงผลอย่างนี้ๆ..ฯลฯ..ได้ 3. เบื้องสุดพึงพิจารณาเห็นสืบต่อ ทุกข์อย่างนี้ๆ..ฯลฯ..จนแยบคาย เพื่อให้ใจน้อมไปในความหน่ายสิ่งนี้ๆ..เมื่อเห็นแล้วดังนี้ จะยังความแจ้งชัดให้ใจ อันถึงผลอย่างนี้ๆ..ฯลฯ..ได้ ซึ่งคนที่ถึงธรรมต่างๆได้ย่อมรู้ได้เฉพาะตน ไม่อย่างนั้นบางคนรับรู้ได้นิดหน่อยก็จะหลงตามไปได้ว่า ตนบรรลุธรรมใดธรรมหนึ่งแล้วด้วยปรัะการที่อ้างกล่าวดังนี้ที่ท่านกกล่าวไว้ ทำให้ธรรมที่ท่านเข้าถึงเป็นเรื่องง่ายที่จะเข้าถึง แต่มีหลักในการเจริญ ผลปฏิบัติที่สามารถสัมผัสที่เข้าถึงได้ตามจริง ความรักษา ความคงไว้ไม่ให้เสื่อม หากถึงผลนี้ๆไม่ได้ให้เพียรสะสมอย่างไร โดยไม่หลง อยู่ด้วยสติ สัมปะชัญญะอย่างไร รู้ประมาณแบบไหน คลาย อัตตา มานะทิฏฐิอย่างไรให้ดำรงในทางสายกลาง ผมเชื่อว่าจะมีประโยชน์มากๆ ![]() ![]() ![]() ![]() ![]() ![]() (ความรู้สึกที่สัมผัสได้ ดูคล้ายน้องเมที่รักผมนะ ![]() ![]() ![]() คริคริ คุณป้าวัลลัยพร เธอโพสต์ไว้ดีแล้ว เม ขออนุโมทนาด้วยค่ะ ไม่ได้แวะมาคุยกะป้านานแล้วเรยแวะมาสวัสดีปีใหม่ค่ะ มั่วตามเคยแหละเธอช่างอากาศ ซ่อมแอร ซ่อมพัดลมไปตามเรื่องเธอเหอะ ที่แนะนำไปนั่นมันทางสายเธอ คุณอากาศ เธอไม่รู้ว่า ในอริยะทุกระดับ และในมหาสติปัฎฐาน ต้องมีอริยสัจ ทุกระดับ อ่ะจ๊ะ อ่อ คุณอากาศ หนุพีเอมไป ไปรับด้วย ![]() ที่พี่คุยกับป้าเขานี้ พี่หมายเอาการแสดงธรรมเพื่อเผยแพร่น่ะน้องเมที่รัก จะคนละเรื่องกับการเข้าถึงธรรม การเชื้อเชิญให้ผู้ที่ยังไม่สัทธาให้สัทธา มันมีหลายแนวทาง แม้พระสารีบุตรเถระ พระนาคเสนเถระ ตลอดจนถึงพระบรมศาสดา ก็ได้ทรงจำแนกธรรมสั่งสอนสัตว์ มีความไพเราะในเบื้องต้น ท่ามกลาง และที่สุด หรือในอีกนัยยะหนึ่งคือ จำแนกสอนตามสติปัญญาของสัตว์ ทั้งในเบื้องต้น ท่ามกลาง และที่สุด เมื่อจะตรัสสอนธรรมใดล้วนเป็นความสืบเนื่องด้วยเหตุและผล บุคคลผู้ยังไม่มีสันดารอริยะสถิตย์ก็ทรงแสดงธรรมที่ให้เห็นไม่เป็นเรื่องยาก แต่อาศัยความเพียรประครองใจด้วยสติ เป็นต้น ทำไว้ในใจโดยแยบคายเข้าไปรู้เห็นตามจริง ซึ่งความเพียรประครองใจด้วยสตินี้เข้าไปถึงโพชฌงค์ได้เลย ธรรมหนึ่งข้อของพระศาสดาจึงสามารถเข้าถึงได้ทั้ง เบื้องต้น ท่ามกลาง และที่สุด การประกาศพระพุทธศาสนานี้ไม่ใช่เรื่องยากสำหรับผู้ที่แจ้งชัดแทงตลอดในธรรมนั้นแล้ว เพราะท่านจะสามารถทำให้มันง่ายแล้วสืบต่อตามลำดับได้ แต่ก็ไม่ใช่เรื่องง่ายที่จะเข้าถึงใจคน เมื่อคนที่ยังจิตไม่น้อมมา คือ ยังโอปะนะยิโกไม่ได้ เราจึงควรจำแนกธรรมอันสมควรตามที่พระศาสดาตรัสสอนว่า เธอจงมาดูเถิด ![]() ![]() ![]() รักเมนะจุ๊บๆ ![]() ![]() ![]() ก่อนอื่น ความรู้จริงเกี่ยวกับวลัยพร คือ 1. ไม่ได้เรียนอภิธรรม 2. ไม่ได้เรียนปริยัติ 3. ตั้งแต่สมองได้กระทบกระเทือน ทำให้สัญญาเสื่อม ทำให้รู้สภาวะที่ซ่อนอยู่ในพระธรรม ที่พระพุทธเจ้าทรงตรัสสอนไว้ 4. อดีตนานมาแล้ว เล่น 3 เวป ปัจจุบันเล่นที่เวปนี้เดียว 5. เรื่องบล็อก ที่มีเขียนมาตลอดแต่โพสในบล็อก(เวิดเพรส) เริ่มปีพศ.2547 เหมือนไดอารี่ เป็นเรื่องที่เกี่ยวกับการปฏิบัติและสภาวะต่างๆที่มีเกิดขึ้นขณะดำเนินชีวิตและที่มีเกิดขึ้นขณะทำกรรมฐาน ต่อไป ขอถามทั้งสองคน ว่า คำเหล่านี้ ในอภิธรรม หมายถึงสภาวะใด และในพระธรรม หมายถึงสภาวะใด Rosarin เขียน: แรงผลักดันให้เกิดความประพฤติเป็นไปต่างๆตามกรรมคือมีจิตครองกาย แต่สัจจะธัมมะที่กำลังเกิดดับทำงานภายในจิตตั้งมั่นตรงจริงแต่ละทาง ไม่มีใครทำเหตุปัจจัยได้เพราะจิตเกิดแล้วดับทันทีจึงมีทุกอย่างแล้ว จิตเกิดดับได้ทีละ1ขณะและสืบต่อไม่ขาดสายจนปรากฏภพชาติ ผุดขึ้นราวดอกเห็ดเดี๋ยวนี้ที่กำลังมี+เป็นไปตามอำนาจของจิต ไม่ได้เป็นไปตามใจใครเลือกได้ว่าให้เกิดนะอย่าดับต้องอยู่ 555ทุกอย่างเดี๋ยวนี้ดับนับแสนโกฏิขณะไม่เคยขาดจิต ที่ทำอะไรอยู่เดี๋ยวนี้ก็เพราะมีตัวตนคิดพูดทำจริงไหม มีแล้วกิเลสนอนมาในจิตตัวเองไม่รู้ก็คือไม่รู้มีแล้ว จะรู้และคิดตามตรงคำสอนได้เมื่อเริ่มต้นฟัง จะไปไหนจะทำอะไรก็ทำไปตามนิมิตภพภูมิ แต่สัจจะเกิดดับสืบต่อตามเหตุปัจจัย มีแล้วและไม่มีใครทำไม่มีเจ้าของ เพราะเกิดแล้วดับทันทีจาก ไม่มีจึงเกิดมีแล้วดับไป กลายเป็นไม่มีคือว่าง เกิดแล้วดับทันที จึงว่างเปล่า แปลว่า ไม่มีอะไรเหลือเลย มีบ้าน/รถ/ที่ดิน/เงินทองคืออัตตานุทิฏฐิ หลงในรูปกายตัวเองความคิดตัวเองคือสักกายะทิฏฐิ ยึดถือร่างกายตนเองว่าเป็นตัวคนคือมีอุปาทานขันธ์มีครบหมดแล้วค่ะ ขาดอย่างเดียวคือไม่มีปัญญาเข้าใจความจริงเพราะทำตามๆกันโดยไม่พึ่งการฟังคำของพระพุทธเจ้าไงคะ viewtopic.php?f=1&t=57336 |
เจ้าของ: | โลกสวย [ 14 เม.ย. 2019, 11:11 ] |
หัวข้อกระทู้: | Re: อริยสัจ 4 |
