ลานธรรมจักร
http://www.dhammajak.net/forums/

อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา อาจเป็นมิจฉาทิฏฐิก็ได้ ( ความเห็นอนิจ
http://www.dhammajak.net/forums/viewtopic.php?f=1&t=57303
หน้า 3 จากทั้งหมด 4

เจ้าของ:  Love J. [ 17 มี.ค. 2019, 13:09 ]
หัวข้อกระทู้:  Re: อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา อาจเป็นมิจฉาทิฏฐิก็ได้ ( ความเห็น

กรัชกาย เขียน:
จขกท.หายไปไหน :b10:


อยู่ครับ

เจ้าของ:  แค่อากาศ [ 17 มี.ค. 2019, 16:10 ]
หัวข้อกระทู้:  Re: อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา อาจเป็นมิจฉาทิฏฐิก็ได้ ( ความเห็น

Love J. เขียน:
ความไม่ยึดมั่นถือมั่น กับ ความไม่มีหลักมีเกณฑ์

พระอรหันต์ทั้งหลายไม่ยึดมั่นถือมั่นใด ๆ ในโลก คงมองเห็นตนเองเป็นแต่เพียงภาระที่ต้องรับผิดชอบดูแล
ไม่ทำสิ่งอันเป็นโทษ ทำสิ่งอันประโยชน์แก่โลกด้วยความเมตตาสงสารเพราะได้เห็นทุกข์ในตนมาแล้วจึง
เห็นทุกข์ในผู้อื่น

บางคนก็ชอบบอกอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา แต่ไม่สำรวมระวัง ความคิด คำพูด การกระทำ ไม่คำนึงถึงความเป็นประโยชน์ ความเป็นโทษ ตั้งอยู่บนความประมาททำตนอย่างคนไม่มีหลักมีเกณฑ์ใครตักใครเตือนก็ไม่ได้ คำสอนของพระพุทธเจ้าก็ไม่ฟัง
..........................................................................................

สัมมาทิฏฐิ กับ มิจฉาทิฏฐิ

ถ้าเห็นอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา ไม่ยึดมั่นถือมั่นอย่างนี้แล้วทำให้เราไม่สำรวมระวังกรรม ไม่มีหิริ โอตัปปะ
ไม่รู้เนื้อรู้ตัวตั้งอยู่บนความประมาทแล้วยึดมั่นถือมั่นความเห็นนั้นเชื่อมั่นว่าตนพ้นทุกข์ หลงระเริงว่าตนมีความสุข ความเห็นนั้นก็เป็นมิจฉาทิฏฐิ ทิฏฐิรกชัฏ ทิฏฐิกันดาร วิมุตินั้นก็เป็นมิจฉาวิมุติ ไม่เป็นส่วนแห่งวิชชา

แต่ถ้าหากเห็นอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา แล้วทำให้เราปล่อยวางจางคลางทางโลก จิตใจตั้งมั่นอยู่กับเนื้อ
กับตัว บาปอกุศลกรรมรำงับ มีสติเห็นกายเห็นใจตนเองเป็นอัตโนมัติแม้ไม่ต้องเฝ้าดู อย่างนี้ย่อมเป็นส่วน
แห่งวิชชา ทำให้เกิดปัญญาเห็นอริยสัจ ๔ ความเห็นนั้นจึงเป็นสัมมาทิฏฐิ วิมุตินั้นก็เป็นสัมมาวิมุติ

ปล . ทั้งหมดนี้เป็นความเห็นความเข้าใจของผมเอง ซึ่งอยากให้ลองพิจารณา ผิดพลาดประการใดก็ขออภัยด้วยครับ



ท่านเจพูดมาก็เป็นส่วนถูกนะ

ข้อนี้สำคัญ ไตรลักษณ์ต้องแยกระหว่าง คนรู้ กับ คนถึง

คนรู้เป็นอย่างไร ก็ปุถุชนโดยปรกติทั่วไป เรียนรู้ท่องจำ แล้วเชื่อตามตำรา เชื่อตามคำสอนตามๆกันมา ว่า เกิดขึ้น ตั้งอยู่ ดับไป บอกว่านี้คือวิปัสสนา คนที่ได้ทำได้แค่รู้ ก็เอาใจเข้ายึดครอง คำว่า อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา เกิดขึ้น ตั้งอยู่ ดับไป การเอาใจเข้ายึดครองนี้เป็นโมหะ ทุ่สุดก็กายเป็นยึดอัตตาไตรลักษณ์ คือ ยึดหลงว่าไม่เที่ยง ยึดหลงว่าไม่มีตัวตน ยึดหลงว่าทุกข์ ก็เมื่อหลงตัวตนยึดถือคำเหล่านี้ โดยอาศัยอนุมานเอาบ้าง คิดตามเอาบ้าง จดจำสำคัญมั่นหมายไว้ในใจบ้าง จึงเกิดตัวตนของความไม่เที่ยง ตัวตนของความไม่ใช่ตัวตน ตัวตนของทุกข์ แทนที่จะเพียงแค่รู้ ผู้นับเนื่องเอาจากการท่องจำเอาไม่ใช่องค์มรรคสัมมาทิฏฐิ เป็นความเห็นที่สะสมเหตุอันเป็นบุญแก่ขันธ์เท่านั้น ไม่ใช่องค์มรรค
- ด้วยเหตุดังนี้คนที่รู้ไตรลักษณ์จึงยังยึดมั่นถือมั่นหลงอยู่กับความคิด คำสอนบอกกล่าวตามๆกันมาจากคนที่เคารพบ้าง คนที่น่าเชื่อถือบ้าง จากตำราบ้าง จากการคิดนึกตามบ้าง โดยที่ไม่เคยเห็นของจริงเลย
- ผลลัพธ์ คือ กิเลสครบพร้อมยังหมกมุ่นไตรลักษณ์ ไม่รู้เห็นธรรม ไม่ถึงธรรมแท้

คนถึงเป็นอย่างไร ก็ปุถุชนผู้มีสันดานพระอริยะขึ้นไป จนถึงพระอริยะสาวกในพระธรรมวินัยนี้ ถึงความไม่ยึด ไม่เอาใจเข้ายึดครอง ไม่หลง ไม่นับตัวตนแม้แต่คำว่าไตรลักษณ์ แต่ท่านพูดถึงไตรลักษณ์เพราะนับเนื่องเอาด้วยจิตที่เข้าถึงของจริง ไปรู้เห็นตามจริง เข้าไปเห็นความเป็นไปของสังขารตามจริง เกิดขึ้น ตั้งอยู่ ดับไป รู้เห็นตามจริง การละ การตัด การสละคืนของท่าน เช่นกายไม่มีสิ่งใดเกินกว่ากองธาตุที่รอันจะเสื่อมสูญ ไม่มีตัวตนบุคคลใด ไม่ใช่ใคร ไม่ใช่ขงใคร ด้วยเห็นจากการนับเนื่องเอาจาก ไม่มีใคร ไม่ใช่ใคร ไม่ใช่เรา ไม่มีเราในกองธาตุเหล่านั้น ไม่อาจจะนับเอาได้ว่าเป็นใครในหมู่ธาตุ ในธาตุเป็นของใคร มันเกิดขั้น ตั้งอยู่ ดับไปตามเหตุปัจจัยของมัน ไม่ได้อยู่ได้บังคับบัญชาของผู้ใด มันแค่กอปรขึ้นตามเหตุปัจจัยอันอาศัยให้นามรูปมีจึงมีวิญญาณ และ วิญญาณมีจึงมีนามรูป กายก็สมมติ ความรู้สึกก็สมมติ ธัมารมณ์ก็สมมติ นับเนื่องโดยรอบ ๓ อาการ ๑๒ โดยจะได้มากน้อยตามแต่จิตที่น้อมลงองค์มรรคมากน้อยแค่ไหน ตัด ละ สละคืน อบ่างไร ละสังโยชน์ได้แค่ไหน ดังนั้น..สัมมาทิฏฐิอันเป็นองค์มรรคแท้ๆ..มีแค่ในพระอริยะสาวกเท่านั้น
- ด้วยเหตุดังนี้คนที่เข้าถึงไตรลักษณ์จึงไม่ยึด ถึงความว่าง ความไม่มี ความสละคืน ไม่นับเนื่องเอาด้วยสังขารโลก
- ผลลัพธ์ คือ พระอริยะสาวกของพระพุทธเจ้า อันเป็นคู่แห่งบุรุษ ๔ คู่ นับเรียงตัวบุถรุษได้ ๘ บุรุษดังนี้


----------------------------------------------------

ดังนั้นไตรลักษณ์ที่เรารู้เห็นนั้นมีมากปานได้..

- อัตตาไตรลักษณ์ หรือไม่อัตตาไตรลักษณ์
- ฟุ้งไตรลักษณ์ หรือเห็นไตรลักษณ์
- รู้ธรรม หรือถึงธรรม


----------------------------------------------------

เจ้าของ:  โลกสวย [ 17 มี.ค. 2019, 17:46 ]
หัวข้อกระทู้:  Re: อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา อาจเป็นมิจฉาทิฏฐิก็ได้ ( ความเห็น

แค่อากาศ เขียน:
Love J. เขียน:
ความไม่ยึดมั่นถือมั่น กับ ความไม่มีหลักมีเกณฑ์

พระอรหันต์ทั้งหลายไม่ยึดมั่นถือมั่นใด ๆ ในโลก คงมองเห็นตนเองเป็นแต่เพียงภาระที่ต้องรับผิดชอบดูแล
ไม่ทำสิ่งอันเป็นโทษ ทำสิ่งอันประโยชน์แก่โลกด้วยความเมตตาสงสารเพราะได้เห็นทุกข์ในตนมาแล้วจึง
เห็นทุกข์ในผู้อื่น

บางคนก็ชอบบอกอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา แต่ไม่สำรวมระวัง ความคิด คำพูด การกระทำ ไม่คำนึงถึงความเป็นประโยชน์ ความเป็นโทษ ตั้งอยู่บนความประมาททำตนอย่างคนไม่มีหลักมีเกณฑ์ใครตักใครเตือนก็ไม่ได้ คำสอนของพระพุทธเจ้าก็ไม่ฟัง
..........................................................................................

