วันเวลาปัจจุบัน 29 เม.ย. 2024, 07:00  



เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง




กลับไปยังกระทู้  [ 57 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1, 2, 3, 4  ต่อไป  Bookmark and Share
เจ้าของ ข้อความ
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 10 มี.ค. 2019, 12:50 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


ว่าไงต่อไป เปิดให้ถกเถียงต่อได้ แต่อย่างว่านะ ดูๆแล้วก็งั้นๆแหละ ทั้งคุณโรสคุณอะไรๆ

คุณโรสหายไปไหนไม่ทราบ หรือ ว่าไปนอนนับแสนโกฎิขณะ กระพริบตากิเลสเกิดครบ 6 ทาง :b13:

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 10 มี.ค. 2019, 12:54 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 11 มี.ค. 2018, 02:56
โพสต์: 2157

โฮมเพจ: maybe
แนวปฏิบัติ: สติปัฎฐาน
งานอดิเรก: กีฬา
สิ่งที่ชื่นชอบ: แบรนด์เเนม
ชื่อเล่น: เม
อายุ: 22
ที่อยู่: Bangkok Thailand

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
โลกสวย เขียน:
กรัชกาย เขียน:
สมถะ

สมถะ แปลง่ายๆว่า ความสงบ แต่ที่ใช้ทั่วไป หมายถึงวิธีทำใจให้สงบ

ขยายความว่า ได้แก่ ข้อปฏิบัติต่างๆ ในการฝึกอบรมจิตให้เกิดความสงบ จนตั้งมั่นเป็นสมาธิ ถึงขั้นได้ฌานระดับต่างๆ จุดมุ่งหมายของสมถะคือสมาธิ ซึ่งหมายเอาสมาธิขั้นสูงที่ทำให้เกิดฌาน

หลักการของสมถะ คือ กำหนดใจไว้กับสิ่งใดสิ่งหนึ่ง (เรียกว่า อารมณ์) ให้แน่วแน่จนจิตน้อมดิ่งอยู่ในสิ่งนั้นสิ่งเดียว (เรียกกันว่า จิตมีอารมณ์เป็นหนึ่ง หรือจิตมีอารมณ์อันเดียว) ความ แน่วแน่หรือตั้งมั่นของจิต นี้เรียกว่า "สมาธิ"

เมื่อสมาธิแนบสนิทเต็มที่แล้ว ก็จะเกิดภาวะจิตที่เรียกว่า ฌาน ซึ่งแบ่งเป็นระดับต่างๆ ระดับที่กำหนดเอารูปธรรมเป็นอารมณ์ เรียกว่า รูปฌาน หรือเรียกง่ายๆ ว่า ฌาน มี ๔ ขั้น ระดับที่กำหนดอรูปธรรมเป็นอารมณ์ เรียกว่า อรูปฌาน มี ๔ ขั้น ทั้งรูป ฌาน ๔ และอรูปฌาน ๔ เรียกรวมกันว่า สมาบัติ (๘)


s006 เอ่?

แวะมาดูแล้ว ยังไม่เห็นความสงบยังนั้นเรยค่ะ

เพราะว่า

สัมมาสมาธิ จะเกิดได้ ต้องมีสัมมาสติก่อน
ไม่ใช่ แค่การเอาสติไปจดจ่อกะอารมณ์ใด อารมณ์หนึ่ง
แล้วจะเป็นสัมมาสติ

แต่สัมมาสติจะต้องเกิดและเป็นไปพร้อมๆ
กับสัทธาเจตสิก
อโนตัปปะเจตสิก
อโลภะเจตสิก
ตัตรมัชฌัตตตาเจตสิก
และยุคลธรรมเจตสิก 12ดวง

จึงเป็นโสภณเจตสิก 18 ดวง และโสภณเจตสิก ดวงนี้เอง ที่ปรากฎ
เป็นอัญญมัญญปัจจัย ที่อาศัยซึ่งกันและกัน
และอาศัยสัญญาด้วย จึงมีปัญญาเห็นเป็นสัมมาสติ

ถ้าขาดตรงนี้ไป จะไป
การแค่จะไปใช้สติจดจ่อในอารณ์หนึงอารมณ์ใด ๆ ยังไม่จัดว่า เป็นสัมมาสติ ค่ะ
ไปต่อ ยังสัมมาสมาธิไม่ได้ค่ะ เพราะยังเป็นมิจฉาสติค่ะ

ที่สำคัญที่สุด ปริยัติ กับปฎิบัติต้องสอดคล้องกัน


ก็ลุงพูดดักคอไว้แล้ว ไม่เชื่อกันมั่งเบย

อ้างคำพูด:
อดไม่ได้ เลยนำหลักให้ดู แต่ถึงจะดูหลักแล้ว ตราบใดที่ยังไม่ลงมือทำลงมือภาวนาก็ดี ยังถกเถียงกันโดยไม่ลงมือทำก็ดี เสียเวลาปลูกผักปลูกหญ้าอยู่ตราบนั้น


ว่า ต้องลงมือทำๆๆๆๆๆ ตัวอย่างก็ยกมาให้ดูแบ้ว :b32: ไม่เชื่อ


s006 ?

ก้ทำแล้ว ไม่มีเจตสิก แบบเนี๊ยะ

เรยไม่ทำแบบลุงว่าไงค๊ะ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 10 มี.ค. 2019, 12:57 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


โลกสวย เขียน:
กรัชกาย เขียน:
โลกสวย เขียน:
กรัชกาย เขียน:
สมถะ

สมถะ แปลง่ายๆว่า ความสงบ แต่ที่ใช้ทั่วไป หมายถึงวิธีทำใจให้สงบ

ขยายความว่า ได้แก่ ข้อปฏิบัติต่างๆ ในการฝึกอบรมจิตให้เกิดความสงบ จนตั้งมั่นเป็นสมาธิ ถึงขั้นได้ฌานระดับต่างๆ จุดมุ่งหมายของสมถะคือสมาธิ ซึ่งหมายเอาสมาธิขั้นสูงที่ทำให้เกิดฌาน

หลักการของสมถะ คือ กำหนดใจไว้กับสิ่งใดสิ่งหนึ่ง (เรียกว่า อารมณ์) ให้แน่วแน่จนจิตน้อมดิ่งอยู่ในสิ่งนั้นสิ่งเดียว (เรียกกันว่า จิตมีอารมณ์เป็นหนึ่ง หรือจิตมีอารมณ์อันเดียว) ความ แน่วแน่หรือตั้งมั่นของจิต นี้เรียกว่า "สมาธิ"

เมื่อสมาธิแนบสนิทเต็มที่แล้ว ก็จะเกิดภาวะจิตที่เรียกว่า ฌาน ซึ่งแบ่งเป็นระดับต่างๆ ระดับที่กำหนดเอารูปธรรมเป็นอารมณ์ เรียกว่า รูปฌาน หรือเรียกง่ายๆ ว่า ฌาน มี ๔ ขั้น ระดับที่กำหนดอรูปธรรมเป็นอารมณ์ เรียกว่า อรูปฌาน มี ๔ ขั้น ทั้งรูป ฌาน ๔ และอรูปฌาน ๔ เรียกรวมกันว่า สมาบัติ (๘)


s006 เอ่?

