ลานธรรมจักร
http://www.dhammajak.net/forums/

วิธีคิดแบบโยนิโสมนสิการ (๖.วิธีคิดแบบรู้ทันคุณโทษและทางออก)
http://www.dhammajak.net/forums/viewtopic.php?f=1&t=57368
หน้า 2 จากทั้งหมด 3

เจ้าของ:  กรัชกาย [ 26 มี.ค. 2019, 21:52 ]
หัวข้อกระทู้:  Re: วิธีคิดแบบโยนิโสมนสิการ (๖.วิธีคิดแบบรู้ทันคุณโทษและทางอ

"ภิกษุทั้งหลาย สมณะทั้งหลายก็ดี พราหมณ์ทั้งหลายก็ดี เหล่าหนึ่งเหล่าใด ไม่รู้ชัดตามเป็นจริง ซึ่งส่วนดีของกามทั้งหลาย โดยความเป็นส่วนดี ซึ่งส่วนเสีย โดยความเป็นส่วนเสีย และซึ่งนิสสรณะ โดยความเป็นนิสสรณะ
ข้อที่สมณะ หรือ พราหมณ์เหล่านั้น จักชื่อว่ารู้เท่าทัน (ปริญญา) กามทั้งหลายเอง หรือจักชักจูงผู้อื่นให้ปฏิบัติตามแล้วรู้เท่าทันกามทั้งหลายได้นั้น ย่อมมิใช่ฐานะที่จะเป็นไปได้

"ส่วนสมณะหรือพราหมณ์ เหล่าหนึ่งเหล่าใด รู้ชัดตามเป็นจริง ซึ่งส่วนดีของกามทั้งหลาย โดยความเป็นส่วนดี ซึ่งส่วนเสีย โดยความเป็นส่วนเสีย และซึ่งนิสสรณะ โดยความเป็นนิสสรณะ
ข้อที่สมณะหรือพราหมณ์เหล่านั้น จักชื่อว่ารู้เท่าทัน (ปริญญา) กามทั้งหลายเอง หรือ จักชักจูงผู้อื่นให้ปฏิบัติตามแล้วรู้เท่าทันกามทั้งหลายได้นั้น ย่อมเป็นฐานะที่เป็นไปได้" (ม.มู.12/200/172)

เจ้าของ:  กรัชกาย [ 26 มี.ค. 2019, 21:59 ]
หัวข้อกระทู้:  Re: วิธีคิดแบบโยนิโสมนสิการ (๖.วิธีคิดแบบรู้ทันคุณโทษและทางอ

"ภิกษุทั้งหลาย อะไรคือส่วนดีของกามทั้งหลาย ? ความสุข ความฉ่ำชื่นใจที่เกิดขึ้นอาศัยกามคุณ ๕ นี้ คือส่วนดี ของกามทั้งหลาย

"อะไรคือส่วนเสียของกามทั้งหลาย ? กองทุกข์ที่เห็นประจักษ์อยู่เอง ...กองทุกข์มีในเบื้องหน้า....

"อะไรคือนิสสรณะแห่งกามทั้งหลาย ? ภาวะบำราศฉันทราคะ เป็นที่ละฉันทราคะในกามทั้งหลาย (นิพพาน) นี้คือนิสสรณะแห่งกามทั้งหลาย" (ดู ม.มู.12/197-9/168-172 ฯลฯ)

เจ้าของ:  กรัชกาย [ 26 มี.ค. 2019, 22:01 ]
หัวข้อกระทู้:  Re: วิธีคิดแบบโยนิโสมนสิการ (๖.วิธีคิดแบบรู้ทันคุณโทษและทางอ

ดู คคห.บนจนกว่าจะเข้าใจ ส่วนดี ส่วนเสีย นิสสรณะของกาม

เจ้าของ:  โลกสวย [ 26 มี.ค. 2019, 22:09 ]
หัวข้อกระทู้:  Re: วิธีคิดแบบโยนิโสมนสิการ (๖.วิธีคิดแบบรู้ทันคุณโทษและทางอ

กรัชกาย เขียน:
โลกสวย เขียน:
กรัชกาย เขียน:
โลกสวย เขียน:
กรัชกาย เขียน:
โลกสวย เขียน:
กรัชกาย เขียน:
ผู้ปฏิบัติธรรมทั่วๆไป คิดเห็นแต่ด้านดีด้านเดียว นึกว่าถ้าปฏิบัติธรรมแล้วจะดี จะเอาแต่ดี ไม่มองด้านเสียเลย