สัมมาทิฏฐิ กับ มิจฉาทิฏฐิ

ถ้าเห็นอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา ไม่ยึดมั่นถือมั่นอย่างนี้แล้วทำให้เราไม่สำรวมระวังกรรม ไม่มีหิริ โอตัปปะ
ไม่รู้เนื้อรู้ตัวตั้งอยู่บนความประมาทแล้วยึดมั่นถือมั่นความเห็นนั้นเชื่อมั่นว่าตนพ้นทุกข์ หลงระเริงว่าตนมีความสุข ความเห็นนั้นก็เป็นมิจฉาทิฏฐิ ทิฏฐิรกชัฏ ทิฏฐิกันดาร วิมุตินั้นก็เป็นมิจฉาวิมุติ ไม่เป็นส่วนแห่งวิชชา

แต่ถ้าหากเห็นอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา แล้วทำให้เราปล่อยวางจางคลางทางโลก จิตใจตั้งมั่นอยู่กับเนื้อ
กับตัว บาปอกุศลกรรมรำงับ มีสติเห็นกายเห็นใจตนเองเป็นอัตโนมัติแม้ไม่ต้องเฝ้าดู อย่างนี้ย่อมเป็นส่วน
แห่งวิชชา ทำให้เกิดปัญญาเห็นอริยสัจ ๔ ความเห็นนั้นจึงเป็นสัมมาทิฏฐิ วิมุตินั้นก็เป็นสัมมาวิมุติ

ปล . ทั้งหมดนี้เป็นความเห็นความเข้าใจของผมเอง ซึ่งอยากให้ลองพิจารณา ผิดพลาดประการใดก็ขออภัยด้วยครับ



ท่านเจพูดมาก็เป็นส่วนถูกนะ

ข้อนี้สำคัญ ไตรลักษณ์ต้องแยกระหว่าง คนรู้ กับ คนถึง

คนรู้เป็นอย่างไร ก็ปุถุชนโดยปรกติทั่วไป เรียนรู้ท่องจำ แล้วเชื่อตามตำรา เชื่อตามคำสอนตามๆกันมา ว่า เกิดขึ้น ตั้งอยู่ ดับไป บอกว่านี้คือวิปัสสนา คนที่ได้ทำได้แค่รู้ ก็เอาใจเข้ายึดครอง คำว่า อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา เกิดขึ้น ตั้งอยู่ ดับไป การเอาใจเข้ายึดครองนี้เป็นโมหะ ทุ่สุดก็กายเป็นยึดอัตตาไตรลักษณ์ คือ ยึดหลงว่าไม่เที่ยง ยึดหลงว่าไม่มีตัวตน ยึดหลงว่าทุกข์ ก็เมื่อหลงตัวตนยึดถือคำเหล่านี้ โดยอาศัยอนุมานเอาบ้าง คิดตามเอาบ้าง จดจำสำคัญมั่นหมายไว้ในใจบ้าง จึงเกิดตัวตนของความไม่เที่ยง ตัวตนของความไม่ใช่ตัวตน ตัวตนของทุกข์ แทนที่จะเพียงแค่รู้ ผู้นับเนื่องเอาจากการท่องจำเอาไม่ใช่องค์มรรคสัมมาทิฏฐิ เป็นความเห็นที่สะสมเหตุอันเป็นบุญแก่ขันธ์เท่านั้น ไม่ใช่องค์มรรค
- ด้วยเหตุดังนี้คนที่รู้ไตรลักษณ์จึงยังยึดมั่นถือมั่นหลงอยู่กับความคิด คำสอนบอกกล่าวตามๆกันมาจากคนที่เคารพบ้าง คนที่น่าเชื่อถือบ้าง จากตำราบ้าง จากการคิดนึกตามบ้าง โดยที่ไม่เคยเห็นของจริงเลย
- ผลลัพธ์ คือ กิเลสครบพร้อมยังหมกมุ่นไตรลักษณ์ ไม่รู้เห็นธรรม ไม่ถึงธรรมแท้

คนถึงเป็นอย่างไร ก็ปุถุชนผู้มีสันดานพระอริยะขึ้นไป จนถึงพระอริยะสาวกในพระธรรมวินัยนี้ ถึงความไม่ยึด ไม่เอาใจเข้ายึดครอง ไม่หลง ไม่นับตัวตนแม้แต่คำว่าไตรลักษณ์ แต่ท่านพูดถึงไตรลักษณ์เพราะนับเนื่องเอาด้วยจิตที่เข้าถึงของจริง ไปรู้เห็นตามจริง เข้าไปเห็นความเป็นไปของสังขารตามจริง เกิดขึ้น ตั้งอยู่ ดับไป รู้เห็นตามจริง การละ การตัด การสละคืนของท่าน เช่นกายไม่มีสิ่งใดเกินกว่ากองธาตุที่รอันจะเสื่อมสูญ ไม่มีตัวตนบุคคลใด ไม่ใช่ใคร ไม่ใช่ขงใคร ด้วยเห็นจากการนับเนื่องเอาจาก ไม่มีใคร ไม่ใช่ใคร ไม่ใช่เรา ไม่มีเราในกองธาตุเหล่านั้น ไม่อาจจะนับเอาได้ว่าเป็นใครในหมู่ธาตุ ในธาตุเป็นของใคร มันเกิดขั้น ตั้งอยู่ ดับไปตามเหตุปัจจัยของมัน ไม่ได้อยู่ได้บังคับบัญชาของผู้ใด มันแค่กอปรขึ้นตามเหตุปัจจัยอันอาศัยให้นามรูปมีจึงมีวิญญาณ และ วิญญาณมีจึงมีนามรูป กายก็สมมติ ความรู้สึกก็สมมติ ธัมารมณ์ก็สมมติ นับเนื่องโดยรอบ ๓ อาการ ๑๒ โดยจะได้มากน้อยตามแต่จิตที่น้อมลงองค์มรรคมากน้อยแค่ไหน ตัด ละ สละคืน อบ่างไร ละสังโยชน์ได้แค่ไหน ดังนั้น..สัมมาทิฏฐิอันเป็นองค์มรรคแท้ๆ..มีแค่ในพระอริยะสาวกเท่านั้น
- ด้วยเหตุดังนี้คนที่เข้าถึงไตรลักษณ์จึงไม่ยึด ถึงความว่าง ความไม่มี ความสละคืน ไม่นับเนื่องเอาด้วยสังขารโลก
- ผลลัพธ์ คือ พระอริยะสาวกของพระพุทธเจ้า อันเป็นคู่แห่งบุรุษ ๔ คู่ นับเรียงตัวบุถรุษได้ ๘ บุรุษดังนี้


----------------------------------------------------

ดังนั้นไตรลักษณ์ที่เรารู้เห็นนั้นมีมากปานได้..

- อัตตาไตรลักษณ์ หรือไม่อัตตาไตรลักษณ์
- ฟุ้งไตรลักษณ์ หรือเห็นไตรลักษณ์
- รู้ธรรม หรือถึงธรรม


----------------------------------------------------



นั่นแหละ สิ่งที่ปิดบังไตรลักษณ์

สันนติ เพราะไปนับเนื่องเอาด้วยจิต
อิริยาบท เพราะเป็นคนถึง
และ ฆนสัญญา ที่เป็นฉากๆ นั้นแหละค่ะ

ปิดบังสนิทเรย

tongue

เจ้าของ:  แค่อากาศ [ 17 มี.ค. 2019, 17:56 ]
หัวข้อกระทู้:  Re: อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา อาจเป็นมิจฉาทิฏฐิก็ได้ ( ความเห็น

โลกสวย เขียน:
แค่อากาศ เขียน:
Love J. เขียน:
ความไม่ยึดมั่นถือมั่น กับ ความไม่มีหลักมีเกณฑ์

พระอรหันต์ทั้งหลายไม่ยึดมั่นถือมั่นใด ๆ ในโลก คงมองเห็นตนเองเป็นแต่เพียงภาระที่ต้องรับผิดชอบดูแล
ไม่ทำสิ่งอันเป็นโทษ ทำสิ่งอันประโยชน์แก่โลกด้วยความเมตตาสงสารเพราะได้เห็นทุกข์ในตนมาแล้วจึง
เห็นทุกข์ในผู้อื่น

บางคนก็ชอบบอกอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา แต่ไม่สำรวมระวัง ความคิด คำพูด การกระทำ ไม่คำนึงถึงความเป็นประโยชน์ ความเป็นโทษ ตั้งอยู่บนความประมาททำตนอย่างคนไม่มีหลักมีเกณฑ์ใครตักใครเตือนก็ไม่ได้ คำสอนของพระพุทธเจ้าก็ไม่ฟัง
..........................................................................................

สัมมาทิฏฐิ กับ มิจฉาทิฏฐิ

ถ้าเห็นอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา ไม่ยึดมั่นถือมั่นอย่างนี้แล้วทำให้เราไม่สำรวมระวังกรรม ไม่มีหิริ โอตัปปะ
ไม่รู้เนื้อรู้ตัวตั้งอยู่บนความประมาทแล้วยึดมั่นถือมั่นความเห็นนั้นเชื่อมั่นว่าตนพ้นทุกข์ หลงระเริงว่าตนมีความสุข ความเห็นนั้นก็เป็นมิจฉาทิฏฐิ ทิฏฐิรกชัฏ ทิฏฐิกันดาร วิมุตินั้นก็เป็นมิจฉาวิมุติ ไม่เป็นส่วนแห่งวิชชา

แต่ถ้าหากเห็นอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา แล้วทำให้เราปล่อยวางจางคลางทางโลก จิตใจตั้งมั่นอยู่กับเนื้อ
กับตัว บาปอกุศลกรรมรำงับ มีสติเห็นกายเห็นใจตนเองเป็นอัตโนมัติแม้ไม่ต้องเฝ้าดู อย่างนี้ย่อมเป็นส่วน
แห่งวิชชา ทำให้เกิดปัญญาเห็นอริยสัจ ๔ ความเห็นนั้นจึงเป็นสัมมาทิฏฐิ วิมุตินั้นก็เป็นสัมมาวิมุติ

ปล . ทั้งหมดนี้เป็นความเห็นความเข้าใจของผมเอง ซึ่งอยากให้ลองพิจารณา ผิดพลาดประการใดก็ขออภัยด้วยครับ