แวะมาดูแล้ว ยังไม่เห็นความสงบยังนั้นเรยค่ะ

เพราะว่า

สัมมาสมาธิ จะเกิดได้ ต้องมีสัมมาสติก่อน
ไม่ใช่ แค่การเอาสติไปจดจ่อกะอารมณ์ใด อารมณ์หนึ่ง
แล้วจะเป็นสัมมาสติ

แต่สัมมาสติจะต้องเกิดและเป็นไปพร้อมๆ
กับสัทธาเจตสิก
อโนตัปปะเจตสิก
อโลภะเจตสิก
ตัตรมัชฌัตตตาเจตสิก
และยุคลธรรมเจตสิก 12ดวง

จึงเป็นโสภณเจตสิก 18 ดวง และโสภณเจตสิก ดวงนี้เอง ที่ปรากฎ
เป็นอัญญมัญญปัจจัย ที่อาศัยซึ่งกันและกัน
และอาศัยสัญญาด้วย จึงมีปัญญาเห็นเป็นสัมมาสติ

ถ้าขาดตรงนี้ไป จะไป
การแค่จะไปใช้สติจดจ่อในอารณ์หนึงอารมณ์ใด ๆ ยังไม่จัดว่า เป็นสัมมาสติ ค่ะ
ไปต่อ ยังสัมมาสมาธิไม่ได้ค่ะ เพราะยังเป็นมิจฉาสติค่ะ

ที่สำคัญที่สุด ปริยัติ กับปฎิบัติต้องสอดคล้องกัน


ก็ลุงพูดดักคอไว้แล้ว ไม่เชื่อกันมั่งเบย

อ้างคำพูด:
อดไม่ได้ เลยนำหลักให้ดู แต่ถึงจะดูหลักแล้ว ตราบใดที่ยังไม่ลงมือทำลงมือภาวนาก็ดี ยังถกเถียงกันโดยไม่ลงมือทำก็ดี เสียเวลาปลูกผักปลูกหญ้าอยู่ตราบนั้น


ว่า ต้องลงมือทำๆๆๆๆๆ ตัวอย่างก็ยกมาให้ดูแบ้ว :b32: ไม่เชื่อ


s006 ?

ก้ทำแล้ว ไม่มีเจตสิก แบบเนี๊ยะ

เรยไม่ทำแบบลุงว่าไงค๊ะ


นู๋เมนี่อยู่ใกล้ๆจะตีให้หลังลาย อกุศลเจตสิกมีไหม อกุศลจิตมีไหม

เคยเห็นคนทะเลาะวิวาทตบตีกันไหม เคยเห็นคนฆ่าแกงกันไหม นั่นล่ะมันล่ะ คิกๆๆๆ

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 10 มี.ค. 2019, 13:00 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 11 มี.ค. 2018, 02:56
โพสต์: 2157

โฮมเพจ: maybe
แนวปฏิบัติ: สติปัฎฐาน
งานอดิเรก: กีฬา
สิ่งที่ชื่นชอบ: แบรนด์เเนม
ชื่อเล่น: เม
อายุ: 22
ที่อยู่: Bangkok Thailand

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
โลกสวย เขียน:
กรัชกาย เขียน:
สมถะ

สมถะ แปลง่ายๆว่า ความสงบ แต่ที่ใช้ทั่วไป หมายถึงวิธีทำใจให้สงบ

ขยายความว่า ได้แก่ ข้อปฏิบัติต่างๆ ในการฝึกอบรมจิตให้เกิดความสงบ จนตั้งมั่นเป็นสมาธิ ถึงขั้นได้ฌานระดับต่างๆ จุดมุ่งหมายของสมถะคือสมาธิ ซึ่งหมายเอาสมาธิขั้นสูงที่ทำให้เกิดฌาน

หลักการของสมถะ คือ กำหนดใจไว้กับสิ่งใดสิ่งหนึ่ง (เรียกว่า อารมณ์) ให้แน่วแน่จนจิตน้อมดิ่งอยู่ในสิ่งนั้นสิ่งเดียว (เรียกกันว่า จิตมีอารมณ์เป็นหนึ่ง หรือจิตมีอารมณ์อันเดียว) ความ แน่วแน่หรือตั้งมั่นของจิต นี้เรียกว่า "สมาธิ"

เมื่อสมาธิแนบสนิทเต็มที่แล้ว ก็จะเกิดภาวะจิตที่เรียกว่า ฌาน ซึ่งแบ่งเป็นระดับต่างๆ ระดับที่กำหนดเอารูปธรรมเป็นอารมณ์ เรียกว่า รูปฌาน หรือเรียกง่ายๆ ว่า ฌาน มี ๔ ขั้น ระดับที่กำหนดอรูปธรรมเป็นอารมณ์ เรียกว่า อรูปฌาน มี ๔ ขั้น ทั้งรูป ฌาน ๔ และอรูปฌาน ๔ เรียกรวมกันว่า สมาบัติ (๘)


s006 เอ่?

แวะมาดูแล้ว ยังไม่เห็นความสงบยังนั้นเรยค่ะ

เพราะว่า

สัมมาสมาธิ จะเกิดได้ ต้องมีสัมมาสติก่อน
ไม่ใช่ แค่การเอาสติไปจดจ่อกะอารมณ์ใด อารมณ์หนึ่ง
แล้วจะเป็นสัมมาสติ

แต่สัมมาสติจะต้องเกิดและเป็นไปพร้อมๆ
กับสัทธาเจตสิก
อโนตัปปะเจตสิก
อโลภะเจตสิก
ตัตรมัชฌัตตตาเจตสิก
และยุคลธรรมเจตสิก 12ดวง


จึงเป็นโสภณเจตสิก 18 ดวง และโสภณเจตสิก ดวงนี้เอง ที่ปรากฎ
เป็นอัญญมัญญปัจจัย ที่อาศัยซึ่งกันและกัน
และอาศัยสัญญาด้วย จึงมีปัญญาเห็นเป็นสัมมาสติ

ถ้าขาดตรงนี้ไป จะไป
การแค่จะไปใช้สติจดจ่อในอารณ์หนึงอารมณ์ใด ๆ ยังไม่จัดว่า เป็นสัมมาสติ ค่ะ
ไปต่อ ยังสัมมาสมาธิไม่ได้ค่ะ เพราะยังเป็นมิจฉาสติค่ะ

ที่สำคัญที่สุด ปริยัติ กับปฎิบัติต้องสอดคล้องกัน



ที่จำแนกแจกแจงเจตสิกนั่นนี่ มันเป็นสัมปยุตธรรมๆ ที่ดีเป็นกุศลมันก็เกิดร่วมกับกุศล ที่เป็นอกุศลก็เกิดร่วมกัน ท่านจึงเรียกสัมปยุตต์

ที่ว่าสัมมานั่น สัมมานี่ สัมมาสติ จริงๆก็เป็นสังขาร สติเป็นสังขารตัวหนึ่ง โยงไปที่สติปัฏฐานก็ได้ มันก็คือสติที่กำหนดฐานทั้ง ๔ ฐาน (กาย เวทนา จิต นิวรณ์ธรรม) เมื่อเราทำเรากำหนดตามฐานนั่นๆแล้ว ก็แปลว่า สติ สมาธิ ปัญญา เป็นต้น (สัมปยุตต์) มันทำหน้าที่ของมัน เขาไม่ใช่ให้ไปนั่งแยกอะไรอย่างนั้น