walaiporn เขียน: แค่อากาศ เขียน: โลกสวย เขียน: แค่อากาศ เขียน: ผมชอบที่ท่านโพสท์หลายๆกระทู้นะ มีประโยชน์หลายอย่างมีแนวทางที่ผมเห็นแล้ว รู้แล้ว ประจักษ์ได้ด้วยตนเองแต่ยังไม่แยบคายพอเมื่อเห็นในพระสูตรก็ทำให้เข้าใจในทันที ![]() ![]() ![]() แต่ในหลายๆอย่างแบ่งไปตามพระอริยะภูมิธรรมที่เข้าถึงก็ดี แบ่งไปตามความแยบคายขอแต่ละฐานะก็ดี มันทำให้ปุถุชนที่ยังไม่เคยรับรู้สัมผัสแม้ในโลกียะจะมองถึงความยากเกินไปให้เข้าถึง ดังนั้นลองเปลี่ยนเป็น ใช้คำว่า 1. เบื้องต้นพึงพิจารณาเห็น ทุกข์อย่างนี้ๆ..ฯลฯ..จนแยบคาย เพื่อให้ใจน้อมไปในความหน่ายสิ่งนี้ๆ..เมื่อเห็นแล้วดังนี้ จะยังความแจ้งชัดให้ใจ อันถึงผลอย่างนี้ๆ..ฯลฯ..ได้ 2. ท่ามกลางพึงพิจารณาเห็นสืบต่อ ทุกข์อย่างนี้ๆ..ฯลฯ..จนแยบคาย เพื่อให้ใจน้อมไปในความหน่ายสิ่งนี้ๆ..เมื่อเห็นแล้วดังนี้ จะยังความแจ้งชัดให้ใจ อันถึงผลอย่างนี้ๆ..ฯลฯ..ได้ 3. เบื้องสุดพึงพิจารณาเห็นสืบต่อ ทุกข์อย่างนี้ๆ..ฯลฯ..จนแยบคาย เพื่อให้ใจน้อมไปในความหน่ายสิ่งนี้ๆ..เมื่อเห็นแล้วดังนี้ จะยังความแจ้งชัดให้ใจ อันถึงผลอย่างนี้ๆ..ฯลฯ..ได้ ซึ่งคนที่ถึงธรรมต่างๆได้ย่อมรู้ได้เฉพาะตน ไม่อย่างนั้นบางคนรับรู้ได้นิดหน่อยก็จะหลงตามไปได้ว่า ตนบรรลุธรรมใดธรรมหนึ่งแล้วด้วยปรัะการที่อ้างกล่าวดังนี้ที่ท่านกกล่าวไว้ ทำให้ธรรมที่ท่านเข้าถึงเป็นเรื่องง่ายที่จะเข้าถึง แต่มีหลักในการเจริญ ผลปฏิบัติที่สามารถสัมผัสที่เข้าถึงได้ตามจริง ความรักษา ความคงไว้ไม่ให้เสื่อม หากถึงผลนี้ๆไม่ได้ให้เพียรสะสมอย่างไร โดยไม่หลง อยู่ด้วยสติ สัมปะชัญญะอย่างไร รู้ประมาณแบบไหน คลาย อัตตา มานะทิฏฐิอย่างไรให้ดำรงในทางสายกลาง ผมเชื่อว่าจะมีประโยชน์มากๆ ![]() ![]() ![]() ![]() ![]() ![]() (ความรู้สึกที่สัมผัสได้ ดูคล้ายน้องเมที่รักผมนะ ![]() ![]() ![]() คริคริ คุณป้าวัลลัยพร เธอโพสต์ไว้ดีแล้ว เม ขออนุโมทนาด้วยค่ะ ไม่ได้แวะมาคุยกะป้านานแล้วเรยแวะมาสวัสดีปีใหม่ค่ะ มั่วตามเคยแหละเธอช่างอากาศ ซ่อมแอร ซ่อมพัดลมไปตามเรื่องเธอเหอะ ที่แนะนำไปนั่นมันทางสายเธอ คุณอากาศ เธอไม่รู้ว่า ในอริยะทุกระดับ และในมหาสติปัฎฐาน ต้องมีอริยสัจ ทุกระดับ อ่ะจ๊ะ อ่อ คุณอากาศ หนุพีเอมไป ไปรับด้วย ![]() ที่พี่คุยกับป้าเขานี้ พี่หมายเอาการแสดงธรรมเพื่อเผยแพร่น่ะน้องเมที่รัก จะคนละเรื่องกับการเข้าถึงธรรม การเชื้อเชิญให้ผู้ที่ยังไม่สัทธาให้สัทธา มันมีหลายแนวทาง แม้พระสารีบุตรเถระ พระนาคเสนเถระ ตลอดจนถึงพระบรมศาสดา ก็ได้ทรงจำแนกธรรมสั่งสอนสัตว์ มีความไพเราะในเบื้องต้น ท่ามกลาง และที่สุด หรือในอีกนัยยะหนึ่งคือ จำแนกสอนตามสติปัญญาของสัตว์ ทั้งในเบื้องต้น ท่ามกลาง และที่สุด เมื่อจะตรัสสอนธรรมใดล้วนเป็นความสืบเนื่องด้วยเหตุและผล บุคคลผู้ยังไม่มีสันดารอริยะสถิตย์ก็ทรงแสดงธรรมที่ให้เห็นไม่เป็นเรื่องยาก แต่อาศัยความเพียรประครองใจด้วยสติ เป็นต้น ทำไว้ในใจโดยแยบคายเข้าไปรู้เห็นตามจริง ซึ่งความเพียรประครองใจด้วยสตินี้เข้าไปถึงโพชฌงค์ได้เลย ธรรมหนึ่งข้อของพระศาสดาจึงสามารถเข้าถึงได้ทั้ง เบื้องต้น ท่ามกลาง และที่สุด การประกาศพระพุทธศาสนานี้ไม่ใช่เรื่องยากสำหรับผู้ที่แจ้งชัดแทงตลอดในธรรมนั้นแล้ว เพราะท่านจะสามารถทำให้มันง่ายแล้วสืบต่อตามลำดับได้ แต่ก็ไม่ใช่เรื่องง่ายที่จะเข้าถึงใจคน เมื่อคนที่ยังจิตไม่น้อมมา คือ ยังโอปะนะยิโกไม่ได้ เราจึงควรจำแนกธรรมอันสมควรตามที่พระศาสดาตรัสสอนว่า เธอจงมาดูเถิด ![]() ![]() ![]() รักเมนะจุ๊บๆ ![]() ![]() ![]() ก่อนอื่น ความรู้จริงเกี่ยวกับวลัยพร คือ 1. ไม่ได้เรียนอภิธรรม 2. ไม่ได้เรียนปริยัติ 3. ตั้งแต่สมองได้กระทบกระเทือน ทำให้สัญญาเสื่อม ทำให้รู้สภาวะที่ซ่อนอยู่ในพระธรรม ที่พระพุทธเจ้าทรงตรัสสอนไว้ 4. อดีตนานมาแล้ว เล่น 3 เวป ปัจจุบันเล่นที่เวปนี้เดียว 5. เรื่องบล็อก ที่มีเขียนมาตลอดแต่โพสในบล็อก(เวิดเพรส) เริ่มปีพศ.2547 เหมือนไดอารี่ เป็นเรื่องที่เกี่ยวกับการปฏิบัติและสภาวะต่างๆที่มีเกิดขึ้นขณะดำเนินชีวิตและที่มีเกิดขึ้นขณะทำกรรมฐาน ต่อไป ขอถามทั้งสองคน ว่า คำเหล่านี้ ในอภิธรรม หมายถึงสภาวะใด และในพระธรรม หมายถึงสภาวะใด Rosarin เขียน: แรงผลักดันให้เกิดความประพฤติเป็นไปต่างๆตามกรรมคือมีจิตครองกาย แต่สัจจะธัมมะที่กำลังเกิดดับทำงานภายในจิตตั้งมั่นตรงจริงแต่ละทาง ไม่มีใครทำเหตุปัจจัยได้เพราะจิตเกิดแล้วดับทันทีจึงมีทุกอย่างแล้ว จิตเกิดดับได้ทีละ1ขณะและสืบต่อไม่ขาดสายจนปรากฏภพชาติ ผุดขึ้นราวดอกเห็ดเดี๋ยวนี้ที่กำลังมี+เป็นไปตามอำนาจของจิต ไม่ได้เป็นไปตามใจใครเลือกได้ว่าให้เกิดนะอย่าดับต้องอยู่ 555ทุกอย่างเดี๋ยวนี้ดับนับแสนโกฏิขณะไม่เคยขาดจิต ที่ทำอะไรอยู่เดี๋ยวนี้ก็เพราะมีตัวตนคิดพูดทำจริงไหม มีแล้วกิเลสนอนมาในจิตตัวเองไม่รู้ก็คือไม่รู้มีแล้ว จะรู้และคิดตามตรงคำสอนได้เมื่อเริ่มต้นฟัง จะไปไหนจะทำอะไรก็ทำไปตามนิมิตภพภูมิ แต่สัจจะเกิดดับสืบต่อตามเหตุปัจจัย มีแล้วและไม่มีใครทำไม่มีเจ้าของ เพราะเกิดแล้วดับทันทีจาก ไม่มีจึงเกิดมีแล้วดับไป กลายเป็นไม่มีคือว่าง เกิดแล้วดับทันที จึงว่างเปล่า แปลว่า ไม่มีอะไรเหลือเลย มีบ้าน/รถ/ที่ดิน/เงินทองคืออัตตานุทิฏฐิ หลงในรูปกายตัวเองความคิดตัวเองคือสักกายะทิฏฐิ ยึดถือร่างกายตนเองว่าเป็นตัวคนคือมีอุปาทานขันธ์มีครบหมดแล้วค่ะ ขาดอย่างเดียวคือไม่มีปัญญาเข้าใจความจริงเพราะทำตามๆกันโดยไม่พึ่งการฟังคำของพระพุทธเจ้าไงคะ viewtopic.php?f=1&t=57336 คุณป้า ถามที่ยายโรสกล่าวน่ะหรอค๊ะ หมายถึง คุณยายโรส ยังไม่รู้ว่าโลกียจิต 81 เจตสิก 51 อินทรยภัททรูป อันชื่อว่าทุกข์ และ เจตสิกองค์มรรค 8 ที่ประกอบกับ มรรคจิต 20 เจตสิก 36 อันชื่อว่า ทางดำเนินไป เพื่อให้ถึงความดับทุกข์ เป็นเช่นไร ค่ะ |