ท่านเจพูดมาก็เป็นส่วนถูกนะ

ข้อนี้สำคัญ ไตรลักษณ์ต้องแยกระหว่าง คนรู้ กับ คนถึง

คนรู้เป็นอย่างไร ก็ปุถุชนโดยปรกติทั่วไป เรียนรู้ท่องจำ แล้วเชื่อตามตำรา เชื่อตามคำสอนตามๆกันมา ว่า เกิดขึ้น ตั้งอยู่ ดับไป บอกว่านี้คือวิปัสสนา คนที่ได้ทำได้แค่รู้ ก็เอาใจเข้ายึดครอง คำว่า อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา เกิดขึ้น ตั้งอยู่ ดับไป การเอาใจเข้ายึดครองนี้เป็นโมหะ ทุ่สุดก็กายเป็นยึดอัตตาไตรลักษณ์ คือ ยึดหลงว่าไม่เที่ยง ยึดหลงว่าไม่มีตัวตน ยึดหลงว่าทุกข์ ก็เมื่อหลงตัวตนยึดถือคำเหล่านี้ โดยอาศัยอนุมานเอาบ้าง คิดตามเอาบ้าง จดจำสำคัญมั่นหมายไว้ในใจบ้าง จึงเกิดตัวตนของความไม่เที่ยง ตัวตนของความไม่ใช่ตัวตน ตัวตนของทุกข์ แทนที่จะเพียงแค่รู้ ผู้นับเนื่องเอาจากการท่องจำเอาไม่ใช่องค์มรรคสัมมาทิฏฐิ เป็นความเห็นที่สะสมเหตุอันเป็นบุญแก่ขันธ์เท่านั้น ไม่ใช่องค์มรรค
- ด้วยเหตุดังนี้คนที่รู้ไตรลักษณ์จึงยังยึดมั่นถือมั่นหลงอยู่กับความคิด คำสอนบอกกล่าวตามๆกันมาจากคนที่เคารพบ้าง คนที่น่าเชื่อถือบ้าง จากตำราบ้าง จากการคิดนึกตามบ้าง โดยที่ไม่เคยเห็นของจริงเลย
- ผลลัพธ์ คือ กิเลสครบพร้อมยังหมกมุ่นไตรลักษณ์ ไม่รู้เห็นธรรม ไม่ถึงธรรมแท้

คนถึงเป็นอย่างไร ก็ปุถุชนผู้มีสันดานพระอริยะขึ้นไป จนถึงพระอริยะสาวกในพระธรรมวินัยนี้ ถึงความไม่ยึด ไม่เอาใจเข้ายึดครอง ไม่หลง ไม่นับตัวตนแม้แต่คำว่าไตรลักษณ์ แต่ท่านพูดถึงไตรลักษณ์เพราะนับเนื่องเอาด้วยจิตที่เข้าถึงของจริง ไปรู้เห็นตามจริง เข้าไปเห็นความเป็นไปของสังขารตามจริง เกิดขึ้น ตั้งอยู่ ดับไป รู้เห็นตามจริง การละ การตัด การสละคืนของท่าน เช่นกายไม่มีสิ่งใดเกินกว่ากองธาตุที่รอันจะเสื่อมสูญ ไม่มีตัวตนบุคคลใด ไม่ใช่ใคร ไม่ใช่ขงใคร ด้วยเห็นจากการนับเนื่องเอาจาก ไม่มีใคร ไม่ใช่ใคร ไม่ใช่เรา ไม่มีเราในกองธาตุเหล่านั้น ไม่อาจจะนับเอาได้ว่าเป็นใครในหมู่ธาตุ ในธาตุเป็นของใคร มันเกิดขั้น ตั้งอยู่ ดับไปตามเหตุปัจจัยของมัน ไม่ได้อยู่ได้บังคับบัญชาของผู้ใด มันแค่กอปรขึ้นตามเหตุปัจจัยอันอาศัยให้นามรูปมีจึงมีวิญญาณ และ วิญญาณมีจึงมีนามรูป กายก็สมมติ ความรู้สึกก็สมมติ ธัมารมณ์ก็สมมติ นับเนื่องโดยรอบ ๓ อาการ ๑๒ โดยจะได้มากน้อยตามแต่จิตที่น้อมลงองค์มรรคมากน้อยแค่ไหน ตัด ละ สละคืน อบ่างไร ละสังโยชน์ได้แค่ไหน ดังนั้น..สัมมาทิฏฐิอันเป็นองค์มรรคแท้ๆ..มีแค่ในพระอริยะสาวกเท่านั้น
- ด้วยเหตุดังนี้คนที่เข้าถึงไตรลักษณ์จึงไม่ยึด ถึงความว่าง ความไม่มี ความสละคืน ไม่นับเนื่องเอาด้วยสังขารโลก
- ผลลัพธ์ คือ พระอริยะสาวกของพระพุทธเจ้า อันเป็นคู่แห่งบุรุษ ๔ คู่ นับเรียงตัวบุถรุษได้ ๘ บุรุษดังนี้


----------------------------------------------------

ดังนั้นไตรลักษณ์ที่เรารู้เห็นนั้นมีมากปานได้..

- อัตตาไตรลักษณ์ หรือไม่อัตตาไตรลักษณ์
- ฟุ้งไตรลักษณ์ หรือเห็นไตรลักษณ์
- รู้ธรรม หรือถึงธรรม


----------------------------------------------------



นั่นแหละ สิ่งที่ปิดบังไตรลักษณ์

สันนติ เพราะไปนับเนื่องเอาด้วยจิต
อิริยาบท เพราะเป็นคนถึง
และ ฆนสัญญา ที่เป็นฉากๆ นั้นแหละค่ะ

ปิดบังสนิทเรย

tongue



ถ้าเมเป็นคนนี้ คงใช่เนื้อคู่พี่แน่นอน :b17: :b17: :b17:

รูปภาพ

แต่อนิจจาน่าเสียดาย เมไม่อาจจะเป็นได้ cry cry cry

เจ้าของ:  โลกสวย [ 17 มี.ค. 2019, 18:13 ]
หัวข้อกระทู้:  Re: อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา อาจเป็นมิจฉาทิฏฐิก็ได้ ( ความเห็น

แค่อากาศ เขียน:
โลกสวย เขียน:
แค่อากาศ เขียน:
Love J. เขียน:
ความไม่ยึดมั่นถือมั่น กับ ความไม่มีหลักมีเกณฑ์

พระอรหันต์ทั้งหลายไม่ยึดมั่นถือมั่นใด ๆ ในโลก คงมองเห็นตนเองเป็นแต่เพียงภาระที่ต้องรับผิดชอบดูแล
ไม่ทำสิ่งอันเป็นโทษ ทำสิ่งอันประโยชน์แก่โลกด้วยความเมตตาสงสารเพราะได้เห็นทุกข์ในตนมาแล้วจึง
เห็นทุกข์ในผู้อื่น

บางคนก็ชอบบอกอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา แต่ไม่สำรวมระวัง ความคิด คำพูด การกระทำ ไม่คำนึงถึงความเป็นประโยชน์ ความเป็นโทษ ตั้งอยู่บนความประมาททำตนอย่างคนไม่มีหลักมีเกณฑ์ใครตักใครเตือนก็ไม่ได้ คำสอนของพระพุทธเจ้าก็ไม่ฟัง
..........................................................................................

สัมมาทิฏฐิ กับ มิจฉาทิฏฐิ

ถ้าเห็นอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา ไม่ยึดมั่นถือมั่นอย่างนี้แล้วทำให้เราไม่สำรวมระวังกรรม ไม่มีหิริ โอตัปปะ
ไม่รู้เนื้อรู้ตัวตั้งอยู่บนความประมาทแล้วยึดมั่นถือมั่นความเห็นนั้นเชื่อมั่นว่าตนพ้นทุกข์ หลงระเริงว่าตนมีความสุข ความเห็นนั้นก็เป็นมิจฉาทิฏฐิ ทิฏฐิรกชัฏ ทิฏฐิกันดาร วิมุตินั้นก็เป็นมิจฉาวิมุติ ไม่เป็นส่วนแห่งวิชชา

แต่ถ้าหากเห็นอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา แล้วทำให้เราปล่อยวางจางคลางทางโลก จิตใจตั้งมั่นอยู่กับเนื้อ
กับตัว บาปอกุศลกรรมรำงับ มีสติเห็นกายเห็นใจตนเองเป็นอัตโนมัติแม้ไม่ต้องเฝ้าดู อย่างนี้ย่อมเป็นส่วน
แห่งวิชชา ทำให้เกิดปัญญาเห็นอริยสัจ ๔ ความเห็นนั้นจึงเป็นสัมมาทิฏฐิ วิมุตินั้นก็เป็นสัมมาวิมุติ

ปล . ทั้งหมดนี้เป็นความเห็นความเข้าใจของผมเอง ซึ่งอยากให้ลองพิจารณา ผิดพลาดประการใดก็ขออภัยด้วยครับ



ท่านเจพูดมาก็เป็นส่วนถูกนะ

ข้อนี้สำคัญ ไตรลักษณ์ต้องแยกระหว่าง คนรู้ กับ คนถึง

คนรู้เป็นอย่างไร ก็ปุถุชนโดยปรกติทั่วไป เรียนรู้ท่องจำ แล้วเชื่อตามตำรา เชื่อตามคำสอนตามๆกันมา ว่า เกิดขึ้น ตั้งอยู่ ดับไป บอกว่านี้คือวิปัสสนา คนที่ได้ทำได้แค่รู้ ก็เอาใจเข้ายึดครอง คำว่า อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา เกิดขึ้น ตั้งอยู่ ดับไป การเอาใจเข้ายึดครองนี้เป็นโมหะ ทุ่สุดก็กายเป็นยึดอัตตาไตรลักษณ์ คือ ยึดหลงว่าไม่เที่ยง ยึดหลงว่าไม่มีตัวตน ยึดหลงว่าทุกข์ ก็เมื่อหลงตัวตนยึดถือคำเหล่านี้ โดยอาศัยอนุมานเอาบ้าง คิดตามเอาบ้าง จดจำสำคัญมั่นหมายไว้ในใจบ้าง จึงเกิดตัวตนของความไม่เที่ยง ตัวตนของความไม่ใช่ตัวตน ตัวตนของทุกข์ แทนที่จะเพียงแค่รู้ ผู้นับเนื่องเอาจากการท่องจำเอาไม่ใช่องค์มรรคสัมมาทิฏฐิ เป็นความเห็นที่สะสมเหตุอันเป็นบุญแก่ขันธ์เท่านั้น ไม่ใช่องค์มรรค
- ด้วยเหตุดังนี้คนที่รู้ไตรลักษณ์จึงยังยึดมั่นถือมั่นหลงอยู่กับความคิด คำสอนบอกกล่าวตามๆกันมาจากคนที่เคารพบ้าง คนที่น่าเชื่อถือบ้าง จากตำราบ้าง จากการคิดนึกตามบ้าง โดยที่ไม่เคยเห็นของจริงเลย
- ผลลัพธ์ คือ กิเลสครบพร้อมยังหมกมุ่นไตรลักษณ์ ไม่รู้เห็นธรรม ไม่ถึงธรรมแท้