ถ้าพูดไปแล้วนะ การทดสอบอารมณ์ ก็คือดูว่า ผู้นั้นผู้นี้ผ่านอะไรยังไงมาบ้าง เขาก็ดูกันอย่างนี้แหละ


เอ่ s006

อ่า คุณลุงฉลาดจริงๆ

ก็ถูกแล้วหล่ะค่ะ จิต เจตสิก ปฎิบัติ ไม่ได้เรา ตัวตน ไปเป็นผู้ปฎิบัติ นี่น๊า


แล้วถ้า ทดสอบแบบตีหัวโป้ง เห็น เจตสิกเกิดพราวพราย ที่เกิดตรงๆเน้นๆ เฉพาะหน้าเรย เป็นปัจจุบัน
นี่แหละทดสอบได้ทั้งอารมณ์ และการปฎิบัติ ว่า
ปัจจุบัน ยังใช้ได้ป่าวคะ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 10 มี.ค. 2019, 13:09 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 11 มี.ค. 2018, 02:56
โพสต์: 2157

โฮมเพจ: maybe
แนวปฏิบัติ: สติปัฎฐาน
งานอดิเรก: กีฬา
สิ่งที่ชื่นชอบ: แบรนด์เเนม
ชื่อเล่น: เม
อายุ: 22
ที่อยู่: Bangkok Thailand

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
ผู้ที่ดูแต่ตำรา เช่น อ่านพระสูตรเป็นต้นมา พอมาเจอะแบบนี้เข้าไป บ้างก็ว่าไม่ใช่ ในตำราไม่มีพูดอย่างนี้ อะไรต่ออะไรก็ว่าไป อย่างเห็นๆ

อ้างคำพูด:
ทำสมาธิแล้วรู้สึกมีใครอยู่ข้างๆ

เหตุการณ์คือ พอผมนั่งสมาธิไปสักพักผมเริ่มได้ยินเสียงวิ้งๆๆ ในหู และรู้สึกว่ามีคนมานั่งข้างๆ กับยืนข้างหลัง ผมคิดไปเองหรือว่ามันมีอะไรครับ


นั่นทำให้เขารู้ว่า ผู้นั้นไม่เคยทำเคยฝึกจิตมาเบย สมมติว่าผู้เช่นนั้นไปทำไปฝึกดู เปิดตูดกลับบ้านดีกว่า ไม่เอาแล้ว ยิ่งไปพบกับความขี้เกียจความง่วงเหงาหาวนอนข้าไป นอนเลยขอรับท่าน :b1: แต่หารู้ไม่ว่า นั่นแหละอกุศลเจตสิก (สังขารฝ่ายร้าย) เล่นงานคุณเข้าให้แล้ว :b13:

s006 เอ?

นับว่าเป็นโชคดีแระน๊ะเนี่ย

พระอภิธรรมกล่าวว่า


อุกศลจิต ยังเป็นปัจจัยให้เกิดปัญญา เกิด กุศลจิตได้ ด้วยอำนาจอารัมมณปัจจัย
และปกตูปนิสสยปัจจัย

จะไปวิ่งหนีทำมายค๊ะ ?


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 10 มี.ค. 2019, 13:17 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


โลกสวย เขียน:
กรัชกาย เขียน:
โลกสวย เขียน:
กรัชกาย เขียน:
สมถะ

สมถะ แปลง่ายๆว่า ความสงบ แต่ที่ใช้ทั่วไป หมายถึงวิธีทำใจให้สงบ

ขยายความว่า ได้แก่ ข้อปฏิบัติต่างๆ ในการฝึกอบรมจิตให้เกิดความสงบ จนตั้งมั่นเป็นสมาธิ ถึงขั้นได้ฌานระดับต่างๆ จุดมุ่งหมายของสมถะคือสมาธิ ซึ่งหมายเอาสมาธิขั้นสูงที่ทำให้เกิดฌาน

หลักการของสมถะ คือ กำหนดใจไว้กับสิ่งใดสิ่งหนึ่ง (เรียกว่า อารมณ์) ให้แน่วแน่จนจิตน้อมดิ่งอยู่ในสิ่งนั้นสิ่งเดียว (เรียกกันว่า จิตมีอารมณ์เป็นหนึ่ง หรือจิตมีอารมณ์อันเดียว) ความ แน่วแน่หรือตั้งมั่นของจิต นี้เรียกว่า "สมาธิ"

เมื่อสมาธิแนบสนิทเต็มที่แล้ว ก็จะเกิดภาวะจิตที่เรียกว่า ฌาน ซึ่งแบ่งเป็นระดับต่างๆ ระดับที่กำหนดเอารูปธรรมเป็นอารมณ์ เรียกว่า รูปฌาน หรือเรียกง่ายๆ ว่า ฌาน มี ๔ ขั้น ระดับที่กำหนดอรูปธรรมเป็นอารมณ์ เรียกว่า อรูปฌาน มี ๔ ขั้น ทั้งรูป ฌาน ๔ และอรูปฌาน ๔ เรียกรวมกันว่า สมาบัติ (๘)


s006 เอ่?

แวะมาดูแล้ว ยังไม่เห็นความสงบยังนั้นเรยค่ะ

เพราะว่า

สัมมาสมาธิ จะเกิดได้ ต้องมีสัมมาสติก่อน
ไม่ใช่ แค่การเอาสติไปจดจ่อกะอารมณ์ใด อารมณ์หนึ่ง
แล้วจะเป็นสัมมาสติ

แต่สัมมาสติจะต้องเกิดและเป็นไปพร้อมๆ
กับสัทธาเจตสิก
อโนตัปปะเจตสิก
อโลภะเจตสิก
ตัตรมัชฌัตตตาเจตสิก
และยุคลธรรมเจตสิก 12ดวง


จึงเป็นโสภณเจตสิก 18 ดวง และโสภณเจตสิก ดวงนี้เอง ที่ปรากฎ
เป็นอัญญมัญญปัจจัย ที่อาศัยซึ่งกันและกัน
และอาศัยสัญญาด้วย จึงมีปัญญาเห็นเป็นสัมมาสติ

ถ้าขาดตรงนี้ไป จะไป
การแค่จะไปใช้สติจดจ่อในอารณ์หนึงอารมณ์ใด ๆ ยังไม่จัดว่า เป็นสัมมาสติ ค่ะ
ไปต่อ ยังสัมมาสมาธิไม่ได้ค่ะ เพราะยังเป็นมิจฉาสติค่ะ

ที่สำคัญที่สุด ปริยัติ กับปฎิบัติต้องสอดคล้องกัน



ที่จำแนกแจกแจงเจตสิกนั่นนี่ มันเป็นสัมปยุตธรรมๆ ที่ดีเป็นกุศลมันก็เกิดร่วมกับกุศล ที่เป็นอกุศลก็เกิดร่วมกัน ท่านจึงเรียกสัมปยุตต์