หรือ มีบ้างมองเห็นด้านดี กับ ด้านเสียแล้ว เห็นคุณเห็นโทษแล้ว แต่ไม่รู้ไม่เห็นทางออก ทีนี้เอาไงต่อ มันก็ติดวน ไม่ไหนไม่ได้ดิ เหมือนนกอยู่ในกรงไก่อยู่ในสุ่ม

รูปภาพ

อยากออกแต่ก็ออกไม่ได้


คริคริ

นี่แหละเป็นทั้งมรรค นิโรธ และตัดสมุทัย ทางออก ด้วยปัญญาอันแหลมคม


“ภิกษุนั้น ย่อมมนสิการโดยแยบคาย (โยนิโสมนสิการ) ว่า ทุกข์คือดังนี้ "

พระพุทธองค์ ตรัสว่า อริยะสัจสี่ ก็คือ ความจริงอันประเสริฐ ไงค๊ะ

รู้ป่าว ว่าเจอสิ่งประเสริฐยิ่ง เข้าแล้ว ?

แค่นี้ นี่แหละ ภาคปฎิบัติ ของพระอริยะ สุขในธรรม ยิ้ม ได้ทันตาเห็น ด้วยปัญญายิ่ง

มัวแต่มาถามลุงกรัชกาย ปฎิบัติก็ไม่เป็น อีกสิบปี ก็ยิ้มไม่ออก เวลาเจอทุกข์ เห็นทุกข์

“เมื่อเธอมนสิการโดยแยบคายอยู่อย่างนี้ สังโยชน์ ๓ อย่าง คือ สักกายทิฏฐิ วิจิกิจฉา และสีลัพพตปรามาส ย่อมถูกละเสียได้” (ม.มู.12/12/16)


ก็บอกอยู่หยกๆ นี่เป็นรูปสำเร็จ เหมือนรถที่เขาทำมาเรียบร้อยแล้ว ขับวิ่งได้เบย แต่ตอนเขาทำยากลำบากขนาดไหนกว่าจะได้ชิ้นส่วนแต่ละอย่างๆ เหงื่อไหลใคลย้อย :b32:


คริคริ

พระพุทธองค์ สอนทั้งปัญญา และความเพียรหยาดเหงื่อแรงกาย เพื่อสอนใจ

เพราะใจ ไม่ยอมรับ เมื่อเจอทุกข์ ว่า เป็นสัจจะอันประเสรฺิฐ ไงค๊ะ

ก็สอนใจซะ ให้รู้ซะ ว่าไม่รู้เรย ว่า นี่คือธรรมอันประเสริฐ

วันไหนใจเห็นและยอมรับโดยดุษฎี ว่า ประเสริฐแท้

ดวงตาเห็นธรรม เป็นพระอริยะโสดาบัน ละสังโยชน์ 3 ได้



เจอทุกข์แล้วเห็นเหตุแห่งทุกข์ยัง


คริคริ

สมุทัย สุดท้าย ต้องเห็นจากอรหัตมรรค ละสังโยชน์สิบ จนถึง นิโรธละสมุทัยหมดน๊าคร้า



คนเป็นทุกข์จนตูดขมิบ ยังไม่เห็นเหตุแห่งทุกข์ในขณะนั้น แล้วจะพ้นทุกข์ได้อย่างไร ทุกข์เป็นผล สมุทัยเป็นเหตุ ท่านว่าดับทุกข์ต้องดับที่เหตุ :b13:


เพราะ คนทั่วไป จะพอเห็นได้ตอนที่ทุกข์มันทับถมท่วมไปนานแล้ว

ไม่เห็นสมุทัย เพราะความไวของสติและสัมปชัญญะปัญญา ไม่เพียงพอ
ไม่ได้เจริญอยู่ในปัฎฐาน

จึงเห็นกันตรงทุกข์ก่อน
ความเห็นนั่นจึงค่อยจะย้อนกระแส กลับไปเห็นต้นตอ ความผิดปกติที่เกิดทุกข์ขึ้น คือย้อนไปเห็นถึงสมุทัยได้ และรู้ได้ว่า นั่นคือมรรค ควรเจริญอย่างไรต่อไป