คนถึงเป็นอย่างไร ก็ปุถุชนผู้มีสันดานพระอริยะขึ้นไป จนถึงพระอริยะสาวกในพระธรรมวินัยนี้ ถึงความไม่ยึด ไม่เอาใจเข้ายึดครอง ไม่หลง ไม่นับตัวตนแม้แต่คำว่าไตรลักษณ์ แต่ท่านพูดถึงไตรลักษณ์เพราะนับเนื่องเอาด้วยจิตที่เข้าถึงของจริง ไปรู้เห็นตามจริง เข้าไปเห็นความเป็นไปของสังขารตามจริง เกิดขึ้น ตั้งอยู่ ดับไป รู้เห็นตามจริง การละ การตัด การสละคืนของท่าน เช่นกายไม่มีสิ่งใดเกินกว่ากองธาตุที่รอันจะเสื่อมสูญ ไม่มีตัวตนบุคคลใด ไม่ใช่ใคร ไม่ใช่ขงใคร ด้วยเห็นจากการนับเนื่องเอาจาก ไม่มีใคร ไม่ใช่ใคร ไม่ใช่เรา ไม่มีเราในกองธาตุเหล่านั้น ไม่อาจจะนับเอาได้ว่าเป็นใครในหมู่ธาตุ ในธาตุเป็นของใคร มันเกิดขั้น ตั้งอยู่ ดับไปตามเหตุปัจจัยของมัน ไม่ได้อยู่ได้บังคับบัญชาของผู้ใด มันแค่กอปรขึ้นตามเหตุปัจจัยอันอาศัยให้นามรูปมีจึงมีวิญญาณ และ วิญญาณมีจึงมีนามรูป กายก็สมมติ ความรู้สึกก็สมมติ ธัมารมณ์ก็สมมติ นับเนื่องโดยรอบ ๓ อาการ ๑๒ โดยจะได้มากน้อยตามแต่จิตที่น้อมลงองค์มรรคมากน้อยแค่ไหน ตัด ละ สละคืน อบ่างไร ละสังโยชน์ได้แค่ไหน ดังนั้น..สัมมาทิฏฐิอันเป็นองค์มรรคแท้ๆ..มีแค่ในพระอริยะสาวกเท่านั้น
- ด้วยเหตุดังนี้คนที่เข้าถึงไตรลักษณ์จึงไม่ยึด ถึงความว่าง ความไม่มี ความสละคืน ไม่นับเนื่องเอาด้วยสังขารโลก
- ผลลัพธ์ คือ พระอริยะสาวกของพระพุทธเจ้า อันเป็นคู่แห่งบุรุษ ๔ คู่ นับเรียงตัวบุถรุษได้ ๘ บุรุษดังนี้


----------------------------------------------------

ดังนั้นไตรลักษณ์ที่เรารู้เห็นนั้นมีมากปานได้..

- อัตตาไตรลักษณ์ หรือไม่อัตตาไตรลักษณ์
- ฟุ้งไตรลักษณ์ หรือเห็นไตรลักษณ์
- รู้ธรรม หรือถึงธรรม


----------------------------------------------------



นั่นแหละ สิ่งที่ปิดบังไตรลักษณ์

สันนติ เพราะไปนับเนื่องเอาด้วยจิต
อิริยาบท เพราะเป็นคนถึง
และ ฆนสัญญา ที่เป็นฉากๆ นั้นแหละค่ะ

ปิดบังสนิทเรย

tongue



ถ้าเมเป็นคนนี้ คงใช่เนื้อคู่พี่แน่นอน :b17: :b17: :b17:

รูปภาพ

แต่อนิจจาน่าเสียดาย เมไม่อาจจะเป็นได้ cry cry cry


ยินดีด้วยน๊ะค๊ะ พี่ก็คงหาเนื้อคู่ได้ไม่ยากหรอก กลาดเกลื่อนไป

แต่ไม่ใช่สำหรับเม

เพราะศรัทธาไม่เสมอกัน มีศีลไม่เสมอกัน มีจาคะไม่เสมอกัน มีปัญญาไม่เสมอกัน กะเม

tongue

เจ้าของ:  แค่อากาศ [ 17 มี.ค. 2019, 18:21 ]
หัวข้อกระทู้:  Re: อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา อาจเป็นมิจฉาทิฏฐิก็ได้ ( ความเห็น

โลกสวย เขียน:
แค่อากาศ เขียน:
โลกสวย เขียน:
แค่อากาศ เขียน:
Love J. เขียน:
ความไม่ยึดมั่นถือมั่น กับ ความไม่มีหลักมีเกณฑ์

พระอรหันต์ทั้งหลายไม่ยึดมั่นถือมั่นใด ๆ ในโลก คงมองเห็นตนเองเป็นแต่เพียงภาระที่ต้องรับผิดชอบดูแล
ไม่ทำสิ่งอันเป็นโทษ ทำสิ่งอันประโยชน์แก่โลกด้วยความเมตตาสงสารเพราะได้เห็นทุกข์ในตนมาแล้วจึง
เห็นทุกข์ในผู้อื่น

บางคนก็ชอบบอกอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา แต่ไม่สำรวมระวัง ความคิด คำพูด การกระทำ ไม่คำนึงถึงความเป็นประโยชน์ ความเป็นโทษ ตั้งอยู่บนความประมาททำตนอย่างคนไม่มีหลักมีเกณฑ์ใครตักใครเตือนก็ไม่ได้ คำสอนของพระพุทธเจ้าก็ไม่ฟัง
..........................................................................................

สัมมาทิฏฐิ กับ มิจฉาทิฏฐิ

ถ้าเห็นอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา ไม่ยึดมั่นถือมั่นอย่างนี้แล้วทำให้เราไม่สำรวมระวังกรรม ไม่มีหิริ โอตัปปะ
ไม่รู้เนื้อรู้ตัวตั้งอยู่บนความประมาทแล้วยึดมั่นถือมั่นความเห็นนั้นเชื่อมั่นว่าตนพ้นทุกข์ หลงระเริงว่าตนมีความสุข ความเห็นนั้นก็เป็นมิจฉาทิฏฐิ ทิฏฐิรกชัฏ ทิฏฐิกันดาร วิมุตินั้นก็เป็นมิจฉาวิมุติ ไม่เป็นส่วนแห่งวิชชา

แต่ถ้าหากเห็นอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา แล้วทำให้เราปล่อยวางจางคลางทางโลก จิตใจตั้งมั่นอยู่กับเนื้อ
กับตัว บาปอกุศลกรรมรำงับ มีสติเห็นกายเห็นใจตนเองเป็นอัตโนมัติแม้ไม่ต้องเฝ้าดู อย่างนี้ย่อมเป็นส่วน
แห่งวิชชา ทำให้เกิดปัญญาเห็นอริยสัจ ๔ ความเห็นนั้นจึงเป็นสัมมาทิฏฐิ วิมุตินั้นก็เป็นสัมมาวิมุติ

ปล . ทั้งหมดนี้เป็นความเห็นความเข้าใจของผมเอง ซึ่งอยากให้ลองพิจารณา ผิดพลาดประการใดก็ขออภัยด้วยครับ



ท่านเจพูดมาก็เป็นส่วนถูกนะ

ข้อนี้สำคัญ ไตรลักษณ์ต้องแยกระหว่าง คนรู้ กับ คนถึง

คนรู้เป็นอย่างไร ก็ปุถุชนโดยปรกติทั่วไป เรียนรู้ท่องจำ แล้วเชื่อตามตำรา เชื่อตามคำสอนตามๆกันมา ว่า เกิดขึ้น ตั้งอยู่ ดับไป บอกว่านี้คือวิปัสสนา คนที่ได้ทำได้แค่รู้ ก็เอาใจเข้ายึดครอง คำว่า อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา เกิดขึ้น ตั้งอยู่ ดับไป การเอาใจเข้ายึดครองนี้เป็นโมหะ ทุ่สุดก็กายเป็นยึดอัตตาไตรลักษณ์ คือ ยึดหลงว่าไม่เที่ยง ยึดหลงว่าไม่มีตัวตน ยึดหลงว่าทุกข์ ก็เมื่อหลงตัวตนยึดถือคำเหล่านี้ โดยอาศัยอนุมานเอาบ้าง คิดตามเอาบ้าง จดจำสำคัญมั่นหมายไว้ในใจบ้าง จึงเกิดตัวตนของความไม่เที่ยง ตัวตนของความไม่ใช่ตัวตน ตัวตนของทุกข์ แทนที่จะเพียงแค่รู้ ผู้นับเนื่องเอาจากการท่องจำเอาไม่ใช่องค์มรรคสัมมาทิฏฐิ เป็นความเห็นที่สะสมเหตุอันเป็นบุญแก่ขันธ์เท่านั้น ไม่ใช่องค์มรรค
- ด้วยเหตุดังนี้คนที่รู้ไตรลักษณ์จึงยังยึดมั่นถือมั่นหลงอยู่กับความคิด คำสอนบอกกล่าวตามๆกันมาจากคนที่เคารพบ้าง คนที่น่าเชื่อถือบ้าง จากตำราบ้าง จากการคิดนึกตามบ้าง โดยที่ไม่เคยเห็นของจริงเลย
- ผลลัพธ์ คือ กิเลสครบพร้อมยังหมกมุ่นไตรลักษณ์ ไม่รู้เห็นธรรม ไม่ถึงธรรมแท้

คนถึงเป็นอย่างไร ก็ปุถุชนผู้มีสันดานพระอริยะขึ้นไป จนถึงพระอริยะสาวกในพระธรรมวินัยนี้ ถึงความไม่ยึด ไม่เอาใจเข้ายึดครอง ไม่หลง ไม่นับตัวตนแม้แต่คำว่าไตรลักษณ์ แต่ท่านพูดถึงไตรลักษณ์เพราะนับเนื่องเอาด้วยจิตที่เข้าถึงของจริง ไปรู้เห็นตามจริง เข้าไปเห็นความเป็นไปของสังขารตามจริง เกิดขึ้น ตั้งอยู่ ดับไป รู้เห็นตามจริง การละ การตัด การสละคืนของท่าน เช่นกายไม่มีสิ่งใดเกินกว่ากองธาตุที่รอันจะเสื่อมสูญ ไม่มีตัวตนบุคคลใด ไม่ใช่ใคร ไม่ใช่ขงใคร ด้วยเห็นจากการนับเนื่องเอาจาก ไม่มีใคร ไม่ใช่ใคร ไม่ใช่เรา ไม่มีเราในกองธาตุเหล่านั้น ไม่อาจจะนับเอาได้ว่าเป็นใครในหมู่ธาตุ ในธาตุเป็นของใคร มันเกิดขั้น ตั้งอยู่ ดับไปตามเหตุปัจจัยของมัน ไม่ได้อยู่ได้บังคับบัญชาของผู้ใด มันแค่กอปรขึ้นตามเหตุปัจจัยอันอาศัยให้นามรูปมีจึงมีวิญญาณ และ วิญญาณมีจึงมีนามรูป กายก็สมมติ ความรู้สึกก็สมมติ ธัมารมณ์ก็สมมติ นับเนื่องโดยรอบ ๓ อาการ ๑๒ โดยจะได้มากน้อยตามแต่จิตที่น้อมลงองค์มรรคมากน้อยแค่ไหน ตัด ละ สละคืน อบ่างไร ละสังโยชน์ได้แค่ไหน ดังนั้น..สัมมาทิฏฐิอันเป็นองค์มรรคแท้ๆ..มีแค่ในพระอริยะสาวกเท่านั้น
- ด้วยเหตุดังนี้คนที่เข้าถึงไตรลักษณ์จึงไม่ยึด ถึงความว่าง ความไม่มี ความสละคืน ไม่นับเนื่องเอาด้วยสังขารโลก
- ผลลัพธ์ คือ พระอริยะสาวกของพระพุทธเจ้า อันเป็นคู่แห่งบุรุษ ๔ คู่ นับเรียงตัวบุถรุษได้ ๘ บุรุษดังนี้


----------------------------------------------------

ดังนั้นไตรลักษณ์ที่เรารู้เห็นนั้นมีมากปานได้..