เจ้าของ: | walaiporn [ 14 เม.ย. 2019, 12:09 ] |
หัวข้อกระทู้: | Re: อริยสัจ 4 |
โลกสวย เขียน: walaiporn เขียน: แค่อากาศ เขียน: โลกสวย เขียน: แค่อากาศ เขียน: ผมชอบที่ท่านโพสท์หลายๆกระทู้นะ มีประโยชน์หลายอย่างมีแนวทางที่ผมเห็นแล้ว รู้แล้ว ประจักษ์ได้ด้วยตนเองแต่ยังไม่แยบคายพอเมื่อเห็นในพระสูตรก็ทำให้เข้าใจในทันที ![]() ![]() ![]() แต่ในหลายๆอย่างแบ่งไปตามพระอริยะภูมิธรรมที่เข้าถึงก็ดี แบ่งไปตามความแยบคายขอแต่ละฐานะก็ดี มันทำให้ปุถุชนที่ยังไม่เคยรับรู้สัมผัสแม้ในโลกียะจะมองถึงความยากเกินไปให้เข้าถึง ดังนั้นลองเปลี่ยนเป็น ใช้คำว่า 1. เบื้องต้นพึงพิจารณาเห็น ทุกข์อย่างนี้ๆ..ฯลฯ..จนแยบคาย เพื่อให้ใจน้อมไปในความหน่ายสิ่งนี้ๆ..เมื่อเห็นแล้วดังนี้ จะยังความแจ้งชัดให้ใจ อันถึงผลอย่างนี้ๆ..ฯลฯ..ได้ 2. ท่ามกลางพึงพิจารณาเห็นสืบต่อ ทุกข์อย่างนี้ๆ..ฯลฯ..จนแยบคาย เพื่อให้ใจน้อมไปในความหน่ายสิ่งนี้ๆ..เมื่อเห็นแล้วดังนี้ จะยังความแจ้งชัดให้ใจ อันถึงผลอย่างนี้ๆ..ฯลฯ..ได้ 3. เบื้องสุดพึงพิจารณาเห็นสืบต่อ ทุกข์อย่างนี้ๆ..ฯลฯ..จนแยบคาย เพื่อให้ใจน้อมไปในความหน่ายสิ่งนี้ๆ..เมื่อเห็นแล้วดังนี้ จะยังความแจ้งชัดให้ใจ อันถึงผลอย่างนี้ๆ..ฯลฯ..ได้ ซึ่งคนที่ถึงธรรมต่างๆได้ย่อมรู้ได้เฉพาะตน ไม่อย่างนั้นบางคนรับรู้ได้นิดหน่อยก็จะหลงตามไปได้ว่า ตนบรรลุธรรมใดธรรมหนึ่งแล้วด้วยปรัะการที่อ้างกล่าวดังนี้ที่ท่านกกล่าวไว้ ทำให้ธรรมที่ท่านเข้าถึงเป็นเรื่องง่ายที่จะเข้าถึง แต่มีหลักในการเจริญ ผลปฏิบัติที่สามารถสัมผัสที่เข้าถึงได้ตามจริง ความรักษา ความคงไว้ไม่ให้เสื่อม หากถึงผลนี้ๆไม่ได้ให้เพียรสะสมอย่างไร โดยไม่หลง อยู่ด้วยสติ สัมปะชัญญะอย่างไร รู้ประมาณแบบไหน คลาย อัตตา มานะทิฏฐิอย่างไรให้ดำรงในทางสายกลาง ผมเชื่อว่าจะมีประโยชน์มากๆ ![]() ![]() ![]() ![]() ![]() ![]() (ความรู้สึกที่สัมผัสได้ ดูคล้ายน้องเมที่รักผมนะ ![]() ![]() ![]() คริคริ คุณป้าวัลลัยพร เธอโพสต์ไว้ดีแล้ว เม ขออนุโมทนาด้วยค่ะ ไม่ได้แวะมาคุยกะป้านานแล้วเรยแวะมาสวัสดีปีใหม่ค่ะ มั่วตามเคยแหละเธอช่างอากาศ ซ่อมแอร ซ่อมพัดลมไปตามเรื่องเธอเหอะ ที่แนะนำไปนั่นมันทางสายเธอ คุณอากาศ เธอไม่รู้ว่า ในอริยะทุกระดับ และในมหาสติปัฎฐาน ต้องมีอริยสัจ ทุกระดับ อ่ะจ๊ะ อ่อ คุณอากาศ หนุพีเอมไป ไปรับด้วย ![]() ที่พี่คุยกับป้าเขานี้ พี่หมายเอาการแสดงธรรมเพื่อเผยแพร่น่ะน้องเมที่รัก จะคนละเรื่องกับการเข้าถึงธรรม การเชื้อเชิญให้ผู้ที่ยังไม่สัทธาให้สัทธา มันมีหลายแนวทาง แม้พระสารีบุตรเถระ พระนาคเสนเถระ ตลอดจนถึงพระบรมศาสดา ก็ได้ทรงจำแนกธรรมสั่งสอนสัตว์ มีความไพเราะในเบื้องต้น ท่ามกลาง และที่สุด หรือในอีกนัยยะหนึ่งคือ จำแนกสอนตามสติปัญญาของสัตว์ ทั้งในเบื้องต้น ท่ามกลาง และที่สุด เมื่อจะตรัสสอนธรรมใดล้วนเป็นความสืบเนื่องด้วยเหตุและผล บุคคลผู้ยังไม่มีสันดารอริยะสถิตย์ก็ทรงแสดงธรรมที่ให้เห็นไม่เป็นเรื่องยาก แต่อาศัยความเพียรประครองใจด้วยสติ เป็นต้น ทำไว้ในใจโดยแยบคายเข้าไปรู้เห็นตามจริง ซึ่งความเพียรประครองใจด้วยสตินี้เข้าไปถึงโพชฌงค์ได้เลย ธรรมหนึ่งข้อของพระศาสดาจึงสามารถเข้าถึงได้ทั้ง เบื้องต้น ท่ามกลาง และที่สุด การประกาศพระพุทธศาสนานี้ไม่ใช่เรื่องยากสำหรับผู้ที่แจ้งชัดแทงตลอดในธรรมนั้นแล้ว เพราะท่านจะสามารถทำให้มันง่ายแล้วสืบต่อตามลำดับได้ แต่ก็ไม่ใช่เรื่องง่ายที่จะเข้าถึงใจคน เมื่อคนที่ยังจิตไม่น้อมมา คือ ยังโอปะนะยิโกไม่ได้ เราจึงควรจำแนกธรรมอันสมควรตามที่พระศาสดาตรัสสอนว่า เธอจงมาดูเถิด ![]() ![]() ![]() รักเมนะจุ๊บๆ ![]() ![]() ![]() ก่อนอื่น ความรู้จริงเกี่ยวกับวลัยพร คือ 1. ไม่ได้เรียนอภิธรรม 2. ไม่ได้เรียนปริยัติ 3. ตั้งแต่สมองได้กระทบกระเทือน ทำให้สัญญาเสื่อม ทำให้รู้สภาวะที่ซ่อนอยู่ในพระธรรม ที่พระพุทธเจ้าทรงตรัสสอนไว้ 4. อดีตนานมาแล้ว เล่น 3 เวป ปัจจุบันเล่นที่เวปนี้เดียว 5. เรื่องบล็อก ที่มีเขียนมาตลอดแต่โพสในบล็อก(เวิดเพรส) เริ่มปีพศ.2547 เหมือนไดอารี่ เป็นเรื่องที่เกี่ยวกับการปฏิบัติและสภาวะต่างๆที่มีเกิดขึ้นขณะดำเนินชีวิตและที่มีเกิดขึ้นขณะทำกรรมฐาน ต่อไป ขอถามทั้งสองคน ว่า คำเหล่านี้ ในอภิธรรม หมายถึงสภาวะใด และในพระธรรม หมายถึงสภาวะใด Rosarin เขียน: แรงผลักดันให้เกิดความประพฤติเป็นไปต่างๆตามกรรมคือมีจิตครองกาย แต่สัจจะธัมมะที่กำลังเกิดดับทำงานภายในจิตตั้งมั่นตรงจริงแต่ละทาง ไม่มีใครทำเหตุปัจจัยได้เพราะจิตเกิดแล้วดับทันทีจึงมีทุกอย่างแล้ว จิตเกิดดับได้ทีละ1ขณะและสืบต่อไม่ขาดสายจนปรากฏภพชาติ ผุดขึ้นราวดอกเห็ดเดี๋ยวนี้ที่กำลังมี+เป็นไปตามอำนาจของจิต