พระองค์จึงกล่าวทุกข์ไว้ก่อนอันดับแรกไงค๊ะ

เจ้าของ:  กรัชกาย [ 26 มี.ค. 2019, 22:17 ]
หัวข้อกระทู้:  Re: วิธีคิดแบบโยนิโสมนสิการ (๖.วิธีคิดแบบรู้ทันคุณโทษและทางอ

โลกสวย เขียน:
กรัชกาย เขียน:
โลกสวย เขียน:
กรัชกาย เขียน:
โลกสวย เขียน:
กรัชกาย เขียน:
โลกสวย เขียน:
กรัชกาย เขียน:
ผู้ปฏิบัติธรรมทั่วๆไป คิดเห็นแต่ด้านดีด้านเดียว นึกว่าถ้าปฏิบัติธรรมแล้วจะดี จะเอาแต่ดี ไม่มองด้านเสียเลย

หรือ มีบ้างมองเห็นด้านดี กับ ด้านเสียแล้ว เห็นคุณเห็นโทษแล้ว แต่ไม่รู้ไม่เห็นทางออก ทีนี้เอาไงต่อ มันก็ติดวน ไม่ไหนไม่ได้ดิ เหมือนนกอยู่ในกรงไก่อยู่ในสุ่ม

รูปภาพ

อยากออกแต่ก็ออกไม่ได้


คริคริ

นี่แหละเป็นทั้งมรรค นิโรธ และตัดสมุทัย ทางออก ด้วยปัญญาอันแหลมคม


“ภิกษุนั้น ย่อมมนสิการโดยแยบคาย (โยนิโสมนสิการ) ว่า ทุกข์คือดังนี้ "

พระพุทธองค์ ตรัสว่า อริยะสัจสี่ ก็คือ ความจริงอันประเสริฐ ไงค๊ะ

รู้ป่าว ว่าเจอสิ่งประเสริฐยิ่ง เข้าแล้ว ?

แค่นี้ นี่แหละ ภาคปฎิบัติ ของพระอริยะ สุขในธรรม ยิ้ม ได้ทันตาเห็น ด้วยปัญญายิ่ง

มัวแต่มาถามลุงกรัชกาย ปฎิบัติก็ไม่เป็น อีกสิบปี ก็ยิ้มไม่ออก เวลาเจอทุกข์ เห็นทุกข์

“เมื่อเธอมนสิการโดยแยบคายอยู่อย่างนี้ สังโยชน์ ๓ อย่าง คือ สักกายทิฏฐิ วิจิกิจฉา และสีลัพพตปรามาส ย่อมถูกละเสียได้” (ม.มู.12/12/16)


ก็บอกอยู่หยกๆ นี่เป็นรูปสำเร็จ เหมือนรถที่เขาทำมาเรียบร้อยแล้ว ขับวิ่งได้เบย แต่ตอนเขาทำยากลำบากขนาดไหนกว่าจะได้ชิ้นส่วนแต่ละอย่างๆ เหงื่อไหลใคลย้อย :b32:


คริคริ

พระพุทธองค์ สอนทั้งปัญญา และความเพียรหยาดเหงื่อแรงกาย เพื่อสอนใจ

เพราะใจ ไม่ยอมรับ เมื่อเจอทุกข์ ว่า เป็นสัจจะอันประเสรฺิฐ ไงค๊ะ

ก็สอนใจซะ ให้รู้ซะ ว่าไม่รู้เรย ว่า นี่คือธรรมอันประเสริฐ

วันไหนใจเห็นและยอมรับโดยดุษฎี ว่า ประเสริฐแท้

ดวงตาเห็นธรรม เป็นพระอริยะโสดาบัน ละสังโยชน์ 3 ได้



เจอทุกข์แล้วเห็นเหตุแห่งทุกข์ยัง


คริคริ

สมุทัย สุดท้าย ต้องเห็นจากอรหัตมรรค ละสังโยชน์สิบ จนถึง นิโรธละสมุทัยหมดน๊าคร้า



คนเป็นทุกข์จนตูดขมิบ ยังไม่เห็นเหตุแห่งทุกข์ในขณะนั้น แล้วจะพ้นทุกข์ได้อย่างไร ทุกข์เป็นผล สมุทัยเป็นเหตุ ท่านว่าดับทุกข์ต้องดับที่เหตุ :b13:


เพราะ คนทั่วไป จะพอเห็นได้ตอนที่ทุกข์มันทับถมท่วมไปนานแล้ว

ไม่เห็นสมุทัย เพราะความไวของสติและสัมปชัญญะปัญญา ไม่เพียงพอ
ไม่ได้เจริญอยู่ในปัฎฐาน

จึงเห็นกันตรงทุกข์ก่อน
ความเห็นนั่นจึงค่อยจะย้อนกระแส กลับไปเห็นต้นตอ ความผิดปกติที่เกิดทุกข์ขึ้น คือย้อนไปเห็นถึงสมุทัยได้ และรู้ได้ว่า นั่นคือมรรค ควรเจริญอย่างไรต่อไป

พระองค์จึงกล่าวทุกข์ไว้ก่อนอันดับแรกไงค๊ะ


พูดศัพท์สั้นๆนะ

ทุกข์

สมุทัย

นิโรธ

มรรค

ปฏิบัติ (มรรค) จนประสบกับทุกข์แล้ว ต้องเห็นต้นตอของทุกข์ คือ สมุทัย แล้วปหานเสีย ทุกข์ก็หมดไป นี่พูดตามหลักการ

แต่เวลาปฏิบัติ มันไม่ง่ายอย่างปากว่า ดังตัวอย่างที่ยกมา ยกมาจนปวดแขนไปหมดแล้ว พอจะเข้าไปสู่ห้องหัวใจห้องใดห้องหนึ่งของเมบ้างไหม หือ :b13:

เจ้าของ:  กรัชกาย [ 26 มี.ค. 2019, 22:19 ]
หัวข้อกระทู้:  Re: วิธีคิดแบบโยนิโสมนสิการ (๖.วิธีคิดแบบรู้ทันคุณโทษและทางอ

ต่อ

"ภิกษุทั้งหลาย เมื่อภิกษุมนสิการอยู่ ซึ่งกามทั้งหลาย จิตไม่แล่นไป ไม่เลื่อมใส ไม่แนบสนิท ไม่น้อมดิ่งไปในกามทั้งหลาย
แต่เมื่อเธอมนสิการเนกขัมมะ จิตย่อมแล่นไป ย่อมเลื่อมใส ย่อมแนบสนิท ย่อมน้อมดิ่งไปในเนกขัมมะ
จิตของเธอนั้น เป็นอันดำเนินไปดี อบรมดีแล้ว ออกไปได้ดี หลุดพ้นดีแล้ว ไม่เกาะเกี่ยวแล้วกับกามทั้งหลาย
อาสวะ ความคับแค้นเดือดร้อนเหล่าใด ที่จะเกิดขึ้นเพราะกามเป็นปัจจัย เธอเป็นผู้หลุดพ้นแล้วจากอาสวะ
ความคับแค้น ความเดือดร้อนเหล่านั้น เธอจะไม่เสวยเวทนานั้น นี้เรียกว่านิสสรณะแห่งกามทั้งหลาย" * (ที.ปา.11/301/252ฯลฯ ต่อไปกล่าวถึงนิสสรณะ แห่งพยาบาท แห่งวิหิงสา เป็นต้น ใน ขุ.อิติ.25/250/277 กล่าวถึงเนกขัมมะ ว่าเป็นนิสสรณะของกามทั้งหลาย)

เจ้าของ:  โลกสวย [ 26 มี.ค. 2019, 22:21 ]
หัวข้อกระทู้:  Re: วิธีคิดแบบโยนิโสมนสิการ (๖.วิธีคิดแบบรู้ทันคุณโทษและทางอ

กรัชกาย เขียน:
โลกสวย เขียน:
กรัชกาย เขียน:
โลกสวย เขียน:
กรัชกาย เขียน:
โลกสวย เขียน:
กรัชกาย เขียน:
โลกสวย เขียน:
กรัชกาย เขียน:
ผู้ปฏิบัติธรรมทั่วๆไป คิดเห็นแต่ด้านดีด้านเดียว นึกว่าถ้าปฏิบัติธรรมแล้วจะดี จะเอาแต่ดี ไม่มองด้านเสียเลย

หรือ มีบ้างมองเห็นด้านดี กับ ด้านเสียแล้ว เห็นคุณเห็นโทษแล้ว แต่ไม่รู้ไม่เห็นทางออก ทีนี้เอาไงต่อ มันก็ติดวน ไม่ไหนไม่ได้ดิ เหมือนนกอยู่ในกรงไก่อยู่ในสุ่ม