- อัตตาไตรลักษณ์ หรือไม่อัตตาไตรลักษณ์
- ฟุ้งไตรลักษณ์ หรือเห็นไตรลักษณ์
- รู้ธรรม หรือถึงธรรม


----------------------------------------------------



นั่นแหละ สิ่งที่ปิดบังไตรลักษณ์

สันนติ เพราะไปนับเนื่องเอาด้วยจิต
อิริยาบท เพราะเป็นคนถึง
และ ฆนสัญญา ที่เป็นฉากๆ นั้นแหละค่ะ

ปิดบังสนิทเรย

tongue



ถ้าเมเป็นคนนี้ คงใช่เนื้อคู่พี่แน่นอน :b17: :b17: :b17:

รูปภาพ

แต่อนิจจาน่าเสียดาย เมไม่อาจจะเป็นได้ cry cry cry


ยินดีด้วยน๊ะค๊ะ พี่ก็คงหาเนื้อคู่ได้ไม่ยากหรอก กลาดเกลื่อนไป

แต่ไม่ใช่สำหรับเม

เพราะศรัทธาไม่เสมอกัน มีศีลไม่เสมอกัน มีจาคะไม่เสมอกัน มีปัญญาไม่เสมอกัน กะเม

tongue



สาธุ สาธุ สาธุ ใช่แล้ว ล่ะเม เพราะเนื้อคู่พี่คนนี้สวยอะนะ เขามีศรัทธาอันประพกอบด้วยทาน และศีลมาดี เขาจึงงดงามเป็นที่รักใคร่แก่ชนทั้งหลาย งามทั้งกายใจเพราะอบรมจิตมาแล้วด้วยดี เสมอกันกับพี่ทำบุญบารมีมาดีแค่ไหนดูแค่นี้ก็รู้แล้วนะจ๊ะ พูดถึงอานิสงส์พระพุทธเจ้าตรัสไว้อยู่นะเรื่อง ทาน ศีล ภาวนา อานิสงส์ที่ได้เจริญเป็นอย่า่งไร ไม่เจริญเป็นอย่างไร :b15: :b15: :b15: :b27: :b27: :b27:

เจ้าของ:  แค่อากาศ [ 17 มี.ค. 2019, 18:27 ]
หัวข้อกระทู้:  Re: อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา อาจเป็นมิจฉาทิฏฐิก็ได้ ( ความเห็น

เมคิดถึงพี่มากใช่มั้ยล่ะ smiley smiley smiley

เจ้าของ:  โลกสวย [ 17 มี.ค. 2019, 18:30 ]
หัวข้อกระทู้:  Re: อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา อาจเป็นมิจฉาทิฏฐิก็ได้ ( ความเห็น

แค่อากาศ เขียน:
โลกสวย เขียน:
แค่อากาศ เขียน:
โลกสวย เขียน:
แค่อากาศ เขียน:
Love J. เขียน:
ความไม่ยึดมั่นถือมั่น กับ ความไม่มีหลักมีเกณฑ์

พระอรหันต์ทั้งหลายไม่ยึดมั่นถือมั่นใด ๆ ในโลก คงมองเห็นตนเองเป็นแต่เพียงภาระที่ต้องรับผิดชอบดูแล
ไม่ทำสิ่งอันเป็นโทษ ทำสิ่งอันประโยชน์แก่โลกด้วยความเมตตาสงสารเพราะได้เห็นทุกข์ในตนมาแล้วจึง
เห็นทุกข์ในผู้อื่น

บางคนก็ชอบบอกอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา แต่ไม่สำรวมระวัง ความคิด คำพูด การกระทำ ไม่คำนึงถึงความเป็นประโยชน์ ความเป็นโทษ ตั้งอยู่บนความประมาททำตนอย่างคนไม่มีหลักมีเกณฑ์ใครตักใครเตือนก็ไม่ได้ คำสอนของพระพุทธเจ้าก็ไม่ฟัง
..........................................................................................

สัมมาทิฏฐิ กับ มิจฉาทิฏฐิ

ถ้าเห็นอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา ไม่ยึดมั่นถือมั่นอย่างนี้แล้วทำให้เราไม่สำรวมระวังกรรม ไม่มีหิริ โอตัปปะ
ไม่รู้เนื้อรู้ตัวตั้งอยู่บนความประมาทแล้วยึดมั่นถือมั่นความเห็นนั้นเชื่อมั่นว่าตนพ้นทุกข์ หลงระเริงว่าตนมีความสุข ความเห็นนั้นก็เป็นมิจฉาทิฏฐิ ทิฏฐิรกชัฏ ทิฏฐิกันดาร วิมุตินั้นก็เป็นมิจฉาวิมุติ ไม่เป็นส่วนแห่งวิชชา

แต่ถ้าหากเห็นอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา แล้วทำให้เราปล่อยวางจางคลางทางโลก จิตใจตั้งมั่นอยู่กับเนื้อ
กับตัว บาปอกุศลกรรมรำงับ มีสติเห็นกายเห็นใจตนเองเป็นอัตโนมัติแม้ไม่ต้องเฝ้าดู อย่างนี้ย่อมเป็นส่วน
แห่งวิชชา ทำให้เกิดปัญญาเห็นอริยสัจ ๔ ความเห็นนั้นจึงเป็นสัมมาทิฏฐิ วิมุตินั้นก็เป็นสัมมาวิมุติ

ปล . ทั้งหมดนี้เป็นความเห็นความเข้าใจของผมเอง ซึ่งอยากให้ลองพิจารณา ผิดพลาดประการใดก็ขออภัยด้วยครับ



ท่านเจพูดมาก็เป็นส่วนถูกนะ

ข้อนี้สำคัญ ไตรลักษณ์ต้องแยกระหว่าง คนรู้ กับ คนถึง

คนรู้เป็นอย่างไร ก็ปุถุชนโดยปรกติทั่วไป เรียนรู้ท่องจำ แล้วเชื่อตามตำรา เชื่อตามคำสอนตามๆกันมา ว่า เกิดขึ้น ตั้งอยู่ ดับไป บอกว่านี้คือวิปัสสนา คนที่ได้ทำได้แค่รู้ ก็เอาใจเข้ายึดครอง คำว่า อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา เกิดขึ้น ตั้งอยู่ ดับไป การเอาใจเข้ายึดครองนี้เป็นโมหะ ทุ่สุดก็กายเป็นยึดอัตตาไตรลักษณ์ คือ ยึดหลงว่าไม่เที่ยง ยึดหลงว่าไม่มีตัวตน ยึดหลงว่าทุกข์ ก็เมื่อหลงตัวตนยึดถือคำเหล่านี้ โดยอาศัยอนุมานเอาบ้าง คิดตามเอาบ้าง จดจำสำคัญมั่นหมายไว้ในใจบ้าง จึงเกิดตัวตนของความไม่เที่ยง ตัวตนของความไม่ใช่ตัวตน ตัวตนของทุกข์ แทนที่จะเพียงแค่รู้ ผู้นับเนื่องเอาจากการท่องจำเอาไม่ใช่องค์มรรคสัมมาทิฏฐิ เป็นความเห็นที่สะสมเหตุอันเป็นบุญแก่ขันธ์เท่านั้น ไม่ใช่องค์มรรค
- ด้วยเหตุดังนี้คนที่รู้ไตรลักษณ์จึงยังยึดมั่นถือมั่นหลงอยู่กับความคิด คำสอนบอกกล่าวตามๆกันมาจากคนที่เคารพบ้าง คนที่น่าเชื่อถือบ้าง จากตำราบ้าง จากการคิดนึกตามบ้าง โดยที่ไม่เคยเห็นของจริงเลย
- ผลลัพธ์ คือ กิเลสครบพร้อมยังหมกมุ่นไตรลักษณ์ ไม่รู้เห็นธรรม ไม่ถึงธรรมแท้

คนถึงเป็นอย่างไร ก็ปุถุชนผู้มีสันดานพระอริยะขึ้นไป จนถึงพระอริยะสาวกในพระธรรมวินัยนี้ ถึงความไม่ยึด ไม่เอาใจเข้ายึดครอง ไม่หลง ไม่นับตัวตนแม้แต่คำว่าไตรลักษณ์ แต่ท่านพูดถึงไตรลักษณ์เพราะนับเนื่องเอาด้วยจิตที่เข้าถึงของจริง ไปรู้เห็นตามจริง เข้าไปเห็นความเป็นไปของสังขารตามจริง เกิดขึ้น ตั้งอยู่ ดับไป รู้เห็นตามจริง การละ การตัด การสละคืนของท่าน เช่นกายไม่มีสิ่งใดเกินกว่ากองธาตุที่รอันจะเสื่อมสูญ ไม่มีตัวตนบุคคลใด ไม่ใช่ใคร ไม่ใช่ขงใคร ด้วยเห็นจากการนับเนื่องเอาจาก ไม่มีใคร ไม่ใช่ใคร ไม่ใช่เรา ไม่มีเราในกองธาตุเหล่านั้น ไม่อาจจะนับเอาได้ว่าเป็นใครในหมู่ธาตุ ในธาตุเป็นของใคร มันเกิดขั้น ตั้งอยู่ ดับไปตามเหตุปัจจัยของมัน ไม่ได้อยู่ได้บังคับบัญชาของผู้ใด มันแค่กอปรขึ้นตามเหตุปัจจัยอันอาศัยให้นามรูปมีจึงมีวิญญาณ และ วิญญาณมีจึงมีนามรูป กายก็สมมติ ความรู้สึกก็สมมติ ธัมารมณ์ก็สมมติ นับเนื่องโดยรอบ ๓ อาการ ๑๒ โดยจะได้มากน้อยตามแต่จิตที่น้อมลงองค์มรรคมากน้อยแค่ไหน ตัด ละ สละคืน อบ่างไร ละสังโยชน์ได้แค่ไหน ดังนั้น..สัมมาทิฏฐิอันเป็นองค์มรรคแท้ๆ..มีแค่ในพระอริยะสาวกเท่านั้น
- ด้วยเหตุดังนี้คนที่เข้าถึงไตรลักษณ์จึงไม่ยึด ถึงความว่าง ความไม่มี ความสละคืน ไม่นับเนื่องเอาด้วยสังขารโลก
- ผลลัพธ์ คือ พระอริยะสาวกของพระพุทธเจ้า อันเป็นคู่แห่งบุรุษ ๔ คู่ นับเรียงตัวบุถรุษได้ ๘ บุรุษดังนี้


----------------------------------------------------

ดังนั้นไตรลักษณ์ที่เรารู้เห็นนั้นมีมากปานได้..