ที่ว่าสัมมานั่น สัมมานี่ สัมมาสติ จริงๆก็เป็นสังขาร สติเป็นสังขารตัวหนึ่ง โยงไปที่สติปัฏฐานก็ได้ มันก็คือสติที่กำหนดฐานทั้ง ๔ ฐาน (กาย เวทนา จิต นิวรณ์ธรรม) เมื่อเราทำเรากำหนดตามฐานนั่นๆแล้ว ก็แปลว่า สติ สมาธิ ปัญญา เป็นต้น (สัมปยุตต์) มันทำหน้าที่ของมัน เขาไม่ใช่ให้ไปนั่งแยกอะไรอย่างนั้น

ถ้าพูดไปแล้วนะ การทดสอบอารมณ์ ก็คือดูว่า ผู้นั้นผู้นี้ผ่านอะไรยังไงมาบ้าง เขาก็ดูกันอย่างนี้แหละ


เอ่ s006

อ่า คุณลุงฉลาดจริงๆ

ก็ถูกแล้วหล่ะค่ะ จิต เจตสิก ปฎิบัติ ไม่ได้เรา ตัวตน ไปเป็นผู้ปฎิบัติ นี่น๊า


แล้วถ้า ทดสอบแบบตีหัวโป้ง เห็น เจตสิกเกิดพราวพราย ที่เกิดตรงๆเน้นๆ เฉพาะหน้าเรย เป็นปัจจุบัน
นี่แหละทดสอบได้ทั้งอารมณ์ และการปฎิบัติ ว่า
ปัจจุบัน ยังใช้ได้ป่าวคะ


คนฆ่าเขานี่ ขณะนั้นเขาทำด้วยกุศลจิต หรืออกุศลจิต (ใส่เจตสิกเข้าไปด้วยนะ เพราะมันเกิดร่วมกัน)

รูปภาพ

พยาบาล รพ.ภาชีออกเวรเที่ยงคืน เช้าพบศพหมกเก๋ง

ฆ่าพยาบาล รพ.ภาชี อยุธยา วัย 49 ปี หมกเก๋ง ไม่ชัดสาเหตุ ขณะ CCTV บันทึกภาพชายท้วมลงจากรถ

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 10 มี.ค. 2019, 13:45 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


จะพูดไงดี เอายังงี้แล้วกัน คือ พวกเราเนี่ยนะ คิดว่า ขณะปฏิบัติธรรม (หลงยึดติดคำว่า ธรรม ว่าต้องดี ทีจริงมันมีทั้งกุศลธรรม, อกุศลธรรม กุศลจิต, อกุศลจิต) แล้วจะประสบพบทุ่งดอกทานตะวันเหลืองอร่ามงามตาท่าเดียว โดยลืมไปว่า จิตนั้นมีทั้งฝ่ายดี ฝ่ายร้าย ดีก็ดี ร้ายก็ร้าย กลางๆก็กลางๆ (ไม่ดีไม่ร้าย) เคยสังเกตไหมว่า จิตฝ่ายร้าย (อกุศลจิต) เหมือนมันมากกว่าฝ่ายดี (กุศลจิต) ซึ่งเจ้าของลืมคิดถึงข้อนี้ไป จะเอาแต่ดีฝ่ายเดียว
พอประสบกับจิตฝ่ายร้ายฝ่ายอกุศลเข้าไป ตัวไม่ยอมรับ เบือนหน้าหนีมัน คือ หนีความจริง (หลอกตัวเอง) ดังนั้น การปฏิบัติกรรมฐาน เป็นต้น จึงไปได้ไม่ถึงไหน พอไปๆๆๆ เจอะฤทธิ์เดชอกุศลจิต เช่น นิวรณ์ธรรมเข้าเท่านั้นแหละ เสร็จมัน ถอยดีกว่าไม่ไปต่อไม่ทำต่อแล้ว

พอได้พักสักหน่อย ก็รู้สึกอยากได้ธรรมขึ้นมาอีก รู้สึกดีคึกคักขึ้นมาอีก ปฏิบัติอีก ทำไปๆๆ พุทโธๆๆไป พองหนอ ยุบ หนอไป ไปเจอะกับมันตรงนั้นเข้าอีก ท้อถอยกลับหลังหันอีก ไม่สู้ วนอยู่ยังเงี้ยไม่ไปไหน


อ้างคำพูด:
ได้ยินเสียงด่าตัวเอง

นั่งสมาธินั่งดูลม แล้วมามองกระจกแบบใช้ตาเพ่ง. กระจกมันบิดไปบิดมา บางทีก็ได้ยินเสียงคนพูดถึงเรืองที่ผมคิด แต่มองไม่เห็นคน ตอนนี้เพี้ยนครับ อาการแบบนี้เขาเรียกจิตหลอกรึเปล่า ตอนนี้ลำบากมาก หนวกหูเสียงด่ามาเป็นอาทิตย์แล้วครับ ได้ยินเสียงความคิดของตัวเองอีก หนวกหูมาก พอจะมีวิธีแก้ใหมครับ.



เรื่องของธรรมะ ทั้งกุศลจิต อกุศลจิต กุศลธรรม อกุศลธรรม อัพพยากตธรรม มันก็อยู่ในคนนี่แหละ ดังตัวอย่างที่ยกมาให้ดู คคห.บน แต่นักธรรมะบ้านเรามองข้ามไปฉิบ

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 10 มี.ค. 2019, 17:01 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 11 มี.ค. 2018, 02:56
โพสต์: 2157

โฮมเพจ: maybe
แนวปฏิบัติ: สติปัฎฐาน
งานอดิเรก: กีฬา
สิ่งที่ชื่นชอบ: แบรนด์เเนม
ชื่อเล่น: เม
อายุ: 22
ที่อยู่: Bangkok Thailand

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
โลกสวย เขียน:
กรัชกาย เขียน:
โลกสวย เขียน:
กรัชกาย เขียน:
สมถะ

สมถะ แปลง่ายๆว่า ความสงบ แต่ที่ใช้ทั่วไป หมายถึงวิธีทำใจให้สงบ

ขยายความว่า ได้แก่ ข้อปฏิบัติต่างๆ ในการฝึกอบรมจิตให้เกิดความสงบ จนตั้งมั่นเป็นสมาธิ ถึงขั้นได้ฌานระดับต่างๆ จุดมุ่งหมายของสมถะคือสมาธิ ซึ่งหมายเอาสมาธิขั้นสูงที่ทำให้เกิดฌาน

หลักการของสมถะ คือ กำหนดใจไว้กับสิ่งใดสิ่งหนึ่ง (เรียกว่า อารมณ์) ให้แน่วแน่จนจิตน้อมดิ่งอยู่ในสิ่งนั้นสิ่งเดียว (เรียกกันว่า จิตมีอารมณ์เป็นหนึ่ง หรือจิตมีอารมณ์อันเดียว) ความ แน่วแน่หรือตั้งมั่นของจิต นี้เรียกว่า "สมาธิ"

เมื่อสมาธิแนบสนิทเต็มที่แล้ว ก็จะเกิดภาวะจิตที่เรียกว่า ฌาน ซึ่งแบ่งเป็นระดับต่างๆ ระดับที่กำหนดเอารูปธรรมเป็นอารมณ์ เรียกว่า รูปฌาน หรือเรียกง่ายๆ ว่า ฌาน มี ๔ ขั้น ระดับที่กำหนดอรูปธรรมเป็นอารมณ์ เรียกว่า อรูปฌาน มี ๔ ขั้น ทั้งรูป ฌาน ๔ และอรูปฌาน ๔ เรียกรวมกันว่า สมาบัติ (๘)


s006 เอ่?