รูปภาพ

อยากออกแต่ก็ออกไม่ได้


คริคริ

นี่แหละเป็นทั้งมรรค นิโรธ และตัดสมุทัย ทางออก ด้วยปัญญาอันแหลมคม


“ภิกษุนั้น ย่อมมนสิการโดยแยบคาย (โยนิโสมนสิการ) ว่า ทุกข์คือดังนี้ "

พระพุทธองค์ ตรัสว่า อริยะสัจสี่ ก็คือ ความจริงอันประเสริฐ ไงค๊ะ

รู้ป่าว ว่าเจอสิ่งประเสริฐยิ่ง เข้าแล้ว ?

แค่นี้ นี่แหละ ภาคปฎิบัติ ของพระอริยะ สุขในธรรม ยิ้ม ได้ทันตาเห็น ด้วยปัญญายิ่ง

มัวแต่มาถามลุงกรัชกาย ปฎิบัติก็ไม่เป็น อีกสิบปี ก็ยิ้มไม่ออก เวลาเจอทุกข์ เห็นทุกข์

“เมื่อเธอมนสิการโดยแยบคายอยู่อย่างนี้ สังโยชน์ ๓ อย่าง คือ สักกายทิฏฐิ วิจิกิจฉา และสีลัพพตปรามาส ย่อมถูกละเสียได้” (ม.มู.12/12/16)


ก็บอกอยู่หยกๆ นี่เป็นรูปสำเร็จ เหมือนรถที่เขาทำมาเรียบร้อยแล้ว ขับวิ่งได้เบย แต่ตอนเขาทำยากลำบากขนาดไหนกว่าจะได้ชิ้นส่วนแต่ละอย่างๆ เหงื่อไหลใคลย้อย :b32:


คริคริ

พระพุทธองค์ สอนทั้งปัญญา และความเพียรหยาดเหงื่อแรงกาย เพื่อสอนใจ

เพราะใจ ไม่ยอมรับ เมื่อเจอทุกข์ ว่า เป็นสัจจะอันประเสรฺิฐ ไงค๊ะ

ก็สอนใจซะ ให้รู้ซะ ว่าไม่รู้เรย ว่า นี่คือธรรมอันประเสริฐ

วันไหนใจเห็นและยอมรับโดยดุษฎี ว่า ประเสริฐแท้

ดวงตาเห็นธรรม เป็นพระอริยะโสดาบัน ละสังโยชน์ 3 ได้



เจอทุกข์แล้วเห็นเหตุแห่งทุกข์ยัง


คริคริ

สมุทัย สุดท้าย ต้องเห็นจากอรหัตมรรค ละสังโยชน์สิบ จนถึง นิโรธละสมุทัยหมดน๊าคร้า



คนเป็นทุกข์จนตูดขมิบ ยังไม่เห็นเหตุแห่งทุกข์ในขณะนั้น แล้วจะพ้นทุกข์ได้อย่างไร ทุกข์เป็นผล สมุทัยเป็นเหตุ ท่านว่าดับทุกข์ต้องดับที่เหตุ :b13:


เพราะ คนทั่วไป จะพอเห็นได้ตอนที่ทุกข์มันทับถมท่วมไปนานแล้ว

ไม่เห็นสมุทัย เพราะความไวของสติและสัมปชัญญะปัญญา ไม่เพียงพอ
ไม่ได้เจริญอยู่ในปัฎฐาน

จึงเห็นกันตรงทุกข์ก่อน
ความเห็นนั่นจึงค่อยจะย้อนกระแส กลับไปเห็นต้นตอ ความผิดปกติที่เกิดทุกข์ขึ้น คือย้อนไปเห็นถึงสมุทัยได้ และรู้ได้ว่า นั่นคือมรรค ควรเจริญอย่างไรต่อไป

พระองค์จึงกล่าวทุกข์ไว้ก่อนอันดับแรกไงค๊ะ


พูดศัพท์สั้นๆนะ

ทุกข์

สมุทัย

นิโรธ

มรรค

ปฏิบัติ (มรรค) จนประสบกับทุกข์แล้ว ต้องเห็นต้นตอของทุกข์ คือ สมุทัย แล้วปหานเสีย ทุกข์ก็หมดไป นี่พูดตามหลักการ