ไม่ได้เป็นไปตามใจใครเลือกได้ว่าให้เกิดนะอย่าดับต้องอยู่ 555ทุกอย่างเดี๋ยวนี้ดับนับแสนโกฏิขณะไม่เคยขาดจิต ที่ทำอะไรอยู่เดี๋ยวนี้ก็เพราะมีตัวตนคิดพูดทำจริงไหม มีแล้วกิเลสนอนมาในจิตตัวเองไม่รู้ก็คือไม่รู้มีแล้ว จะรู้และคิดตามตรงคำสอนได้เมื่อเริ่มต้นฟัง จะไปไหนจะทำอะไรก็ทำไปตามนิมิตภพภูมิ แต่สัจจะเกิดดับสืบต่อตามเหตุปัจจัย มีแล้วและไม่มีใครทำไม่มีเจ้าของ เพราะเกิดแล้วดับทันทีจาก ไม่มีจึงเกิดมีแล้วดับไป กลายเป็นไม่มีคือว่าง เกิดแล้วดับทันที จึงว่างเปล่า แปลว่า ไม่มีอะไรเหลือเลย มีบ้าน/รถ/ที่ดิน/เงินทองคืออัตตานุทิฏฐิ หลงในรูปกายตัวเองความคิดตัวเองคือสักกายะทิฏฐิ ยึดถือร่างกายตนเองว่าเป็นตัวคนคือมีอุปาทานขันธ์มีครบหมดแล้วค่ะ ขาดอย่างเดียวคือไม่มีปัญญาเข้าใจความจริงเพราะทำตามๆกันโดยไม่พึ่งการฟังคำของพระพุทธเจ้าไงคะ viewtopic.php?f=1&t=57336 คุณป้า ถามที่ยายโรสกล่าวน่ะหรอค๊ะ หมายถึง คุณยายโรส ยังไม่รู้ว่าโลกียจิต 81 เจตสิก 51 อินทรยภัททรูป อันชื่อว่าทุกข์ และ เจตสิกองค์มรรค 8 ที่ประกอบกับ มรรคจิต 20 เจตสิก 36 อันชื่อว่า ทางดำเนินไป เพื่อให้ถึงความดับทุกข์ เป็นเช่นไร ค่ะ รอคำตอบจากคุณอากาศก่อนค่ะ |
เจ้าของ: | walaiporn [ 15 เม.ย. 2019, 10:52 ] |
หัวข้อกระทู้: | Re: อริยสัจ 4 |
โสดาบัน สกิทาคา อนาคามี อรหันต์ สีลสูตร [๓๗๓] ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุเหล่าใด เป็นผู้ถึงพร้อมด้วยศีล เป็นผู้ถึงพร้อมด้วยสมาธิ เป็นผู้ถึงพร้อมด้วยปัญญา เป็นผู้ถึงพร้อมด้วยวิมุติ เป็นผู้ถึงพร้อมด้วยวิมุตติญาณทัสสนะ การได้เห็นภิกษุเหล่านั้นก็ดี การได้ฟังภิกษุเหล่านั้นก็ดี การเข้าไปหาภิกษุเหล่านั้นก็ดี การเข้าไป นั่งใกล้ภิกษุเหล่านั้นก็ดี การระลึกถึงภิกษุเหล่านั้นก็ดี การบวชตามภิกษุเหล่านั้นก็ดี แต่ละอย่างๆ เรากล่าวว่ามีอุปการะมาก |
เจ้าของ: | Love J. [ 15 เม.ย. 2019, 11:49 ] |
หัวข้อกระทู้: | Re: อริยสัจ 4 |
walaiporn เขียน: แค่อากาศ เขียน: โลกสวย เขียน: แค่อากาศ เขียน: ผมชอบที่ท่านโพสท์หลายๆกระทู้นะ มีประโยชน์หลายอย่างมีแนวทางที่ผมเห็นแล้ว รู้แล้ว ประจักษ์ได้ด้วยตนเองแต่ยังไม่แยบคายพอเมื่อเห็นในพระสูตรก็ทำให้เข้าใจในทันที ![]() ![]() ![]() แต่ในหลายๆอย่างแบ่งไปตามพระอริยะภูมิธรรมที่เข้าถึงก็ดี แบ่งไปตามความแยบคายขอแต่ละฐานะก็ดี มันทำให้ปุถุชนที่ยังไม่เคยรับรู้สัมผัสแม้ในโลกียะจะมองถึงความยากเกินไปให้เข้าถึง ดังนั้นลองเปลี่ยนเป็น ใช้คำว่า 1. เบื้องต้นพึงพิจารณาเห็น ทุกข์อย่างนี้ๆ..ฯลฯ..จนแยบคาย เพื่อให้ใจน้อมไปในความหน่ายสิ่งนี้ๆ..เมื่อเห็นแล้วดังนี้ จะยังความแจ้งชัดให้ใจ อันถึงผลอย่างนี้ๆ..ฯลฯ..ได้ 2. ท่ามกลางพึงพิจารณาเห็นสืบต่อ ทุกข์อย่างนี้ๆ..ฯลฯ..จนแยบคาย เพื่อให้ใจน้อมไปในความหน่ายสิ่งนี้ๆ..เมื่อเห็นแล้วดังนี้ จะยังความแจ้งชัดให้ใจ อันถึงผลอย่างนี้ๆ..ฯลฯ..ได้ 3. เบื้องสุดพึงพิจารณาเห็นสืบต่อ ทุกข์อย่างนี้ๆ..ฯลฯ..จนแยบคาย เพื่อให้ใจน้อมไปในความหน่ายสิ่งนี้ๆ..เมื่อเห็นแล้วดังนี้ จะยังความแจ้งชัดให้ใจ อันถึงผลอย่างนี้ๆ..ฯลฯ..ได้ ซึ่งคนที่ถึงธรรมต่างๆได้ย่อมรู้ได้เฉพาะตน ไม่อย่างนั้นบางคนรับรู้ได้นิดหน่อยก็จะหลงตามไปได้ว่า ตนบรรลุธรรมใดธรรมหนึ่งแล้วด้วยปรัะการที่อ้างกล่าวดังนี้ที่ท่านกกล่าวไว้ ทำให้ธรรมที่ท่านเข้าถึงเป็นเรื่องง่ายที่จะเข้าถึง แต่มีหลักในการเจริญ ผลปฏิบัติที่สามารถสัมผัสที่เข้าถึงได้ตามจริง ความรักษา ความคงไว้ไม่ให้เสื่อม หากถึงผลนี้ๆไม่ได้ให้เพียรสะสมอย่างไร โดยไม่หลง อยู่ด้วยสติ สัมปะชัญญะอย่างไร รู้ประมาณแบบไหน คลาย อัตตา มานะทิฏฐิอย่างไรให้ดำรงในทางสายกลาง ผมเชื่อว่าจะมีประโยชน์มากๆ ![]() ![]() ![]() ![]() ![]() ![]() (ความรู้สึกที่สัมผัสได้ ดูคล้ายน้องเมที่รักผมนะ ![]() ![]() ![]() คริคริ คุณป้าวัลลัยพร เธอโพสต์ไว้ดีแล้ว เม ขออนุโมทนาด้วยค่ะ ไม่ได้แวะมาคุยกะป้านานแล้วเรยแวะมาสวัสดีปีใหม่ค่ะ มั่วตามเคยแหละเธอช่างอากาศ ซ่อมแอร ซ่อมพัดลมไปตามเรื่องเธอเหอะ ที่แนะนำไปนั่นมันทางสายเธอ คุณอากาศ เธอไม่รู้ว่า ในอริยะทุกระดับ และในมหาสติปัฎฐาน ต้องมีอริยสัจ ทุกระดับ อ่ะจ๊ะ อ่อ คุณอากาศ หนุพีเอมไป ไปรับด้วย ![]() ที่พี่คุยกับป้าเขานี้ พี่หมายเอาการแสดงธรรมเพื่อเผยแพร่น่ะน้องเมที่รัก จะคนละเรื่องกับการเข้าถึงธรรม การเชื้อเชิญให้ผู้ที่ยังไม่สัทธาให้สัทธา มันมีหลายแนวทาง แม้พระสารีบุตรเถระ พระนาคเสนเถระ ตลอดจนถึงพระบรมศาสดา ก็ได้ทรงจำแนกธรรมสั่งสอนสัตว์ มีความไพเราะในเบื้องต้น ท่ามกลาง และที่สุด หรือในอีกนัยยะหนึ่งคือ จำแนกสอนตามสติปัญญาของสัตว์ ทั้งในเบื้องต้น ท่ามกลาง และที่สุด เมื่อจะตรัสสอนธรรมใดล้วนเป็นความสืบเนื่องด้วยเหตุและผล บุคคลผู้ยังไม่มีสันดารอริยะสถิตย์ก็ทรงแสดงธรรมที่ให้เห็นไม่เป็นเรื่องยาก แต่อาศัยความเพียรประครองใจด้วยสติ เป็นต้น ทำไว้ในใจโดยแยบคายเข้าไปรู้เห็นตามจริง ซึ่งความเพียรประครองใจด้วยสตินี้เข้าไปถึงโพชฌงค์ได้เลย