แวะมาดูแล้ว ยังไม่เห็นความสงบยังนั้นเรยค่ะ

เพราะว่า

สัมมาสมาธิ จะเกิดได้ ต้องมีสัมมาสติก่อน
ไม่ใช่ แค่การเอาสติไปจดจ่อกะอารมณ์ใด อารมณ์หนึ่ง
แล้วจะเป็นสัมมาสติ

แต่สัมมาสติจะต้องเกิดและเป็นไปพร้อมๆ
กับสัทธาเจตสิก
อโนตัปปะเจตสิก
อโลภะเจตสิก
ตัตรมัชฌัตตตาเจตสิก
และยุคลธรรมเจตสิก 12ดวง


จึงเป็นโสภณเจตสิก 18 ดวง และโสภณเจตสิก ดวงนี้เอง ที่ปรากฎ
เป็นอัญญมัญญปัจจัย ที่อาศัยซึ่งกันและกัน
และอาศัยสัญญาด้วย จึงมีปัญญาเห็นเป็นสัมมาสติ

ถ้าขาดตรงนี้ไป จะไป
การแค่จะไปใช้สติจดจ่อในอารณ์หนึงอารมณ์ใด ๆ ยังไม่จัดว่า เป็นสัมมาสติ ค่ะ
ไปต่อ ยังสัมมาสมาธิไม่ได้ค่ะ เพราะยังเป็นมิจฉาสติค่ะ

ที่สำคัญที่สุด ปริยัติ กับปฎิบัติต้องสอดคล้องกัน



ที่จำแนกแจกแจงเจตสิกนั่นนี่ มันเป็นสัมปยุตธรรมๆ ที่ดีเป็นกุศลมันก็เกิดร่วมกับกุศล ที่เป็นอกุศลก็เกิดร่วมกัน ท่านจึงเรียกสัมปยุตต์

ที่ว่าสัมมานั่น สัมมานี่ สัมมาสติ จริงๆก็เป็นสังขาร สติเป็นสังขารตัวหนึ่ง โยงไปที่สติปัฏฐานก็ได้ มันก็คือสติที่กำหนดฐานทั้ง ๔ ฐาน (กาย เวทนา จิต นิวรณ์ธรรม) เมื่อเราทำเรากำหนดตามฐานนั่นๆแล้ว ก็แปลว่า สติ สมาธิ ปัญญา เป็นต้น (สัมปยุตต์) มันทำหน้าที่ของมัน เขาไม่ใช่ให้ไปนั่งแยกอะไรอย่างนั้น

ถ้าพูดไปแล้วนะ การทดสอบอารมณ์ ก็คือดูว่า ผู้นั้นผู้นี้ผ่านอะไรยังไงมาบ้าง เขาก็ดูกันอย่างนี้แหละ


เอ่ s006

อ่า คุณลุงฉลาดจริงๆ

ก็ถูกแล้วหล่ะค่ะ จิต เจตสิก ปฎิบัติ ไม่ได้เรา ตัวตน ไปเป็นผู้ปฎิบัติ นี่น๊า


แล้วถ้า ทดสอบแบบตีหัวโป้ง เห็น เจตสิกเกิดพราวพราย ที่เกิดตรงๆเน้นๆ เฉพาะหน้าเรย เป็นปัจจุบัน
นี่แหละทดสอบได้ทั้งอารมณ์ และการปฎิบัติ ว่า
ปัจจุบัน ยังใช้ได้ป่าวคะ


คนฆ่าเขานี่ ขณะนั้นเขาทำด้วยกุศลจิต หรืออกุศลจิต (ใส่เจตสิกเข้าไปด้วยนะ เพราะมันเกิดร่วมกัน)

รูปภาพ

พยาบาล รพ.ภาชีออกเวรเที่ยงคืน เช้าพบศพหมกเก๋ง

ฆ่าพยาบาล รพ.ภาชี อยุธยา วัย 49 ปี หมกเก๋ง ไม่ชัดสาเหตุ ขณะ CCTV บันทึกภาพชายท้วมลงจากรถ


เอ่? s006

ไส่นาม รูป ไส่ปัจจัย ไส่เจตสิก แถมให้ลุงอีกน๊ะค๊ะ

เค้าทำจากปัจจัย เนาะ
นาม เจตสิก รูป เป็นปัจจัยแก่ จิต เนาะค๊ะ

555


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 10 มี.ค. 2019, 18:01 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 11 มี.ค. 2018, 02:56
โพสต์: 2157

โฮมเพจ: maybe
แนวปฏิบัติ: สติปัฎฐาน
งานอดิเรก: กีฬา
สิ่งที่ชื่นชอบ: แบรนด์เเนม
ชื่อเล่น: เม
อายุ: 22
ที่อยู่: Bangkok Thailand

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
กรัชกาย เขียน:
วิปัสสนา

วิปัสสนา แปลง่ายๆว่า การเห็นแจ้ง หรือ วิธีทำให้เกิดการเห็นแจ้ง หมายถึงข้อปฏิบัติต่างๆ ในการฝึกฝนอบรมปัญญาให้เกิดความเห็นแจ้งรู้ชัดสิ่งทั้งหลายตรงต่อสภาวะของมัน คือให้เข้าใจตามความเป็นจริง หรือ ตามที่สิ่งเหล่านั้น มันเป็นของมันเอง (ไม่ใช่เห็นไปตามที่เราวาดภาพให้มันเป็น ด้วยความชอบ ความชัง ความอยากได้ หรือความขัดใจของเรา) รู้แจ้งชัดเข้าใจจริง จนถอนความหลงผิด รู้ผิด และยึดติดในสิ่งทั้งหลายได้ ถึงขั้นเปลี่ยนท่าที่ต่อโลกและชีวิตใหม่ ทั้งท่าทีแห่งการมอง การรับรู้ การวางจิตใจ และความรู้สึกทั้งหลาย

ความรู้ความเข้าใจถูกต้อง ที่เกิดเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ในระหว่างการปฏิบัตินั้น เรียกว่า ญาณ มีหลายระดับ ญาณสำคัญในขั้นสุดท้ายเรียกว่า วิชชา เป็นภาวะตรงข้ามที่กำจัดอวิชชา คือ ความหลงผิด ไม่รู้แจ้ง ไม่รู้จริงให้หมดไป


ต่อ (แยกความหมาย ฌาน -ญาณ ออกจากกันให้ได้)


ภาวะจิตที่มีญาณ หรือ วิชชานั้น เป็นภาวะที่สุขสงบผ่องใส และเป็นอิสระ เพราะลอยตัวพ้นจากอำนาจครอบงำของกิเลส เช่น ความชอบความชัง ความติดใจ และความขัดใจ เป็นต้น
ไม่ถูกบังคับ หรือ ชักจูงโดยกิเลสเหล่านั้น ให้มองเห็น หรือ รับรู้สิ่งต่างๆ อย่างบิดเบือน จนพาความคิดและการกระทำที่ติดตามมา ให้เห็นเหเฉไป และไม่ต้องเจ็บปวด หรือ เร่าร้อน เพราะ ถูกบีบคั้น หรือ ต่อสู้กับ กิเลสเหล่านั้น