แต่เวลาปฏิบัติ มันไม่ง่ายอย่างปากว่า ดังตัวอย่างที่ยกมา ยกมาจนปวดแขนไปหมดแล้ว พอจะเข้าไปสู่ห้องหัวใจห้องใดห้องหนึ่งของเมบ้างไหม หือ :b13:


คริคริ

สี่ห้องหัวใจ ทำงานแค่สูบฉีดเลือด
ไม่ได้มีไว้ไส่ของแปลกปลอมอะไรค่ะ

เจ้าของ:  กรัชกาย [ 26 มี.ค. 2019, 22:22 ]
หัวข้อกระทู้:  Re: วิธีคิดแบบโยนิโสมนสิการ (๖.วิธีคิดแบบรู้ทันคุณโทษและทางอ

"เรานี้เอง ครั้งก่อน เมื่อยังเป็นผู้ครองเรือนอยู่ เอิบอิ่ม พรั่งพร้อมด้วยกามคุณทั้งห้า บำรุงบำเรอตน...ต่อมา เรานั้นทราบตามเป็นจริง ซึ่งเหตุเกิดขึ้น ซึ่งความดำรงอยู่ไม่ได้ ซึ่งส่วนดี ซึ่งส่วนเสีย และซึ่งทางออก ของกามทั้งหลาย จึงละกามตัณหา บรรเทาความเร่าร้อนกาม ปราศจากความกระหาย มีจิตสงบภายใน เป็นอยู่

"เรานั้น มองเห็นสัตว์เหล่านั้น ผู้ยังไม่หมดราคะในกามทั้งหลาย ถูกกามตัณหาชอนไช ถูกความเร่าร้อนกามเร้ารุม เสพกามอยู่ เราก็หาใฝ่ทะยานต่อสัตว์เหล่านั้น หาพลอยอภิรมย์ในกามเหล่านั้นไม่ ข้อนั้น เพราะเหตุไร ?
ก็เพราะเรารื่นรมย์อยู่ด้วยความชื่นชมยินดี ที่ไม่ต้องมีกาม ไม่ต้องมีอกุศลธรรม จึงไม่ใฝ่ทะยานต่อความสุขที่ทรามกว่า ไม่นึกอภิรมย์ในความสุขที่ทรามกว่านั้น" (ม.ม.13/281274)

เจ้าของ:  กรัชกาย [ 26 มี.ค. 2019, 22:23 ]
หัวข้อกระทู้:  Re: วิธีคิดแบบโยนิโสมนสิการ (๖.วิธีคิดแบบรู้ทันคุณโทษและทางอ

โลกสวย เขียน:

คริคริ

สี่ห้องหัวใจ ทำงานแค่สูบฉีดเลือด
ไม่ได้มีไว้ไส่ของแปลกปลอมอะไรค่ะ


พ่ะน่ะ ถ้ายังงั้น ก็เอาที่บายจัยแร้วกานนะ :b1:

เจ้าของ:  กรัชกาย [ 26 มี.ค. 2019, 22:28 ]
หัวข้อกระทู้:  Re: วิธีคิดแบบโยนิโสมนสิการ (๖.วิธีคิดแบบรู้ทันคุณโทษและทางอ

"ดูกรมหานาม ก่อนสัมโพธิ เมื่อยังเป็นโพธิสัตว์ ผู้ยังมิได้ตรัสรู้ เราได้เห็นเป็นอย่างดีด้วยสัมมาปัญญา ตามเป็นจริงว่า กามทั้งหลาย มีอัสสาทะน้อย มีทุกข์มาก มีความคับข้องมาก อาทีนวะในกามนี้ยิ่งนัก
แต่เรานั้น ยังมิได้ประสบปีติสุข ที่ไม่ต้องอาศัยกาม ไม่ต้องมีอกุศลธรรมทั้งหลาย หรือ ปีติสุขอื่นที่ประณีตยิ่งกว่านั้น เราก็ยังปฏิญาณ (ยืนยัน) มิได้ก่อนว่า จะเป็นผู้ไม่วกเวียนมาหากามทั้งหลาย