ธรรมหนึ่งข้อของพระศาสดาจึงสามารถเข้าถึงได้ทั้ง เบื้องต้น ท่ามกลาง และที่สุด การประกาศพระพุทธศาสนานี้ไม่ใช่เรื่องยากสำหรับผู้ที่แจ้งชัดแทงตลอดในธรรมนั้นแล้ว เพราะท่านจะสามารถทำให้มันง่ายแล้วสืบต่อตามลำดับได้ แต่ก็ไม่ใช่เรื่องง่ายที่จะเข้าถึงใจคน เมื่อคนที่ยังจิตไม่น้อมมา คือ ยังโอปะนะยิโกไม่ได้ เราจึงควรจำแนกธรรมอันสมควรตามที่พระศาสดาตรัสสอนว่า เธอจงมาดูเถิด ![]() ![]() ![]() รักเมนะจุ๊บๆ ![]() ![]() ![]() ก่อนอื่น ความรู้จริงเกี่ยวกับวลัยพร คือ 1. ไม่ได้เรียนอภิธรรม 2. ไม่ได้เรียนปริยัติ 3. ตั้งแต่สมองได้กระทบกระเทือน ทำให้สัญญาเสื่อม ทำให้รู้สภาวะที่ซ่อนอยู่ในพระธรรม ที่พระพุทธเจ้าทรงตรัสสอนไว้ 4. อดีตนานมาแล้ว เล่น 3 เวป ปัจจุบันเล่นที่เวปนี้เดียว 5. เรื่องบล็อก ที่มีเขียนมาตลอดแต่โพสในบล็อก(เวิดเพรส) เริ่มปีพศ.2547 เหมือนไดอารี่ เป็นเรื่องที่เกี่ยวกับการปฏิบัติและสภาวะต่างๆที่มีเกิดขึ้นขณะดำเนินชีวิตและที่มีเกิดขึ้นขณะทำกรรมฐาน ต่อไป ขอถามทั้งสองคน ว่า คำเหล่านี้ ในอภิธรรม หมายถึงสภาวะใด และในพระธรรม หมายถึงสภาวะใด Rosarin เขียน: แรงผลักดันให้เกิดความประพฤติเป็นไปต่างๆตามกรรมคือมีจิตครองกาย แต่สัจจะธัมมะที่กำลังเกิดดับทำงานภายในจิตตั้งมั่นตรงจริงแต่ละทาง ไม่มีใครทำเหตุปัจจัยได้เพราะจิตเกิดแล้วดับทันทีจึงมีทุกอย่างแล้ว จิตเกิดดับได้ทีละ1ขณะและสืบต่อไม่ขาดสายจนปรากฏภพชาติ ผุดขึ้นราวดอกเห็ดเดี๋ยวนี้ที่กำลังมี+เป็นไปตามอำนาจของจิต ไม่ได้เป็นไปตามใจใครเลือกได้ว่าให้เกิดนะอย่าดับต้องอยู่ 555ทุกอย่างเดี๋ยวนี้ดับนับแสนโกฏิขณะไม่เคยขาดจิต ที่ทำอะไรอยู่เดี๋ยวนี้ก็เพราะมีตัวตนคิดพูดทำจริงไหม มีแล้วกิเลสนอนมาในจิตตัวเองไม่รู้ก็คือไม่รู้มีแล้ว จะรู้และคิดตามตรงคำสอนได้เมื่อเริ่มต้นฟัง จะไปไหนจะทำอะไรก็ทำไปตามนิมิตภพภูมิ แต่สัจจะเกิดดับสืบต่อตามเหตุปัจจัย มีแล้วและไม่มีใครทำไม่มีเจ้าของ เพราะเกิดแล้วดับทันทีจาก ไม่มีจึงเกิดมีแล้วดับไป กลายเป็นไม่มีคือว่าง เกิดแล้วดับทันที จึงว่างเปล่า แปลว่า ไม่มีอะไรเหลือเลย มีบ้าน/รถ/ที่ดิน/เงินทองคืออัตตานุทิฏฐิ หลงในรูปกายตัวเองความคิดตัวเองคือสักกายะทิฏฐิ ยึดถือร่างกายตนเองว่าเป็นตัวคนคือมีอุปาทานขันธ์มีครบหมดแล้วค่ะ ขาดอย่างเดียวคือไม่มีปัญญาเข้าใจความจริงเพราะทำตามๆกันโดยไม่พึ่งการฟังคำของพระพุทธเจ้า viewtopic.php?f=1&t=57336 ดับมโนวิญญาณไปทางนึง ทวารอื่นก็แยกกัน ไม่มีการเห็นเป็น คน สัตว์ วัตถุ ไม่มีการจำได้หมายรู้ ไม่มี การเจริญสติพิจารณาสติปัฏฐาน ๔ ไม่เห็นอริยสัจ ๔ ... เสร็จแล้วเข้าใจว่าฟังคำจริงตรงสัจจะ ดับไปแล้วไม่มีอะไรเหลือเลย มโนวิญญาณทำกิจ อุปาทานขันธ์ ๕ สักกายะทิฏฐิอยู่ครบ กิเลสสักตัวก็ไม่สะเทือน ผมคาดคะเนเอาจาก วาทะและทิฏฐิ |
เจ้าของ: | แค่อากาศ [ 16 เม.ย. 2019, 12:40 ] |
หัวข้อกระทู้: | Re: อริยสัจ 4 |
walaiporn เขียน: โลกสวย เขียน: walaiporn เขียน: แค่อากาศ เขียน: โลกสวย เขียน: แค่อากาศ เขียน: ผมชอบที่ท่านโพสท์หลายๆกระทู้นะ มีประโยชน์หลายอย่างมีแนวทางที่ผมเห็นแล้ว รู้แล้ว ประจักษ์ได้ด้วยตนเองแต่ยังไม่แยบคายพอเมื่อเห็นในพระสูตรก็ทำให้เข้าใจในทันที ![]() ![]() ![]() แต่ในหลายๆอย่างแบ่งไปตามพระอริยะภูมิธรรมที่เข้าถึงก็ดี แบ่งไปตามความแยบคายขอแต่ละฐานะก็ดี มันทำให้ปุถุชนที่ยังไม่เคยรับรู้สัมผัสแม้ในโลกียะจะมองถึงความยากเกินไปให้เข้าถึง ดังนั้นลองเปลี่ยนเป็น ใช้คำว่า 1. เบื้องต้นพึงพิจารณาเห็น ทุกข์อย่างนี้ๆ..ฯลฯ..จนแยบคาย เพื่อให้ใจน้อมไปในความหน่ายสิ่งนี้ๆ..เมื่อเห็นแล้วดังนี้ จะยังความแจ้งชัดให้ใจ อันถึงผลอย่างนี้ๆ..ฯลฯ..ได้ 2. ท่ามกลางพึงพิจารณาเห็นสืบต่อ ทุกข์อย่างนี้ๆ..ฯลฯ..จนแยบคาย เพื่อให้ใจน้อมไปในความหน่ายสิ่งนี้ๆ..เมื่อเห็นแล้วดังนี้ จะยังความแจ้งชัดให้ใจ อันถึงผลอย่างนี้ๆ..ฯลฯ..ได้ 3. เบื้องสุดพึงพิจารณาเห็นสืบต่อ ทุกข์อย่างนี้ๆ..ฯลฯ..จนแยบคาย เพื่อให้ใจน้อมไปในความหน่ายสิ่งนี้ๆ..เมื่อเห็นแล้วดังนี้ จะยังความแจ้งชัดให้ใจ อันถึงผลอย่างนี้ๆ..ฯลฯ..ได้ ซึ่งคนที่ถึงธรรมต่างๆได้ย่อมรู้ได้เฉพาะตน ไม่อย่างนั้นบางคนรับรู้ได้นิดหน่อยก็จะหลงตามไปได้ว่า ตนบรรลุธรรมใดธรรมหนึ่งแล้วด้วยปรัะการที่อ้างกล่าวดังนี้ที่ท่านกกล่าวไว้ ทำให้ธรรมที่ท่านเข้าถึงเป็นเรื่องง่ายที่จะเข้าถึง แต่มีหลักในการเจริญ ผลปฏิบัติที่สามารถสัมผัสที่เข้าถึงได้ตามจริง ความรักษา ความคงไว้ไม่ให้เสื่อม หากถึงผลนี้ๆไม่ได้ให้เพียรสะสมอย่างไร โดยไม่หลง อยู่ด้วยสติ สัมปะชัญญะอย่างไร รู้ประมาณแบบไหน คลาย อัตตา มานะทิฏฐิอย่างไรให้ดำรงในทางสายกลาง ผมเชื่อว่าจะมีประโยชน์มากๆ ![]() ![]() ![]() ![]() ![]() ![]() (ความรู้สึกที่สัมผัสได้ ดูคล้ายน้องเมที่รักผมนะ ![]() ![]() ![]() คริคริ คุณป้าวัลลัยพร เธอโพสต์ไว้ดีแล้ว เม ขออนุโมทนาด้วยค่ะ ไม่ได้แวะมาคุยกะป้านานแล้วเรยแวะมาสวัสดีปีใหม่ค่ะ มั่วตามเคยแหละเธอช่างอากาศ ซ่อมแอร