ญาณและวิชชา จึงเป็นจุดมุ่งของวิปัสสนา เพราะนำไปสู่วิมุตติ คือ ความหลุดพ้นเป็นอิสระที่แท้จริง ซึ่งยั่งยืนถาวร (ท่านเรียกว่า สมุจเฉทนิโรธ หรือ สมุจเฉทวิมุตติ แปลว่า ดับกิเลส หรือ หลุดพ้นโดยเด็ดขาด)

ถ้าพูดอย่างรวบรัด ก็ว่า ผลที่มุ่งหมายของสมถะ คือ ฌาน ผลที่มุ่งหมายของวิปัสสนา คือ ญาณ หรือ ว่า สมถะนำไปสู่ฌาน* วิปัสสนานำไปสู่ญาณ


ที่อ้างอิง *

*ที่พูดว่า สมถะอาจให้ได้อภิญญา ๕ ซึ่งได้แก่ญาณต่างๆพวกหนึ่งนั้น ความจริงก็ต้องให้ได้ฌานก่อนแล้วจึงน้อมจิตที่เป็นสมาธิพร้อมดี ด้วยกำลังฌานนั้นไปเพื่อได้ญาณจำพวกอภิญญาอีกต่อหนึ่ง
ถ้าพูดให้เคร่งครัด จึงต้องว่า สมถะ (ล้วนๆ) จบหรือสิ้นสุดลงเพียงแค่ ฌาน (คือไม่เกินเนวสัญญานาสัญญายตนฌาน ดู วิสุทธิ. ฎีกา 3/647-8)






*ที่พูดว่า สมถะอาจให้ได้อภิญญา ๕ ซึ่งได้แก่ญาณต่างๆพวกหนึ่งนั้น ความจริงก็ต้องให้ได้ฌานก่อนแล้วจึงน้อมจิตที่เป็นสมาธิพร้อมดี ด้วยกำลังฌานนั้นไปเพื่อได้ญาณจำพวกอภิญญาอีกต่อหนึ่ง
ถ้าพูดให้เคร่งครัด จึงต้องว่า สมถะ (ล้วนๆ) จบหรือสิ้นสุดลงเพียงแค่ ฌาน (คือไม่เกินเนวสัญญานาสัญญายตนฌาน ดู วิสุทธิ. ฎีกา 3/647-8)

s006 เอ่?
พระไตรปิฎก มีอีกทั้ง และฎีกา อนุฎีกา ปกรณ์ ต่างๆ ด้วย
เหรอเนี่ย
ถ้าไม่ได้เรียนพระธรรมพระอภิธรรม มา คงเข้าใจผิดแล้วเนาะ
คิดว่าพระไตรแิฎก มีแต่ พระสูตร

โชคดีน๊ะเนียที่เม ไปเห็นมาแล้ว
เรย รู้ว่า สมถะจบ สิ้นสุดตรงไหน
เรยรู้ว่า วิปัสสนา ไม่ต้องเจริญ ฌาน

tongue


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 10 มี.ค. 2019, 18:29 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 11 มี.ค. 2018, 02:56
โพสต์: 2157

โฮมเพจ: maybe
แนวปฏิบัติ: สติปัฎฐาน
งานอดิเรก: กีฬา
สิ่งที่ชื่นชอบ: แบรนด์เเนม
ชื่อเล่น: เม
อายุ: 22
ที่อยู่: Bangkok Thailand

 ข้อมูลส่วนตัว


s006 เอ่?

อภิญญาวิถีจิต 1 ขณะ หรืออภิญญาวิถีจิต

มีองค์ธรรม
คือ รูปปัญจมฌานกุศลจิต 1ดวงและ เจตสิก 30 ดวง
คือ รูปปัญจมฌานกริยาจิต 1ดวงและเจตสิก 30 ดวง
หละป่าวค๊ะ คุณลุง

ถ้าไม่ใช่ จะเป้น อภิญญาวิถีจิตได้ป่าวค๊ะ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 10 มี.ค. 2019, 18:35 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


โลกสวย เขียน:
กรัชกาย เขียน:
โลกสวย เขียน:
กรัชกาย เขียน:
โลกสวย เขียน:
กรัชกาย เขียน:
สมถะ

สมถะ แปลง่ายๆว่า ความสงบ แต่ที่ใช้ทั่วไป หมายถึงวิธีทำใจให้สงบ

ขยายความว่า ได้แก่ ข้อปฏิบัติต่างๆ ในการฝึกอบรมจิตให้เกิดความสงบ จนตั้งมั่นเป็นสมาธิ ถึงขั้นได้ฌานระดับต่างๆ จุดมุ่งหมายของสมถะคือสมาธิ ซึ่งหมายเอาสมาธิขั้นสูงที่ทำให้เกิดฌาน

หลักการของสมถะ คือ กำหนดใจไว้กับสิ่งใดสิ่งหนึ่ง (เรียกว่า อารมณ์) ให้แน่วแน่จนจิตน้อมดิ่งอยู่ในสิ่งนั้นสิ่งเดียว (เรียกกันว่า จิตมีอารมณ์เป็นหนึ่ง หรือจิตมีอารมณ์อันเดียว) ความ แน่วแน่หรือตั้งมั่นของจิต นี้เรียกว่า "สมาธิ"

เมื่อสมาธิแนบสนิทเต็มที่แล้ว ก็จะเกิดภาวะจิตที่เรียกว่า ฌาน ซึ่งแบ่งเป็นระดับต่างๆ ระดับที่กำหนดเอารูปธรรมเป็นอารมณ์ เรียกว่า รูปฌาน หรือเรียกง่ายๆ ว่า ฌาน มี ๔ ขั้น ระดับที่กำหนดอรูปธรรมเป็นอารมณ์ เรียกว่า อรูปฌาน มี ๔ ขั้น ทั้งรูป ฌาน ๔ และอรูปฌาน ๔ เรียกรวมกันว่า สมาบัติ (๘)


s006 เอ่?