- อัตตาไตรลักษณ์ หรือไม่อัตตาไตรลักษณ์
- ฟุ้งไตรลักษณ์ หรือเห็นไตรลักษณ์
- รู้ธรรม หรือถึงธรรม


----------------------------------------------------



นั่นแหละ สิ่งที่ปิดบังไตรลักษณ์

สันนติ เพราะไปนับเนื่องเอาด้วยจิต
อิริยาบท เพราะเป็นคนถึง
และ ฆนสัญญา ที่เป็นฉากๆ นั้นแหละค่ะ

ปิดบังสนิทเรย

tongue



ถ้าเมเป็นคนนี้ คงใช่เนื้อคู่พี่แน่นอน :b17: :b17: :b17:

รูปภาพ

แต่อนิจจาน่าเสียดาย เมไม่อาจจะเป็นได้ cry cry cry


ยินดีด้วยน๊ะค๊ะ พี่ก็คงหาเนื้อคู่ได้ไม่ยากหรอก กลาดเกลื่อนไป

แต่ไม่ใช่สำหรับเม

เพราะศรัทธาไม่เสมอกัน มีศีลไม่เสมอกัน มีจาคะไม่เสมอกัน มีปัญญาไม่เสมอกัน กะเม

tongue



สาธุ สาธุ สาธุ ใช่แล้ว ล่ะเม เพราะเนื้อคู่พี่คนนี้สวยอะนะ เขามีศรัทธาอันประพกอบด้วยทาน และศีลมาดี เขาจึงงดงามเป็นที่รักใคร่แก่ชนทั้งหลาย งามทั้งกายใจเพราะอบรมจิตมาแล้วด้วยดี เสมอกันกับพี่ทำบุญบารมีมาดีแค่ไหนดูแค่นี้ก็รู้แล้วนะจ๊ะ พูดถึงอานิสงส์พระพุทธเจ้าตรัสไว้อยู่นะเรื่อง ทาน ศีล ภาวนา อานิสงส์ที่ได้เจริญเป็นอย่า่งไร ไม่เจริญเป็นอย่างไร :b15: :b15: :b15: :b27: :b27: :b27:


รู้แล้วหล่ะค่ะ ว่าเละเทะ

นั่นแหละ สิ่งที่ปิดบังไตรลักษณ์

tongue

เจ้าของ:  แค่อากาศ [ 17 มี.ค. 2019, 18:39 ]
หัวข้อกระทู้:  Re: อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา อาจเป็นมิจฉาทิฏฐิก็ได้ ( ความเห็น

เหมือนเมกับพี่ต่างคิดถึงกันมากเลยนะคะ ต่อกระทู้กุ๊กกิ๊กกันตั้งเยอะ เราไปตั้งกระทู้คุยกัน 2 คนมั้ยจ๊ะที่รัก :b32: :b32: :b32:

เจ้าของ:  โลกสวย [ 17 มี.ค. 2019, 18:45 ]
หัวข้อกระทู้:  Re: อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา อาจเป็นมิจฉาทิฏฐิก็ได้ ( ความเห็น

แค่อากาศ เขียน:
เหมือนเมกับพี่ต่างคิดถึงกันมากเลยนะคะ ต่อกระทู้กุ๊กกิ๊กกันตั้งเยอะ เราไปตั้งกระทู้คุยกัน 2 คนมั้ยจ๊ะที่รัก :b32: :b32: :b32:


ที่มาตอบ เพราะ

เพื่อนสมาชิกจะได้เห็นไงค๊ะ ว่า
พฤติกรรมเละเทะ ของพี่อากาศนี้
ปิดบังไตรลักษณ์ หมดท่าเรย


แนะนำ ไปดูรูปอสุภะเบื้องต้น ก่อน น๊ะค๊ะ


tongue

เจ้าของ:  Love J. [ 17 มี.ค. 2019, 21:39 ]
หัวข้อกระทู้:  Re: อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา อาจเป็นมิจฉาทิฏฐิก็ได้ ( ความเห็น

โยนิโสมนสิการ

อนิจจสัญญา - ตามเห็นความไม่เที่ยงเพื่ออบรมใจให้มีอุเบกขาต่อสังขารทั้งหลายทั้งภายนอกและภายใน เพื่อระงับยับยั้งความอยากได้ใน ลาภ ยศ สรรเสริญ ความสุข

อนิจเจทุกขสัญญา - ตามเห็นความไม่เที่ยงโดยความเป็นทุกข์ เพื่อตระหนักถึงโทษภัยอย่างแรงกล้าในความเฉื่อยชา ในความเกียจคร้าน ในความท้อถอย ในความประมาท ในการไม่ประกอบความเพียร ในการไม่พิจารณา

ทุกเขอนัตตสัญญา - ตามเห็นความเป็นทุกข์ว่าไม่ใช่ตัวใช่ตน ใช้สติปัญญาพิจารณาทุกข์ให้เห็นว่าไม่ใช่ตัวใช่ตน เหตุปัจจัยปรุงแต่งขึ้น เพื่อละทิฏฐิ ตัณหาว่า นี้เรา ของเรา

สัญญา ๓ ประการนี้ เจริญแล้ว กระทำให้มากแล้ว ย่อมหยั่งลงสู่อมตะ หยั่งลงสู่กุศลธรรมทั้งหลาย หยั่งลงสู่อริยมรรค


............................................................................................................

“ภิกษุทั้งหลาย เมื่อดวงอาทิตย์อุทัยอยู่ ย่อมมีแสงอรุณขึ้นมาก่อน เป็นบุพนิมิต ฉันใด ความถึงพร้อมด้วยโยนิโสมนสิการ ก็เป็นตัวนำ เป็นบุพนิมิต แห่งการเกิดขึ้นของอารยอัษฎางคิกมรรค แก่ภิกษุ ฉันนั้น”

“เราไม่เล็งเห็นองค์ประกอบภายในอื่นแม้สักอย่างเดียว ที่มีประโยชน์มากสำหรับภิกษุผู้เป็นเสขะ เหมือนโยนิโสมนสิการ ภิกษุผู้มีโยนิโสมนสิการ ย่อมกำจัดอกุศลได้ และย่อมยังกุศลให้เกิดขึ้น”

“เราไม่เล็งเห็นธรรมอื่น แม้สักข้อหนึ่ง ซึ่งเป็นเหตุให้สัมมาทิฏฐิที่ยังไม่เกิดก็เกิดขึ้น ที่เกิดขึ้นแล้ว ก็เจริญยิ่งขึ้น เหมือนโยนิโสมนสิการเลย”

“เราไม่เล็งเห็นธรรมอื่น แม้สักข้อหนึ่ง ซึ่งจะเป็นเหตุให้ความสงสัยที่ยังไม่เกิด ก็ไม่เกิดขึ้น ที่เกิดขึ้นแล้ว ก็ถูกขจัดเสียได้ เหมือนโยนิโสมนสิการเลย”

“โยนิโสมนสิการ ย่อมเป็นไปเพื่อประโยชน์ยิ่งใหญ่, เพื่อความดำรงมั่นไม่เสื่อมสูญ ไม่อันตรธานแห่งสัทธรรม” ฯลฯ

เจ้าของ:  กบนอกกะลา [ 17 มี.ค. 2019, 23:39 ]
หัวข้อกระทู้:  Re: อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา อาจเป็นมิจฉาทิฏฐิก็ได้ ( ความเห็น

แค่อากาศ เขียน:
โลกสวย เขียน:
แค่อากาศ เขียน:
Love J. เขียน:
ความไม่ยึดมั่นถือมั่น กับ ความไม่มีหลักมีเกณฑ์

พระอรหันต์ทั้งหลายไม่ยึดมั่นถือมั่นใด ๆ ในโลก คงมองเห็นตนเองเป็นแต่เพียงภาระที่ต้องรับผิดชอบดูแล
ไม่ทำสิ่งอันเป็นโทษ ทำสิ่งอันประโยชน์แก่โลกด้วยความเมตตาสงสารเพราะได้เห็นทุกข์ในตนมาแล้วจึง
เห็นทุกข์ในผู้อื่น

บางคนก็ชอบบอกอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา แต่ไม่สำรวมระวัง ความคิด คำพูด การกระทำ ไม่คำนึงถึงความเป็นประโยชน์ ความเป็นโทษ ตั้งอยู่บนความประมาททำตนอย่างคนไม่มีหลักมีเกณฑ์ใครตักใครเตือนก็ไม่ได้ คำสอนของพระพุทธเจ้าก็ไม่ฟัง
..........................................................................................