"แต่เมื่อใด เราได้มองเห็นอย่างดีด้วยสัมมาปัญญา ตามเป็นจริงอย่างนี้ว่า กามทั้งหลาย มีอัสสาทะน้อย...และเรานั้น ได้ประสบปีติสุข อันปลอดจากกาม ปลอดจากอกุศลธรรมทั้งหลาย พร้อมทั้งปีติสุขอื่นที่ประณีตยิ่งกว่านั้น
เมื่อนั้น เราจึงปฏิญาณได้ว่า เป็นผู้ไม่วกเวียนมาหากามทั้งหลาย" * (ม.มู.12/211/180)

เจ้าของ:  กรัชกาย [ 26 มี.ค. 2019, 22:33 ]
หัวข้อกระทู้:  Re: วิธีคิดแบบโยนิโสมนสิการ (๖.วิธีคิดแบบรู้ทันคุณโทษและทางอ

นี้เป็นตัวอย่างจากบาลี พอเป็นเครื่องแสดงให้เห็นแนวความคิดแบบนี้
วิธีคิดแบบนี้ ใช้ได้กับเรื่องทั่วๆไป แม้แต่ข้อธรรม เช่น ในปฏิสัมภิทามรรค กล่าวถึงอัสสาทะ และอาทีนวะของอินทรีย์ ๕

ดังเช่นที่ว่า ความไม่ปรากฏแห่งอุทธัจจะ ความไม่ปรากฏแห่งความเร่าร้อนเพราะอุทธัจจะ ความแกล้วกล้าเนื่องจากการดำเนินชีวิตโดยไม่ฟุ้งซ่าน และการประสบสุขวิหารธรรมอันประณีต เป็นอัสสาทะของสมาธิ การที่อุทธัจจะยังปรากฏขึ้นได้ การที่ความเร่าร้อนเนื่องจากอุทธัจจะยังปรากฏขึ้นได้ ภาวะที่ยังเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา เป็นอาทีนวะของสมาธิ ดังนี้ เป็นต้น (ขุ.ปฏิ.31/433-4/311-4)

เจ้าของ:  กรัชกาย [ 26 มี.ค. 2019, 22:41 ]
หัวข้อกระทู้:  Re: วิธีคิดแบบโยนิโสมนสิการ (๖.วิธีคิดแบบรู้ทันคุณโทษและทางอ

โลกสวย เขียน:


คริคริ

สี่ห้องหัวใจ ทำงานแค่สูบฉีดเลือด
ไม่ได้มีไว้ไส่ของแปลกปลอมอะไรค่ะ



นึกได้อีกอย่างหนึ่ง คือ ผู้ปฏิบัติธรรม หรือจะเรียกอะไรสุดแท้แต่ ปฏิบัติธรรมเพื่อจะเอานั่นเอานี่ จะเป็นอย่างนั้นไม่เป็นอย่างนี้ มิได้ปฏิบัติเพื่อความหลุดพ้นพ้นทุกข์ ปฏิบัติเพื่อให้รู้ความจริงของธรรมชาติ คือ กายใจนี้ นี่ก็เป็นอีกเหตุหนึ่งที่ปฏิบัติแล้วไม่ได้ผล เพราะอะไร ? เพราะปฏิบัติไปๆ สภาวะของรูปนามปรากฏตามเรื่องของมัน แต่ขัดใจผู้ปฏิบัติ ทีนี้เลยท้อเลิกทำเลิกปฏิบัติไปเลย

เจ้าของ:  โลกสวย [ 26 มี.ค. 2019, 23:08 ]
หัวข้อกระทู้:  Re: วิธีคิดแบบโยนิโสมนสิการ (๖.วิธีคิดแบบรู้ทันคุณโทษและทางอ

กรัชกาย เขียน:
โลกสวย เขียน:


คริคริ

สี่ห้องหัวใจ ทำงานแค่สูบฉีดเลือด
ไม่ได้มีไว้ไส่ของแปลกปลอมอะไรค่ะ



นึกได้อีกอย่างหนึ่ง คือ ผู้ปฏิบัติธรรม หรือจะเรียกอะไรสุดแท้แต่ ปฏิบัติธรรมเพื่อจะเอานั่นเอานี่ จะเป็นอย่างนั้นไม่เป็นอย่างนี้ มิได้ปฏิบัติเพื่อความหลุดพ้นพ้นทุกข์ ปฏิบัติเพื่อให้รู้ความจริงของธรรมชาติ คือ กายใจนี้ นี่ก็เป็นอีกเหตุหนึ่งที่ปฏิบัติแล้วไม่ได้ผล เพราะอะไร ? เพราะปฏิบัติไปๆ สภาวะของรูปนามปรากฏตามเรื่องของมัน แต่ขัดใจผู้ปฏิบัติ ทีนี้เลยท้อเลิกทำเลิกปฏิบัติไปเลย