ซ่อมพัดลมไปตามเรื่องเธอเหอะ ที่แนะนำไปนั่นมันทางสายเธอ คุณอากาศ เธอไม่รู้ว่า ในอริยะทุกระดับ และในมหาสติปัฎฐาน ต้องมีอริยสัจ ทุกระดับ อ่ะจ๊ะ อ่อ คุณอากาศ หนุพีเอมไป ไปรับด้วย ![]() ที่พี่คุยกับป้าเขานี้ พี่หมายเอาการแสดงธรรมเพื่อเผยแพร่น่ะน้องเมที่รัก จะคนละเรื่องกับการเข้าถึงธรรม การเชื้อเชิญให้ผู้ที่ยังไม่สัทธาให้สัทธา มันมีหลายแนวทาง แม้พระสารีบุตรเถระ พระนาคเสนเถระ ตลอดจนถึงพระบรมศาสดา ก็ได้ทรงจำแนกธรรมสั่งสอนสัตว์ มีความไพเราะในเบื้องต้น ท่ามกลาง และที่สุด หรือในอีกนัยยะหนึ่งคือ จำแนกสอนตามสติปัญญาของสัตว์ ทั้งในเบื้องต้น ท่ามกลาง และที่สุด เมื่อจะตรัสสอนธรรมใดล้วนเป็นความสืบเนื่องด้วยเหตุและผล บุคคลผู้ยังไม่มีสันดารอริยะสถิตย์ก็ทรงแสดงธรรมที่ให้เห็นไม่เป็นเรื่องยาก แต่อาศัยความเพียรประครองใจด้วยสติ เป็นต้น ทำไว้ในใจโดยแยบคายเข้าไปรู้เห็นตามจริง ซึ่งความเพียรประครองใจด้วยสตินี้เข้าไปถึงโพชฌงค์ได้เลย ธรรมหนึ่งข้อของพระศาสดาจึงสามารถเข้าถึงได้ทั้ง เบื้องต้น ท่ามกลาง และที่สุด การประกาศพระพุทธศาสนานี้ไม่ใช่เรื่องยากสำหรับผู้ที่แจ้งชัดแทงตลอดในธรรมนั้นแล้ว เพราะท่านจะสามารถทำให้มันง่ายแล้วสืบต่อตามลำดับได้ แต่ก็ไม่ใช่เรื่องง่ายที่จะเข้าถึงใจคน เมื่อคนที่ยังจิตไม่น้อมมา คือ ยังโอปะนะยิโกไม่ได้ เราจึงควรจำแนกธรรมอันสมควรตามที่พระศาสดาตรัสสอนว่า เธอจงมาดูเถิด ![]() ![]() ![]() รักเมนะจุ๊บๆ ![]() ![]() ![]() ก่อนอื่น ความรู้จริงเกี่ยวกับวลัยพร คือ 1. ไม่ได้เรียนอภิธรรม 2. ไม่ได้เรียนปริยัติ 3. ตั้งแต่สมองได้กระทบกระเทือน ทำให้สัญญาเสื่อม ทำให้รู้สภาวะที่ซ่อนอยู่ในพระธรรม ที่พระพุทธเจ้าทรงตรัสสอนไว้ 4. อดีตนานมาแล้ว เล่น 3 เวป ปัจจุบันเล่นที่เวปนี้เดียว 5. เรื่องบล็อก ที่มีเขียนมาตลอดแต่โพสในบล็อก(เวิดเพรส) เริ่มปีพศ.2547 เหมือนไดอารี่ เป็นเรื่องที่เกี่ยวกับการปฏิบัติและสภาวะต่างๆที่มีเกิดขึ้นขณะดำเนินชีวิตและที่มีเกิดขึ้นขณะทำกรรมฐาน ต่อไป ขอถามทั้งสองคน ว่า คำเหล่านี้ ในอภิธรรม หมายถึงสภาวะใด และในพระธรรม หมายถึงสภาวะใด Rosarin เขียน: แรงผลักดันให้เกิดความประพฤติเป็นไปต่างๆตามกรรมคือมีจิตครองกาย แต่สัจจะธัมมะที่กำลังเกิดดับทำงานภายในจิตตั้งมั่นตรงจริงแต่ละทาง ไม่มีใครทำเหตุปัจจัยได้เพราะจิตเกิดแล้วดับทันทีจึงมีทุกอย่างแล้ว จิตเกิดดับได้ทีละ1ขณะและสืบต่อไม่ขาดสายจนปรากฏภพชาติ ผุดขึ้นราวดอกเห็ดเดี๋ยวนี้ที่กำลังมี+เป็นไปตามอำนาจของจิต ไม่ได้เป็นไปตามใจใครเลือกได้ว่าให้เกิดนะอย่าดับต้องอยู่ 555ทุกอย่างเดี๋ยวนี้ดับนับแสนโกฏิขณะไม่เคยขาดจิต ที่ทำอะไรอยู่เดี๋ยวนี้ก็เพราะมีตัวตนคิดพูดทำจริงไหม มีแล้วกิเลสนอนมาในจิตตัวเองไม่รู้ก็คือไม่รู้มีแล้ว จะรู้และคิดตามตรงคำสอนได้เมื่อเริ่มต้นฟัง จะไปไหนจะทำอะไรก็ทำไปตามนิมิตภพภูมิ แต่สัจจะเกิดดับสืบต่อตามเหตุปัจจัย มีแล้วและไม่มีใครทำไม่มีเจ้าของ เพราะเกิดแล้วดับทันทีจาก ไม่มีจึงเกิดมีแล้วดับไป กลายเป็นไม่มีคือว่าง เกิดแล้วดับทันที จึงว่างเปล่า แปลว่า ไม่มีอะไรเหลือเลย มีบ้าน/รถ/ที่ดิน/เงินทองคืออัตตานุทิฏฐิ หลงในรูปกายตัวเองความคิดตัวเองคือสักกายะทิฏฐิ ยึดถือร่างกายตนเองว่าเป็นตัวคนคือมีอุปาทานขันธ์มีครบหมดแล้วค่ะ ขาดอย่างเดียวคือไม่มีปัญญาเข้าใจความจริงเพราะทำตามๆกันโดยไม่พึ่งการฟังคำของพระพุทธเจ้าไงคะ viewtopic.php?f=1&t=57336 คุณป้า ถามที่ยายโรสกล่าวน่ะหรอค๊ะ หมายถึง คุณยายโรส ยังไม่รู้ว่าโลกียจิต 81 เจตสิก 51 อินทรยภัททรูป อันชื่อว่าทุกข์ และ เจตสิกองค์มรรค 8 ที่ประกอบกับ มรรคจิต 20 เจตสิก 36 อันชื่อว่า ทางดำเนินไป เพื่อให้ถึงความดับทุกข์ เป็นเช่นไร ค่ะ รอคำตอบจากคุณอากาศก่อนค่ะ เย้ยเกี่ยวไรอะนี่ หลังสงกรานต์เจอคำถามแระ ผมแค่คนไม่รู้จะเอาสิา่งไหนไปตอบได้หนอนี่ แต่น้องเมที่รักผมตอบให้แระ แต่ว่าแต่ว่าป้าถามอะไรผมหราครับ ![]() ![]() ![]() |
เจ้าของ: | แค่อากาศ [ 16 เม.ย. 2019, 12:46 ] |
หัวข้อกระทู้: | Re: อริยสัจ 4 |
Love J. เขียน: walaiporn เขียน: แค่อากาศ เขียน: โลกสวย เขียน: แค่อากาศ เขียน: ผมชอบที่ท่านโพสท์หลายๆกระทู้นะ มีประโยชน์หลายอย่างมีแนวทางที่ผมเห็นแล้ว รู้แล้ว ประจักษ์ได้ด้วยตนเองแต่ยังไม่แยบคายพอเมื่อเห็นในพระสูตรก็ทำให้เข้าใจในทันที ![]() ![]() ![]() แต่ในหลายๆอย่างแบ่งไปตามพระอริยะภูมิธรรมที่เข้าถึงก็ดี แบ่งไปตามความแยบคายขอแต่ละฐานะก็ดี มันทำให้ปุถุชนที่ยังไม่เคยรับรู้สัมผัสแม้ในโลกียะจะมองถึงความยากเกินไปให้เข้าถึง ดังนั้นลองเปลี่ยนเป็น ใช้คำว่า 1. เบื้องต้นพึงพิจารณาเห็น ทุกข์อย่างนี้ๆ..ฯลฯ..จนแยบคาย เพื่อให้ใจน้อมไปในความหน่ายสิ่งนี้ๆ..เมื่อเห็นแล้วดังนี้ จะยังความแจ้งชัดให้ใจ อันถึงผลอย่างนี้ๆ..ฯลฯ..ได้ 2. ท่ามกลางพึงพิจารณาเห็นสืบต่อ ทุกข์อย่างนี้ๆ..ฯลฯ..จนแยบคาย เพื่อให้ใจน้อมไปในความหน่ายสิ่งนี้ๆ..เมื่อเห็นแล้วดังนี้ จะยังความแจ้งชัดให้ใจ อันถึงผลอย่างนี้ๆ..ฯลฯ..ได้ 3. เบื้องสุดพึงพิจารณาเห็นสืบต่อ ทุกข์อย่างนี้ๆ..