สัมมาทิฏฐิ กับ มิจฉาทิฏฐิ

ถ้าเห็นอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา ไม่ยึดมั่นถือมั่นอย่างนี้แล้วทำให้เราไม่สำรวมระวังกรรม ไม่มีหิริ โอตัปปะ
ไม่รู้เนื้อรู้ตัวตั้งอยู่บนความประมาทแล้วยึดมั่นถือมั่นความเห็นนั้นเชื่อมั่นว่าตนพ้นทุกข์ หลงระเริงว่าตนมีความสุข ความเห็นนั้นก็เป็นมิจฉาทิฏฐิ ทิฏฐิรกชัฏ ทิฏฐิกันดาร วิมุตินั้นก็เป็นมิจฉาวิมุติ ไม่เป็นส่วนแห่งวิชชา

แต่ถ้าหากเห็นอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา แล้วทำให้เราปล่อยวางจางคลางทางโลก จิตใจตั้งมั่นอยู่กับเนื้อ
กับตัว บาปอกุศลกรรมรำงับ มีสติเห็นกายเห็นใจตนเองเป็นอัตโนมัติแม้ไม่ต้องเฝ้าดู อย่างนี้ย่อมเป็นส่วน
แห่งวิชชา ทำให้เกิดปัญญาเห็นอริยสัจ ๔ ความเห็นนั้นจึงเป็นสัมมาทิฏฐิ วิมุตินั้นก็เป็นสัมมาวิมุติ

ปล . ทั้งหมดนี้เป็นความเห็นความเข้าใจของผมเอง ซึ่งอยากให้ลองพิจารณา ผิดพลาดประการใดก็ขออภัยด้วยครับ



ท่านเจพูดมาก็เป็นส่วนถูกนะ

ข้อนี้สำคัญ ไตรลักษณ์ต้องแยกระหว่าง คนรู้ กับ คนถึง

คนรู้เป็นอย่างไร ก็ปุถุชนโดยปรกติทั่วไป เรียนรู้ท่องจำ แล้วเชื่อตามตำรา เชื่อตามคำสอนตามๆกันมา ว่า เกิดขึ้น ตั้งอยู่ ดับไป บอกว่านี้คือวิปัสสนา คนที่ได้ทำได้แค่รู้ ก็เอาใจเข้ายึดครอง คำว่า อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา เกิดขึ้น ตั้งอยู่ ดับไป การเอาใจเข้ายึดครองนี้เป็นโมหะ ทุ่สุดก็กายเป็นยึดอัตตาไตรลักษณ์ คือ ยึดหลงว่าไม่เที่ยง ยึดหลงว่าไม่มีตัวตน ยึดหลงว่าทุกข์ ก็เมื่อหลงตัวตนยึดถือคำเหล่านี้ โดยอาศัยอนุมานเอาบ้าง คิดตามเอาบ้าง จดจำสำคัญมั่นหมายไว้ในใจบ้าง จึงเกิดตัวตนของความไม่เที่ยง ตัวตนของความไม่ใช่ตัวตน ตัวตนของทุกข์ แทนที่จะเพียงแค่รู้ ผู้นับเนื่องเอาจากการท่องจำเอาไม่ใช่องค์มรรคสัมมาทิฏฐิ เป็นความเห็นที่สะสมเหตุอันเป็นบุญแก่ขันธ์เท่านั้น ไม่ใช่องค์มรรค
- ด้วยเหตุดังนี้คนที่รู้ไตรลักษณ์จึงยังยึดมั่นถือมั่นหลงอยู่กับความคิด คำสอนบอกกล่าวตามๆกันมาจากคนที่เคารพบ้าง คนที่น่าเชื่อถือบ้าง จากตำราบ้าง จากการคิดนึกตามบ้าง โดยที่ไม่เคยเห็นของจริงเลย
- ผลลัพธ์ คือ กิเลสครบพร้อมยังหมกมุ่นไตรลักษณ์ ไม่รู้เห็นธรรม ไม่ถึงธรรมแท้

คนถึงเป็นอย่างไร ก็ปุถุชนผู้มีสันดานพระอริยะขึ้นไป จนถึงพระอริยะสาวกในพระธรรมวินัยนี้ ถึงความไม่ยึด ไม่เอาใจเข้ายึดครอง ไม่หลง ไม่นับตัวตนแม้แต่คำว่าไตรลักษณ์ แต่ท่านพูดถึงไตรลักษณ์เพราะนับเนื่องเอาด้วยจิตที่เข้าถึงของจริง ไปรู้เห็นตามจริง เข้าไปเห็นความเป็นไปของสังขารตามจริง เกิดขึ้น ตั้งอยู่ ดับไป รู้เห็นตามจริง การละ การตัด การสละคืนของท่าน เช่นกายไม่มีสิ่งใดเกินกว่ากองธาตุที่รอันจะเสื่อมสูญ ไม่มีตัวตนบุคคลใด ไม่ใช่ใคร ไม่ใช่ขงใคร ด้วยเห็นจากการนับเนื่องเอาจาก ไม่มีใคร ไม่ใช่ใคร ไม่ใช่เรา ไม่มีเราในกองธาตุเหล่านั้น ไม่อาจจะนับเอาได้ว่าเป็นใครในหมู่ธาตุ ในธาตุเป็นของใคร มันเกิดขั้น ตั้งอยู่ ดับไปตามเหตุปัจจัยของมัน ไม่ได้อยู่ได้บังคับบัญชาของผู้ใด มันแค่กอปรขึ้นตามเหตุปัจจัยอันอาศัยให้นามรูปมีจึงมีวิญญาณ และ วิญญาณมีจึงมีนามรูป กายก็สมมติ ความรู้สึกก็สมมติ ธัมารมณ์ก็สมมติ นับเนื่องโดยรอบ ๓ อาการ ๑๒ โดยจะได้มากน้อยตามแต่จิตที่น้อมลงองค์มรรคมากน้อยแค่ไหน ตัด ละ สละคืน อบ่างไร ละสังโยชน์ได้แค่ไหน ดังนั้น..สัมมาทิฏฐิอันเป็นองค์มรรคแท้ๆ..มีแค่ในพระอริยะสาวกเท่านั้น
- ด้วยเหตุดังนี้คนที่เข้าถึงไตรลักษณ์จึงไม่ยึด ถึงความว่าง ความไม่มี ความสละคืน ไม่นับเนื่องเอาด้วยสังขารโลก
- ผลลัพธ์ คือ พระอริยะสาวกของพระพุทธเจ้า อันเป็นคู่แห่งบุรุษ ๔ คู่ นับเรียงตัวบุถรุษได้ ๘ บุรุษดังนี้


----------------------------------------------------

ดังนั้นไตรลักษณ์ที่เรารู้เห็นนั้นมีมากปานได้..

- อัตตาไตรลักษณ์ หรือไม่อัตตาไตรลักษณ์
- ฟุ้งไตรลักษณ์ หรือเห็นไตรลักษณ์
- รู้ธรรม หรือถึงธรรม


----------------------------------------------------



นั่นแหละ สิ่งที่ปิดบังไตรลักษณ์

สันนติ เพราะไปนับเนื่องเอาด้วยจิต
อิริยาบท เพราะเป็นคนถึง
และ ฆนสัญญา ที่เป็นฉากๆ นั้นแหละค่ะ

ปิดบังสนิทเรย

tongue



ถ้าเมเป็นคนนี้ คงใช่เนื้อคู่พี่แน่นอน :b17: :b17: :b17:

รูปภาพ

แต่อนิจจาน่าเสียดาย เมไม่อาจจะเป็นได้ cry cry cry


หลงรูป...เพราะเห็นตัวเห็นตนในรูป..หลงว่ารูปเป็นตัวเป็นตนจริง

เจ้าของ:  โลกสวย [ 18 มี.ค. 2019, 02:49 ]
หัวข้อกระทู้:  Re: อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา อาจเป็นมิจฉาทิฏฐิก็ได้ ( ความเห็น

กบนอกกะลา เขียน:
แค่อากาศ เขียน:
โลกสวย เขียน:
แค่อากาศ เขียน:
Love J. เขียน:
ความไม่ยึดมั่นถือมั่น กับ ความไม่มีหลักมีเกณฑ์

พระอรหันต์ทั้งหลายไม่ยึดมั่นถือมั่นใด ๆ ในโลก คงมองเห็นตนเองเป็นแต่เพียงภาระที่ต้องรับผิดชอบดูแล
ไม่ทำสิ่งอันเป็นโทษ ทำสิ่งอันประโยชน์แก่โลกด้วยความเมตตาสงสารเพราะได้เห็นทุกข์ในตนมาแล้วจึง
เห็นทุกข์ในผู้อื่น

บางคนก็ชอบบอกอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา แต่ไม่สำรวมระวัง ความคิด คำพูด การกระทำ ไม่คำนึงถึงความเป็นประโยชน์ ความเป็นโทษ ตั้งอยู่บนความประมาททำตนอย่างคนไม่มีหลักมีเกณฑ์ใครตักใครเตือนก็ไม่ได้ คำสอนของพระพุทธเจ้าก็ไม่ฟัง
..........................................................................................

สัมมาทิฏฐิ กับ มิจฉาทิฏฐิ

ถ้าเห็นอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา ไม่ยึดมั่นถือมั่นอย่างนี้แล้วทำให้เราไม่สำรวมระวังกรรม ไม่มีหิริ โอตัปปะ
ไม่รู้เนื้อรู้ตัวตั้งอยู่บนความประมาทแล้วยึดมั่นถือมั่นความเห็นนั้นเชื่อมั่นว่าตนพ้นทุกข์ หลงระเริงว่าตนมีความสุข ความเห็นนั้นก็เป็นมิจฉาทิฏฐิ ทิฏฐิรกชัฏ ทิฏฐิกันดาร วิมุตินั้นก็เป็นมิจฉาวิมุติ ไม่เป็นส่วนแห่งวิชชา

แต่ถ้าหากเห็นอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา แล้วทำให้เราปล่อยวางจางคลางทางโลก จิตใจตั้งมั่นอยู่กับเนื้อ
กับตัว บาปอกุศลกรรมรำงับ มีสติเห็นกายเห็นใจตนเองเป็นอัตโนมัติแม้ไม่ต้องเฝ้าดู อย่างนี้ย่อมเป็นส่วน
แห่งวิชชา ทำให้เกิดปัญญาเห็นอริยสัจ ๔ ความเห็นนั้นจึงเป็นสัมมาทิฏฐิ วิมุตินั้นก็เป็นสัมมาวิมุติ

ปล . ทั้งหมดนี้เป็นความเห็นความเข้าใจของผมเอง ซึ่งอยากให้ลองพิจารณา ผิดพลาดประการใดก็ขออภัยด้วยครับ



ท่านเจพูดมาก็เป็นส่วนถูกนะ

ข้อนี้สำคัญ ไตรลักษณ์ต้องแยกระหว่าง คนรู้ กับ คนถึง

คนรู้เป็นอย่างไร ก็ปุถุชนโดยปรกติทั่วไป เรียนรู้ท่องจำ แล้วเชื่อตามตำรา เชื่อตามคำสอนตามๆกันมา ว่า เกิดขึ้น ตั้งอยู่ ดับไป บอกว่านี้คือวิปัสสนา คนที่ได้ทำได้แค่รู้ ก็เอาใจเข้ายึดครอง คำว่า อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา เกิดขึ้น ตั้งอยู่ ดับไป การเอาใจเข้ายึดครองนี้เป็นโมหะ ทุ่สุดก็กายเป็นยึดอัตตาไตรลักษณ์ คือ ยึดหลงว่าไม่เที่ยง ยึดหลงว่าไม่มีตัวตน ยึดหลงว่าทุกข์ ก็เมื่อหลงตัวตนยึดถือคำเหล่านี้ โดยอาศัยอนุมานเอาบ้าง คิดตามเอาบ้าง จดจำสำคัญมั่นหมายไว้ในใจบ้าง จึงเกิดตัวตนของความไม่เที่ยง ตัวตนของความไม่ใช่ตัวตน ตัวตนของทุกข์ แทนที่จะเพียงแค่รู้ ผู้นับเนื่องเอาจากการท่องจำเอาไม่ใช่องค์มรรคสัมมาทิฏฐิ เป็นความเห็นที่สะสมเหตุอันเป็นบุญแก่ขันธ์เท่านั้น ไม่ใช่องค์มรรค
- ด้วยเหตุดังนี้คนที่รู้ไตรลักษณ์จึงยังยึดมั่นถือมั่นหลงอยู่กับความคิด คำสอนบอกกล่าวตามๆกันมาจากคนที่เคารพบ้าง คนที่น่าเชื่อถือบ้าง จากตำราบ้าง จากการคิดนึกตามบ้าง โดยที่ไม่เคยเห็นของจริงเลย
- ผลลัพธ์ คือ กิเลสครบพร้อมยังหมกมุ่นไตรลักษณ์ ไม่รู้เห็นธรรม ไม่ถึงธรรมแท้