คริคริ

นี่ไงค๊ะ คือการที่เม คุ้ยเขี่ย ให้ลุงเห็นสภาพธรรมตามจริงได้เอง

ไปบังคับบัญชาให้ลุงเห็นก่อนหน้านี้ไม่ได้
ก็ลุงจะได้ก้าวหน้าต่อไปไงค๊ะ

tongue

เจ้าของ:  กรัชกาย [ 27 มี.ค. 2019, 05:24 ]
หัวข้อกระทู้:  Re: วิธีคิดแบบโยนิโสมนสิการ (๖.วิธีคิดแบบรู้ทันคุณโทษและทางอ

ต่อ ต่อ

ในทางปฏิบัติระดับชีวิตประจำวัน โดยมากเป็นเพียงการเลือกระหว่างสิ่งที่มีโทษมากคุณน้อย กับสิ่งที่มีคุณมากโทษน้อย หรือแม้ได้นิสสรณะ ก็มักเป็นนิสสรณะแบบสัมพันธ์ คือ ทางออกที่ดีที่สุดในกรณีนั้นๆ

ในภาวะเช่นนี้ ก็ไม่ควรลืมใช้วิธีคิดแบบคุณโทษ และทางออก คือ ควรยอมรับส่วนดีของสิ่ง หรือข้อปฏิบัติที่ตนละเว้น และไม่ควรมองข้ามเป็นอันขาด ซึ่งโทษ ข้อบกพร่อง จุดอ่อน ส่วนเสีย หรือช่องทางที่จะเสียของสิ่ง หรือข้อปฏิบัติที่ตนเลือกรับเอา

การคิดมองตามความเป็นจริงเช่นนี้ จะทำให้ปฏิบัติได้ถูกต้องที่สุด มีความไม่ประมาท อาจนำเอาส่วนดีของสิ่งที่ตนละเว้นมาใช้ประโยชน์ได้ และสามารถหลีกเลี่ยง หรือมีโอกาสแก้ไขส่วนเสีย ส่วนบกพร่องที่ติดมากับสิ่ง หรือ ข้อปฏิบัติที่ตนเลือกรับเอานั้นได้ด้วย

เจ้าของ:  กรัชกาย [ 27 มี.ค. 2019, 05:27 ]
หัวข้อกระทู้:  Re: วิธีคิดแบบโยนิโสมนสิการ (๖.วิธีคิดแบบรู้ทันคุณโทษและทางอ

ในการสั่งสอน ตัวอย่างแสดงแนวคิดแบบรู้ทัน คุณ โทษ และทางออกนี้ ก็คือ พระธรรมเทศนาของพระพุทธเจ้า ที่เรียกว่า อนุบุพพิกถา ซึ่งเป็นแนวการสอนธรรมแบบหลัก ที่ทรงใช้ทั่วไป หรือใช้เป็นประจำ โดยเฉพาะก่อนทรงแสดงอริยสัจ ๔

อนุบุพพิกถา นั้น กล่าวถึงการครองชีวิตดีงามโอบอ้อมอารีช่วยเหลือกัน ดำรงตนในสุจริต ที่เรียกว่า ทาน และศีล
แล้วแสดงชีวิตที่มีความสุขความเอิบอิ่มพรั่งพร้อม ที่เป็นผลของการครองชีวิตดีงามเช่นนั้น เรียกว่า สัคคะ
จากนั้น แสดงแง่เสีย ข้อบกพรอง โทษ ความไม่สมบูรณ์เพียงพอของความสุข ความพรั่งพร้อมเช่นนั้น เรียกว่า กามาทีนวะ และ
ในที่สุด แสดงทางออก พร้อมทั้งผลดีต่างๆ ของทางออกนั้น เรียกว่า เนกขัมมานิสังสะ
เมื่อผู้ฟังมองเห็นผลดีของทางออกนั้นแล้ว จึงทรงแสดงอริยสัจ ๔ ต่อท้าย เป็นตอนจบ

หน้า 2 จากทั้งหมด 3 เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง
Powered by phpBB © 2000, 2002, 2005, 2007 phpBB Group
http://www.phpbb.com/