ฯลฯ..จนแยบคาย เพื่อให้ใจน้อมไปในความหน่ายสิ่งนี้ๆ..เมื่อเห็นแล้วดังนี้ จะยังความแจ้งชัดให้ใจ อันถึงผลอย่างนี้ๆ..ฯลฯ..ได้ ซึ่งคนที่ถึงธรรมต่างๆได้ย่อมรู้ได้เฉพาะตน ไม่อย่างนั้นบางคนรับรู้ได้นิดหน่อยก็จะหลงตามไปได้ว่า ตนบรรลุธรรมใดธรรมหนึ่งแล้วด้วยปรัะการที่อ้างกล่าวดังนี้ที่ท่านกกล่าวไว้ ทำให้ธรรมที่ท่านเข้าถึงเป็นเรื่องง่ายที่จะเข้าถึง แต่มีหลักในการเจริญ ผลปฏิบัติที่สามารถสัมผัสที่เข้าถึงได้ตามจริง ความรักษา ความคงไว้ไม่ให้เสื่อม หากถึงผลนี้ๆไม่ได้ให้เพียรสะสมอย่างไร โดยไม่หลง อยู่ด้วยสติ สัมปะชัญญะอย่างไร รู้ประมาณแบบไหน คลาย อัตตา มานะทิฏฐิอย่างไรให้ดำรงในทางสายกลาง ผมเชื่อว่าจะมีประโยชน์มากๆ ![]() ![]() ![]() ![]() ![]() ![]() (ความรู้สึกที่สัมผัสได้ ดูคล้ายน้องเมที่รักผมนะ ![]() ![]() ![]() คริคริ คุณป้าวัลลัยพร เธอโพสต์ไว้ดีแล้ว เม ขออนุโมทนาด้วยค่ะ ไม่ได้แวะมาคุยกะป้านานแล้วเรยแวะมาสวัสดีปีใหม่ค่ะ มั่วตามเคยแหละเธอช่างอากาศ ซ่อมแอร ซ่อมพัดลมไปตามเรื่องเธอเหอะ ที่แนะนำไปนั่นมันทางสายเธอ คุณอากาศ เธอไม่รู้ว่า ในอริยะทุกระดับ และในมหาสติปัฎฐาน ต้องมีอริยสัจ ทุกระดับ อ่ะจ๊ะ อ่อ คุณอากาศ หนุพีเอมไป ไปรับด้วย ![]() ที่พี่คุยกับป้าเขานี้ พี่หมายเอาการแสดงธรรมเพื่อเผยแพร่น่ะน้องเมที่รัก จะคนละเรื่องกับการเข้าถึงธรรม การเชื้อเชิญให้ผู้ที่ยังไม่สัทธาให้สัทธา มันมีหลายแนวทาง แม้พระสารีบุตรเถระ พระนาคเสนเถระ ตลอดจนถึงพระบรมศาสดา ก็ได้ทรงจำแนกธรรมสั่งสอนสัตว์ มีความไพเราะในเบื้องต้น ท่ามกลาง และที่สุด หรือในอีกนัยยะหนึ่งคือ จำแนกสอนตามสติปัญญาของสัตว์ ทั้งในเบื้องต้น ท่ามกลาง และที่สุด เมื่อจะตรัสสอนธรรมใดล้วนเป็นความสืบเนื่องด้วยเหตุและผล บุคคลผู้ยังไม่มีสันดารอริยะสถิตย์ก็ทรงแสดงธรรมที่ให้เห็นไม่เป็นเรื่องยาก แต่อาศัยความเพียรประครองใจด้วยสติ เป็นต้น ทำไว้ในใจโดยแยบคายเข้าไปรู้เห็นตามจริง ซึ่งความเพียรประครองใจด้วยสตินี้เข้าไปถึงโพชฌงค์ได้เลย ธรรมหนึ่งข้อของพระศาสดาจึงสามารถเข้าถึงได้ทั้ง เบื้องต้น ท่ามกลาง และที่สุด การประกาศพระพุทธศาสนานี้ไม่ใช่เรื่องยากสำหรับผู้ที่แจ้งชัดแทงตลอดในธรรมนั้นแล้ว เพราะท่านจะสามารถทำให้มันง่ายแล้วสืบต่อตามลำดับได้ แต่ก็ไม่ใช่เรื่องง่ายที่จะเข้าถึงใจคน เมื่อคนที่ยังจิตไม่น้อมมา คือ ยังโอปะนะยิโกไม่ได้ เราจึงควรจำแนกธรรมอันสมควรตามที่พระศาสดาตรัสสอนว่า เธอจงมาดูเถิด ![]() ![]() ![]() รักเมนะจุ๊บๆ ![]() ![]() ![]() ก่อนอื่น ความรู้จริงเกี่ยวกับวลัยพร คือ 1. ไม่ได้เรียนอภิธรรม 2. ไม่ได้เรียนปริยัติ 3. ตั้งแต่สมองได้กระทบกระเทือน ทำให้สัญญาเสื่อม ทำให้รู้สภาวะที่ซ่อนอยู่ในพระธรรม ที่พระพุทธเจ้าทรงตรัสสอนไว้ 4. อดีตนานมาแล้ว เล่น 3 เวป ปัจจุบันเล่นที่เวปนี้เดียว 5. เรื่องบล็อก ที่มีเขียนมาตลอดแต่โพสในบล็อก(เวิดเพรส) เริ่มปีพศ.2547 เหมือนไดอารี่ เป็นเรื่องที่เกี่ยวกับการปฏิบัติและสภาวะต่างๆที่มีเกิดขึ้นขณะดำเนินชีวิตและที่มีเกิดขึ้นขณะทำกรรมฐาน ต่อไป ขอถามทั้งสองคน ว่า คำเหล่านี้ ในอภิธรรม หมายถึงสภาวะใด และในพระธรรม หมายถึงสภาวะใด Rosarin เขียน: แรงผลักดันให้เกิดความประพฤติเป็นไปต่างๆตามกรรมคือมีจิตครองกาย แต่สัจจะธัมมะที่กำลังเกิดดับทำงานภายในจิตตั้งมั่นตรงจริงแต่ละทาง ไม่มีใครทำเหตุปัจจัยได้เพราะจิตเกิดแล้วดับทันทีจึงมีทุกอย่างแล้ว จิตเกิดดับได้ทีละ1ขณะและสืบต่อไม่ขาดสายจนปรากฏภพชาติ ผุดขึ้นราวดอกเห็ดเดี๋ยวนี้ที่กำลังมี+เป็นไปตามอำนาจของจิต ไม่ได้เป็นไปตามใจใครเลือกได้ว่าให้เกิดนะอย่าดับต้องอยู่ 555ทุกอย่างเดี๋ยวนี้ดับนับแสนโกฏิขณะไม่เคยขาดจิต ที่ทำอะไรอยู่เดี๋ยวนี้ก็เพราะมีตัวตนคิดพูดทำจริงไหม มีแล้วกิเลสนอนมาในจิตตัวเองไม่รู้ก็คือไม่รู้มีแล้ว จะรู้และคิดตามตรงคำสอนได้เมื่อเริ่มต้นฟัง จะไปไหนจะทำอะไรก็ทำไปตามนิมิตภพภูมิ แต่สัจจะเกิดดับสืบต่อตามเหตุปัจจัย มีแล้วและไม่มีใครทำไม่มีเจ้าของ เพราะเกิดแล้วดับทันทีจาก ไม่มีจึงเกิดมีแล้วดับไป กลายเป็นไม่มีคือว่าง เกิดแล้วดับทันที จึงว่างเปล่า แปลว่า ไม่มีอะไรเหลือเลย มีบ้าน/รถ/ที่ดิน/เงินทองคืออัตตานุทิฏฐิ หลงในรูปกายตัวเองความคิดตัวเองคือสักกายะทิฏฐิ ยึดถือร่างกายตนเองว่าเป็นตัวคนคือมีอุปาทานขันธ์มีครบหมดแล้วค่ะ ขาดอย่างเดียวคือไม่มีปัญญาเข้าใจความจริงเพราะทำตามๆกันโดยไม่พึ่งการฟังคำของพระพุทธเจ้า viewtopic.php?f=1&t=57336 ดับมโนวิญญาณไปทางนึง ทวารอื่นก็แยกกัน ไม่มีการเห็นเป็น คน สัตว์ วัตถุ ไม่มีการจำได้หมายรู้ ไม่มี การเจริญสติพิจารณาสติปัฏฐาน ๔ ไม่เห็นอริยสัจ ๔ ... เสร็จแล้วเข้าใจว่าฟังคำจริงตรงสัจจะ ดับไปแล้วไม่มีอะไรเหลือเลย มโนวิญญาณทำกิจ อุปาทานขันธ์ ๕ สักกายะทิฏฐิอยู่ครบ กิเลสสักตัวก็ไม่สะเทือน ผมคาดคะเนเอาจาก วาทะและทิฏฐิ สาธุครับท่านเจ |
เจ้าของ: | แค่อากาศ [ 16 เม.ย. 2019, 12:47 ] |
หัวข้อกระทู้: | Re: อริยสัจ 4 |