คนถึงเป็นอย่างไร ก็ปุถุชนผู้มีสันดานพระอริยะขึ้นไป จนถึงพระอริยะสาวกในพระธรรมวินัยนี้ ถึงความไม่ยึด ไม่เอาใจเข้ายึดครอง ไม่หลง ไม่นับตัวตนแม้แต่คำว่าไตรลักษณ์ แต่ท่านพูดถึงไตรลักษณ์เพราะนับเนื่องเอาด้วยจิตที่เข้าถึงของจริง ไปรู้เห็นตามจริง เข้าไปเห็นความเป็นไปของสังขารตามจริง เกิดขึ้น ตั้งอยู่ ดับไป รู้เห็นตามจริง การละ การตัด การสละคืนของท่าน เช่นกายไม่มีสิ่งใดเกินกว่ากองธาตุที่รอันจะเสื่อมสูญ ไม่มีตัวตนบุคคลใด ไม่ใช่ใคร ไม่ใช่ขงใคร ด้วยเห็นจากการนับเนื่องเอาจาก ไม่มีใคร ไม่ใช่ใคร ไม่ใช่เรา ไม่มีเราในกองธาตุเหล่านั้น ไม่อาจจะนับเอาได้ว่าเป็นใครในหมู่ธาตุ ในธาตุเป็นของใคร มันเกิดขั้น ตั้งอยู่ ดับไปตามเหตุปัจจัยของมัน ไม่ได้อยู่ได้บังคับบัญชาของผู้ใด มันแค่กอปรขึ้นตามเหตุปัจจัยอันอาศัยให้นามรูปมีจึงมีวิญญาณ และ วิญญาณมีจึงมีนามรูป กายก็สมมติ ความรู้สึกก็สมมติ ธัมารมณ์ก็สมมติ นับเนื่องโดยรอบ ๓ อาการ ๑๒ โดยจะได้มากน้อยตามแต่จิตที่น้อมลงองค์มรรคมากน้อยแค่ไหน ตัด ละ สละคืน อบ่างไร ละสังโยชน์ได้แค่ไหน ดังนั้น..สัมมาทิฏฐิอันเป็นองค์มรรคแท้ๆ..มีแค่ในพระอริยะสาวกเท่านั้น
- ด้วยเหตุดังนี้คนที่เข้าถึงไตรลักษณ์จึงไม่ยึด ถึงความว่าง ความไม่มี ความสละคืน ไม่นับเนื่องเอาด้วยสังขารโลก
- ผลลัพธ์ คือ พระอริยะสาวกของพระพุทธเจ้า อันเป็นคู่แห่งบุรุษ ๔ คู่ นับเรียงตัวบุถรุษได้ ๘ บุรุษดังนี้


----------------------------------------------------

ดังนั้นไตรลักษณ์ที่เรารู้เห็นนั้นมีมากปานได้..

- อัตตาไตรลักษณ์ หรือไม่อัตตาไตรลักษณ์
- ฟุ้งไตรลักษณ์ หรือเห็นไตรลักษณ์
- รู้ธรรม หรือถึงธรรม


----------------------------------------------------



นั่นแหละ สิ่งที่ปิดบังไตรลักษณ์

สันนติ เพราะไปนับเนื่องเอาด้วยจิต
อิริยาบท เพราะเป็นคนถึง
และ ฆนสัญญา ที่เป็นฉากๆ นั้นแหละค่ะ

ปิดบังสนิทเรย

tongue



ถ้าเมเป็นคนนี้ คงใช่เนื้อคู่พี่แน่นอน :b17: :b17: :b17:

รูปภาพ

แต่อนิจจาน่าเสียดาย เมไม่อาจจะเป็นได้ cry cry cry


หลงรูป...เพราะเห็นตัวเห็นตนในรูป..หลงว่ารูปเป็นตัวเป็นตนจริง




ช่วงนี้ พี่แค่อากาศเค้าเละเทะไปหน่อย

ไหนเจอทั้งอากาศร้อน เจอทั้งฝุ่น 2.5 pm ค่ะ

แนะนำ พี่กบ ระวังสุขภาพจิต จากอากาศแบบนี้ด้วย

อย่าลืมไส่หน้ากากป้องกันฝุ่น ด้วย น๊าคร้า

smiley

เจ้าของ:  กบนอกกะลา [ 18 มี.ค. 2019, 07:01 ]
หัวข้อกระทู้:  Re: อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา อาจเป็นมิจฉาทิฏฐิก็ได้ ( ความเห็น

โลกสวย เขียน:
กบนอกกะลา เขียน:
อ้างคำพูด:
รูปภาพ
แต่อนิจจาน่าเสียดาย เมไม่อาจจะเป็นได้ cry cry cry


หลงรูป...เพราะเห็นตัวเห็นตนในรูป..หลงว่ารูปเป็นตัวเป็นตนจริง



ช่วงนี้ พี่แค่อากาศเค้าเละเทะไปหน่อย

ไหนเจอทั้งอากาศร้อน เจอทั้งฝุ่น 2.5 pm ค่ะ

แนะนำ พี่กบ ระวังสุขภาพจิต จากอากาศแบบนี้ด้วย

อย่าลืมไส่หน้ากากป้องกันฝุ่น ด้วย น๊าคร้า

smiley


อากาศ..ไม่ได้เป็นพิษหรอก
PM 2.5 ก็ไม่ได้เป็นโรค :b12:

เพียงเห็นรูป..ก็นึกรำพึงรำพัน..เล่นๆไปยังงั้นเอง.. :b9: :b9:

เจ้าของ:  แค่อากาศ [ 18 มี.ค. 2019, 10:20 ]
หัวข้อกระทู้:  Re: อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา อาจเป็นมิจฉาทิฏฐิก็ได้ ( ความเห็น

กบนอกกะลา เขียน:
โลกสวย เขียน:
กบนอกกะลา เขียน:
อ้างคำพูด:
รูปภาพ
แต่อนิจจาน่าเสียดาย เมไม่อาจจะเป็นได้ cry cry cry


หลงรูป...เพราะเห็นตัวเห็นตนในรูป..หลงว่ารูปเป็นตัวเป็นตนจริง



ช่วงนี้ พี่แค่อากาศเค้าเละเทะไปหน่อย

ไหนเจอทั้งอากาศร้อน เจอทั้งฝุ่น 2.5 pm ค่ะ

แนะนำ พี่กบ ระวังสุขภาพจิต จากอากาศแบบนี้ด้วย

อย่าลืมไส่หน้ากากป้องกันฝุ่น ด้วย น๊าคร้า

smiley


อากาศ..ไม่ได้เป็นพิษหรอก
PM 2.5 ก็ไม่ได้เป็นโรค :b12:

เพียงเห็นรูป..ก็นึกรำพึงรำพัน..เล่นๆไปยังงั้นเอง.. :b9: :b9:



สาธุ สาธุ สาธุ ท่านอ๊บกล่าวดีแล้ว

tongue tongue tongue

เมแค่งอนผมน่ะท่านอ๊บ หรือหึงก็ไม่รู้ :b32: :b32: :b32: โอ๋ๆๆๆๆๆๆเมที่รักนิ่งเตะนิ่งเตะ :b27: :b27: :b27: รักเม รักเม (ตบตูดเบาๆ) (แล้วลูบหลังๆๆ) (เหมือนโอ๋เด็ก)

หากเอาสันดานพระอริยะมาสถิตย์ เมื่อเรารู้จักบุญกรรมตามที่พระศาสตรัสสอนแล้ว(อันเป็นสัมมาทิฏฐิในกุศลกรรมบถ 10) เวลาเห็นคนที่ดีงามพร้อมงดงามทั้งกาย วาจา ใจ ท่านสอนให้พิจารณาดูกรรมเป็นหลัก เขาทำบุญอย่างไรมาหนอ สะสมเหตุอันใดมาดีแล้วบ้าง จึงทำให้มีรูปงามพร้อมทั้งทรัพย์สมบัติ การศึกษาเรียนรู้ มีปัญญาดี ฉลาดว่องไว มีโอกาสที่ดีงาม ทำอะไรก็น่ารักน่าเอ็นดู ไม่เป็นที่น่ารังเกียจแก่ชนทั้งหลาย
เขาสร้างบุญบารมีอย่างไรมา :b32: :b32: :b32: เมมัวแต่หึงพี่ก็เลยไม่เห็นจุดนี้ อุตส่าห์เอารูปมาให้เมดูแล้วนี่ จะได้พิจารณาเห็น แต่กลับหึงพี่ซะงั้น

อีกประการ คนที่สันตติจะขาดได้เขาต้องเห็นของจริงมาแล้วทั้งสิ้น :b32: :b32: :b32: ไม่ใช่อยู่ๆขาดเลย แม้คนที่มีกุศลเป็นมหากุศลก็ตามแต่ ล้วนแต่เห็นของจริงมาก่อนทั้งนั้น เห็นการทำงานของขันธ์ จิตแยกจากกายบ้าง จิตมันหน่ายกายก่อน จิตมันจึงเดินเห็นเวทนา จิตเห็นจิต ลงธรรม เมื่อมันรวมกันในชั่วแวบขณะเสี้ยววินาทีสัตตะติขาด จิตเกิดความแยบคายพิจารณาด้วยตัวเองเห็นไตรลักษณ์ฺแท้ๆ จิตหน่ายจึงเกิดสังขารุเปกขา :b32: :b32: :b32: เห็นจริงเขาไม่เอามาโม้พูดเล่นนะจ๊ะเมที่รัก มันเป็นเรื่องของผลการปฏิบัติ :b32: :b32: :b32:

หน้า 3 จากทั้งหมด 4 เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง
Powered by phpBB © 2000, 2002, 2005, 2007 phpBB Group
http://www.phpbb.com/