แวะมาดูแล้ว ยังไม่เห็นความสงบยังนั้นเรยค่ะ

เพราะว่า

สัมมาสมาธิ จะเกิดได้ ต้องมีสัมมาสติก่อน
ไม่ใช่ แค่การเอาสติไปจดจ่อกะอารมณ์ใด อารมณ์หนึ่ง
แล้วจะเป็นสัมมาสติ

แต่สัมมาสติจะต้องเกิดและเป็นไปพร้อมๆ
กับสัทธาเจตสิก
อโนตัปปะเจตสิก
อโลภะเจตสิก
ตัตรมัชฌัตตตาเจตสิก
และยุคลธรรมเจตสิก 12ดวง


จึงเป็นโสภณเจตสิก 18 ดวง และโสภณเจตสิก ดวงนี้เอง ที่ปรากฎ
เป็นอัญญมัญญปัจจัย ที่อาศัยซึ่งกันและกัน
และอาศัยสัญญาด้วย จึงมีปัญญาเห็นเป็นสัมมาสติ

ถ้าขาดตรงนี้ไป จะไป
การแค่จะไปใช้สติจดจ่อในอารณ์หนึงอารมณ์ใด ๆ ยังไม่จัดว่า เป็นสัมมาสติ ค่ะ
ไปต่อ ยังสัมมาสมาธิไม่ได้ค่ะ เพราะยังเป็นมิจฉาสติค่ะ

ที่สำคัญที่สุด ปริยัติ กับปฎิบัติต้องสอดคล้องกัน



ที่จำแนกแจกแจงเจตสิกนั่นนี่ มันเป็นสัมปยุตธรรมๆ ที่ดีเป็นกุศลมันก็เกิดร่วมกับกุศล ที่เป็นอกุศลก็เกิดร่วมกัน ท่านจึงเรียกสัมปยุตต์

ที่ว่าสัมมานั่น สัมมานี่ สัมมาสติ จริงๆก็เป็นสังขาร สติเป็นสังขารตัวหนึ่ง โยงไปที่สติปัฏฐานก็ได้ มันก็คือสติที่กำหนดฐานทั้ง ๔ ฐาน (กาย เวทนา จิต นิวรณ์ธรรม) เมื่อเราทำเรากำหนดตามฐานนั่นๆแล้ว ก็แปลว่า สติ สมาธิ ปัญญา เป็นต้น (สัมปยุตต์) มันทำหน้าที่ของมัน เขาไม่ใช่ให้ไปนั่งแยกอะไรอย่างนั้น

ถ้าพูดไปแล้วนะ การทดสอบอารมณ์ ก็คือดูว่า ผู้นั้นผู้นี้ผ่านอะไรยังไงมาบ้าง เขาก็ดูกันอย่างนี้แหละ


เอ่ s006

อ่า คุณลุงฉลาดจริงๆ

ก็ถูกแล้วหล่ะค่ะ จิต เจตสิก ปฎิบัติ ไม่ได้เรา ตัวตน ไปเป็นผู้ปฎิบัติ นี่น๊า


แล้วถ้า ทดสอบแบบตีหัวโป้ง เห็น เจตสิกเกิดพราวพราย ที่เกิดตรงๆเน้นๆ เฉพาะหน้าเรย เป็นปัจจุบัน
นี่แหละทดสอบได้ทั้งอารมณ์ และการปฎิบัติ ว่า
ปัจจุบัน ยังใช้ได้ป่าวคะ


คนฆ่าเขานี่ ขณะนั้นเขาทำด้วยกุศลจิต หรืออกุศลจิต (ใส่เจตสิกเข้าไปด้วยนะ เพราะมันเกิดร่วมกัน)

รูปภาพ

พยาบาล รพ.ภาชีออกเวรเที่ยงคืน เช้าพบศพหมกเก๋ง

ฆ่าพยาบาล รพ.ภาชี อยุธยา วัย 49 ปี หมกเก๋ง ไม่ชัดสาเหตุ ขณะ CCTV บันทึกภาพชายท้วมลงจากรถ


เอ่? s006

ไส่นาม รูป ไส่ปัจจัย ไส่เจตสิก แถมให้ลุงอีกน๊ะค๊ะ

เค้าทำจากปัจจัย เนาะ
นาม เจตสิก รูป เป็นปัจจัยแก่ จิต เนาะค๊ะ

555


นักอภิธรรมเรื่องมากเนาะคับ ก็คนฆ่าคนตายมันก็มีเหตุปัจจัยให้เขาทำแหละ

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 10 มี.ค. 2019, 18:39 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


เห็นพูดแต่สังขารฝ่ายดี ยังสุดโต่งไปด้านเดียว จึงแนะนำให้รู้จักสังขารฝ่ายร้ายด้วย จึงจะเห็นทั้งคุณและโทษของมัน อ้าวดู

๔. สังขาร ตามหลักอภิธรรม แบ่งเจตสิกเป็น ๕๒ อย่าง
ถ้าเทียบกับการแบ่งแบบขันธ์ ๕ เจตสิกก็ได้แก่ เวทนา สัญญา และสังขารทั้งหมด คือ ในจำนวนเจตสิก ๕๒ นั้น เป็นเวทนา ๑ เป็นสัญญา ๑ ที่เหลืออีก ๕๐ อย่าง เป็นสังขารทั้งสิ้น
สังขารขันธ์ จึงเท่ากับเจตสิก ๕๐ อย่าง ซึ่งแยกย่อยได้ ดังนี้

๑) อัญญสมานเจตสิก (เจตสิกที่เข้าได้ทั้งฝ่ายดี ฝ่ายชั่ว) ๑๑ (นับครบมี ๑๓ เพราะเวทนา และสัญญาเป็นเจตสิกหมวดนี้ แต่ไม่เป็นสังขาร จึงตัดออกไป ) คือ

(๑) สัพพจิตตสาธารณเจตสิก (เจตสิกที่เกิดกับจิตทุกดวง) ๕ คือ ผัสสะ เจตนา เอกัคคตา (สมาธิ) ชีวิตินทรีย์ มนสิการ (จำนวนเดิม มี ๗ ทั้งเวทนา กับ สัญญา)

(๒) ปกิณณกเจตสิก (เกิดกับจิตได้ทั่วๆไป ทั้งดีฝ่ายชั่ว แต่ไม่ตายตัว) ๖ คือ วิตก วิจาร อธิโมกข์ (ความปักใจ) วิริยะ ปีติ ฉันทะ

๒) อกุศลเจตสิก (เจตสิกที่เป็นอกุศล) ๑๔ คือ

(๑) อกุศลสาธารณเจตสิก (เกิดกับจิตที่เป็นอกุศลทุกดวง) ๔ คือ โลภะ อหิริกะ อโนตตัปปะ และอุทธัจจะ

(๒) ปกิณณกอกุศลเจตสิก (เกิดกับจิตที่เป็นอกุศล แต่ไม่ตายตัวทุกครั้ง) ๑๐ คือ โลภะ ทิฏฐิ มานะ โทสะ อิสสา มัจฉริยะ กุกกุจจะ ถีนะ มิทธะ และวิจิกิจฉา

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 10 มี.ค. 2019, 18:54 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


ขณะนั่งสำรวจตนเอง อกุศลใดมีและเกิดขึ้นก็ยอมรับมันตามเป็นจริง ไม่เลี่ยงหลบ แต่หาทางแก้ไข

รูปภาพ


แบบนี้เรียกฝึกหัดพัฒนาตน

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 10 มี.ค. 2019, 19:32 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 11 มี.ค. 2018, 02:56
โพสต์: 2157

โฮมเพจ: maybe
แนวปฏิบัติ: สติปัฎฐาน
งานอดิเรก: กีฬา
สิ่งที่ชื่นชอบ: แบรนด์เเนม
ชื่อเล่น: เม
อายุ: 22
ที่อยู่: Bangkok Thailand

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
โลกสวย เขียน:
กรัชกาย เขียน:
โลกสวย เขียน:
กรัชกาย เขียน:
โลกสวย เขียน:
กรัชกาย เขียน:
สมถะ