สังขาร ในปฏิจจะสมุปบาท - เราจะเรียกว่ากรรมสังขารก็ดี - เจตนาก็ดี - มโนสัญเจตนาก็ดี - วจีสัญญเจตนาก็ดี - กายสัญญเจตนาก็ดี ![]() ![]() ![]() ส่วนหากกล่าวถึงนัยยะของนิทานะ(เพิ่มเติม) หากจะกล่าวถึงจิตเดิมแท้(จะเรียกมนะก็ดี มโนก็ดี วิญญาณธาตุก็ดี) ก็กล่าวเป็นที่รู้ทั่วได้ตามกันว่า.. - จิตเดิมเรานี้จรไปตามบุญและบาป(ตัวนี้เป็นแรงผลัก)ที่ได้ทำไว้ บุญและบาปนั้นเป็นกรรม ผลคงมันคือสิ่งสืบต่อให้เราเป็นทายาทกรรม เข้ายึดครองรูป เป็นกายที่มีใจครอง กำลังมองว่าคนเข้าถึงง่ายก็พูดให้ง่าย คนเข้าถึงยาก หรือยังไม่สัมผัสตามจริงก็พูดให้ยาก เหมือนพระโสดาปัตติผล สมัยเป็นฆราวาส ก็คิดว่าทุกอย่างมันยากเย็นเพราะลูบคลำได้ยาก ต่อมาเมื่อบรรลุธรรมท่านเปลี่ยนความเห็นใหม่ มันแค่นี้เองหรือนี่ เพราะถึงแล้วรู้จุดแล้ว มันแค่นี้เอง ![]() ![]() |
เจ้าของ: | แค่อากาศ [ 16 เม.ย. 2019, 18:57 ] |
หัวข้อกระทู้: | Re: อริยสัจ 4 |
ความสืบต่อ - นามรูป - สัญญา สังขาร (วิญญาณ) ![]() ![]() ![]() |
เจ้าของ: | แค่อากาศ [ 16 เม.ย. 2019, 19:09 ] |
หัวข้อกระทู้: | Re: อริยสัจ 4 |
walaiporn เขียน: โสดาบัน สกิทาคา อนาคามี อรหันต์ สีลสูตร [๓๗๓] ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุเหล่าใด เป็นผู้ถึงพร้อมด้วยศีล เป็นผู้ถึงพร้อมด้วยสมาธิ เป็นผู้ถึงพร้อมด้วยปัญญา เป็นผู้ถึงพร้อมด้วยวิมุติ เป็นผู้ถึงพร้อมด้วยวิมุตติญาณทัสสนะ การได้เห็นภิกษุเหล่านั้นก็ดี การได้ฟังภิกษุเหล่านั้นก็ดี การเข้าไปหาภิกษุเหล่านั้นก็ดี การเข้าไป นั่งใกล้ภิกษุเหล่านั้นก็ดี การระลึกถึงภิกษุเหล่านั้นก็ดี การบวชตามภิกษุเหล่านั้นก็ดี แต่ละอย่างๆ เรากล่าวว่ามีอุปการะมาก ![]() ![]() ![]() |
เจ้าของ: | Love J. [ 16 เม.ย. 2019, 20:01 ] |
หัวข้อกระทู้: | Re: อริยสัจ 4 |
แค่อากาศ เขียน: สังขาร ในปฏิจจะสมุปบาท - เราจะเรียกว่ากรรมสังขารก็ดี - เจตนาก็ดี - มโนสัญเจตนาก็ดี - วจีสัญญเจตนาก็ดี - กายสัญญเจตนาก็ดี ![]() ![]() ![]() ส่วนหากกล่าวถึงนัยยะของนิทานะ(เพิ่มเติม) หากจะกล่าวถึงจิตเดิมแท้(จะเรียกมนะก็ดี มโนก็ดี วิญญาณธาตุก็ดี) ก็กล่าวเป็นที่รู้ทั่วได้ตามกันว่า.. - จิตเดิมเรานี้จรไปตามบุญและบาป(ตัวนี้เป็นแรงผลัก)ที่ได้ทำไว้ บุญและบาปนั้นเป็นกรรม ผลคงมันคือสิ่งสืบต่อให้เราเป็นทายาทกรรม เข้ายึดครองรูป เป็นกายที่มีใจครอง กำลังมองว่าคนเข้าถึงง่ายก็พูดให้ง่าย คนเข้าถึงยาก หรือยังไม่สัมผัสตามจริงก็พูดให้ยาก เหมือนพระโสดาปัตติผล สมัยเป็นฆราวาส ก็คิดว่าทุกอย่างมันยากเย็นเพราะลูบคลำได้ยาก ต่อมาเมื่อบรรลุธรรมท่านเปลี่ยนความเห็นใหม่ มันแค่นี้เองหรือนี่ เพราะถึงแล้วรู้จึดแล้ว มันแค่นี้เอง ![]() ![]() พูดถึง บุญ บาป วิบาก ความผ่องใส เศร้าหมอง สุข ทุกข์ ผมเคยพิจารณาจนประจักษณ์ใจหนหนึ่ง ลองอ่านเล่นกันครับ ตอนนั้นผมเริ่มศึกษาพระธรรมคำสอนไหม่ ๆ พิจารณาตามเกิดความเห็นว่า ไม่มีทางเลยที่สิ่งใดสักสิ่งหนึ่งในโลกนี้จะเที่ยงแท้ไม่แปรผัน พอเห็นอย่างนี้แล้วก็เกิดความวางเฉยต่อเรื่องทางโลก มีความรู้สึกอิ่มเอิบ เป็นสุข จิตตั้งมั่นไม่แส่ส่ายอยู่ได้เองโดยไม่ได้บังคับ สติชัดเจน แล้วผมดันไปเตะหมา คือ หมามันกระโจนเข้ากัดกัน ผมเจตนายกขาเข้าขวางดันถูกเข้าที่ท้องตัวหนึ่งเต็มแข้ง มันนิ่งบ่งบอกถึงความจุก มีเลือดหยดบนพื้นเท่านั้นแหละความอิ่มเอิบ ความสุข ก็แปรเปลี่ยนเป็นความเศร้าหมอง ทุกข์ใจอย่างมากถึงขนาดเดินเข้าบ้านต้องหยุดเดินจับหน้าอกแล้วพูดในใจ ทุกข์จริงหนอ แล้วผมก็มานั่งหน้าคอมจะเปิดอ่านธรรมะต่อแต่ความเศร้าหมอง ความทุกข์ มันกลุ้มรุมอยู่ที่ใจไม่เป็นอันอ่าน จนผมทนไม่ไหวพูดในใจว่าไหนดูซิทุกข์นี้มันคืออะไรตั้งสติพิจารณา อริยสัจ ๔ ที่เคยผ่านหูตั้งแต่ประถม มี ทุกข์ เหตุแห่งทุกข์ ความดับทุกข์ ทางดับทุกข์ รู้แค่นั้น ก็ผลุดขึ้นมาเป็นหลักในการพิจารณาทุกข์นั้น ผมก็กำหนดความเศร้าหมองความทุกข์ที่ใจโดยความเป็นทุกข์ ไหนอะไรเป็นเหตุ ความคิดแวบแรกผลุดขึ้นมาว่าเตะหมาเป็นเหตุ แล้วใจก็อุทานว่าไม่ใช่แล้วเห็นภาพเหตุการณ์ที่เราเตะหมามะกี้ เห็นเป็นภาพเลยนะครับ หมุนปรุงแต่งกลายเป็นทุกข์ที่เรากำหนดไว้ เห็นเป็นนิมิตเหมือนก้อนควันก้อนนึง ขยุมนึง ใจก็สรุปเลยครับว่า ทุกข์เป็นของปรุงแต่งอุปาทานไปเองควรละ แล้วจิตก็ทำกิจตามที่ใจสรุป เอาจริง ๆ นะครับ พอกลับสูโลกผมคุยกับตัวเองว่าเรื่องอย่างนี้ใครจะรู้ได้ ผมนึกถึงหลวงตามหาบัวขออนุญาตเอ่ยชื่อ เปิดรูปท่านนั่งมองแล้วร้องให้สะอึกสะอื้น ในรูปมีคำสอนท่านแปะไว้ว่า " สังขารเป็นได้ทั้งฝ่ายสมุทัยและฝ่ายมรรค " เห็นแล้วยิ่งร้องให้หนักมาก เป็นคืนที่อัศจรรย์มาก |
เจ้าของ: | แค่อากาศ [ 16 เม.ย. 2019, 20:09 ] |
หัวข้อกระทู้: | Re: อริยสัจ 4 |
สาธุครับ ![]() ![]() ![]() ว่าแต่ว่าท่านอ๊บกับท่านเอกอนหายไปไหนนะ หรือไปแอบอยู่ที่ไหนกันนี่ |
หน้า 2 จากทั้งหมด 4 | เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง |
Powered by phpBB © 2000, 2002, 2005, 2007 phpBB Group http://www.phpbb.com/ |