สมถะ แปลง่ายๆว่า ความสงบ แต่ที่ใช้ทั่วไป หมายถึงวิธีทำใจให้สงบ

ขยายความว่า ได้แก่ ข้อปฏิบัติต่างๆ ในการฝึกอบรมจิตให้เกิดความสงบ จนตั้งมั่นเป็นสมาธิ ถึงขั้นได้ฌานระดับต่างๆ จุดมุ่งหมายของสมถะคือสมาธิ ซึ่งหมายเอาสมาธิขั้นสูงที่ทำให้เกิดฌาน

หลักการของสมถะ คือ กำหนดใจไว้กับสิ่งใดสิ่งหนึ่ง (เรียกว่า อารมณ์) ให้แน่วแน่จนจิตน้อมดิ่งอยู่ในสิ่งนั้นสิ่งเดียว (เรียกกันว่า จิตมีอารมณ์เป็นหนึ่ง หรือจิตมีอารมณ์อันเดียว) ความ แน่วแน่หรือตั้งมั่นของจิต นี้เรียกว่า "สมาธิ"

เมื่อสมาธิแนบสนิทเต็มที่แล้ว ก็จะเกิดภาวะจิตที่เรียกว่า ฌาน ซึ่งแบ่งเป็นระดับต่างๆ ระดับที่กำหนดเอารูปธรรมเป็นอารมณ์ เรียกว่า รูปฌาน หรือเรียกง่ายๆ ว่า ฌาน มี ๔ ขั้น ระดับที่กำหนดอรูปธรรมเป็นอารมณ์ เรียกว่า อรูปฌาน มี ๔ ขั้น ทั้งรูป ฌาน ๔ และอรูปฌาน ๔ เรียกรวมกันว่า สมาบัติ (๘)


s006 เอ่?

แวะมาดูแล้ว ยังไม่เห็นความสงบยังนั้นเรยค่ะ

เพราะว่า

สัมมาสมาธิ จะเกิดได้ ต้องมีสัมมาสติก่อน
ไม่ใช่ แค่การเอาสติไปจดจ่อกะอารมณ์ใด อารมณ์หนึ่ง
แล้วจะเป็นสัมมาสติ

แต่สัมมาสติจะต้องเกิดและเป็นไปพร้อมๆ
กับสัทธาเจตสิก
อโนตัปปะเจตสิก
อโลภะเจตสิก
ตัตรมัชฌัตตตาเจตสิก
และยุคลธรรมเจตสิก 12ดวง


จึงเป็นโสภณเจตสิก 18 ดวง และโสภณเจตสิก ดวงนี้เอง ที่ปรากฎ
เป็นอัญญมัญญปัจจัย ที่อาศัยซึ่งกันและกัน
และอาศัยสัญญาด้วย จึงมีปัญญาเห็นเป็นสัมมาสติ

ถ้าขาดตรงนี้ไป จะไป
การแค่จะไปใช้สติจดจ่อในอารณ์หนึงอารมณ์ใด ๆ ยังไม่จัดว่า เป็นสัมมาสติ ค่ะ
ไปต่อ ยังสัมมาสมาธิไม่ได้ค่ะ เพราะยังเป็นมิจฉาสติค่ะ

ที่สำคัญที่สุด ปริยัติ กับปฎิบัติต้องสอดคล้องกัน



ที่จำแนกแจกแจงเจตสิกนั่นนี่ มันเป็นสัมปยุตธรรมๆ ที่ดีเป็นกุศลมันก็เกิดร่วมกับกุศล ที่เป็นอกุศลก็เกิดร่วมกัน ท่านจึงเรียกสัมปยุตต์

ที่ว่าสัมมานั่น สัมมานี่ สัมมาสติ จริงๆก็เป็นสังขาร สติเป็นสังขารตัวหนึ่ง โยงไปที่สติปัฏฐานก็ได้ มันก็คือสติที่กำหนดฐานทั้ง ๔ ฐาน (กาย เวทนา จิต นิวรณ์ธรรม) เมื่อเราทำเรากำหนดตามฐานนั่นๆแล้ว ก็แปลว่า สติ สมาธิ ปัญญา เป็นต้น (สัมปยุตต์) มันทำหน้าที่ของมัน เขาไม่ใช่ให้ไปนั่งแยกอะไรอย่างนั้น

ถ้าพูดไปแล้วนะ การทดสอบอารมณ์ ก็คือดูว่า ผู้นั้นผู้นี้ผ่านอะไรยังไงมาบ้าง เขาก็ดูกันอย่างนี้แหละ


เอ่ s006

อ่า คุณลุงฉลาดจริงๆ

ก็ถูกแล้วหล่ะค่ะ จิต เจตสิก ปฎิบัติ ไม่ได้เรา ตัวตน ไปเป็นผู้ปฎิบัติ นี่น๊า


แล้วถ้า ทดสอบแบบตีหัวโป้ง เห็น เจตสิกเกิดพราวพราย ที่เกิดตรงๆเน้นๆ เฉพาะหน้าเรย เป็นปัจจุบัน
นี่แหละทดสอบได้ทั้งอารมณ์ และการปฎิบัติ ว่า
ปัจจุบัน ยังใช้ได้ป่าวคะ


คนฆ่าเขานี่ ขณะนั้นเขาทำด้วยกุศลจิต หรืออกุศลจิต (ใส่เจตสิกเข้าไปด้วยนะ เพราะมันเกิดร่วมกัน)

รูปภาพ

พยาบาล รพ.ภาชีออกเวรเที่ยงคืน เช้าพบศพหมกเก๋ง

ฆ่าพยาบาล รพ.ภาชี อยุธยา วัย 49 ปี หมกเก๋ง ไม่ชัดสาเหตุ ขณะ CCTV บันทึกภาพชายท้วมลงจากรถ


เอ่? s006

ไส่นาม รูป ไส่ปัจจัย ไส่เจตสิก แถมให้ลุงอีกน๊ะค๊ะ

เค้าทำจากปัจจัย เนาะ
นาม เจตสิก รูป เป็นปัจจัยแก่ จิต เนาะค๊ะ

555


นักอภิธรรมเรื่องมากเนาะคับ ก็คนฆ่าคนตายมันก็มีเหตุปัจจัยให้เขาทำแหละ


คริคริ

หนูเตรียมพร้อมไว้ก่อน เดี่ยวตามกระทู้โลกุตระ ไปวิปัสสนา ไปไม่ได้ อ่ะค๊ะ

tongue


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 10 มี.ค. 2019, 22:18 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 11 มี.ค. 2018, 02:56
โพสต์: 2157

โฮมเพจ: maybe
แนวปฏิบัติ: สติปัฎฐาน
งานอดิเรก: กีฬา
สิ่งที่ชื่นชอบ: แบรนด์เเนม
ชื่อเล่น: เม
อายุ: 22
ที่อยู่: Bangkok Thailand

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
เห็นพูดแต่สังขารฝ่ายดี ยังสุดโต่งไปด้านเดียว จึงแนะนำให้รู้จักสังขารฝ่ายร้ายด้วย จึงจะเห็นทั้งคุณและโทษของมัน อ้าวดู

๔. สังขาร ตามหลักอภิธรรม แบ่งเจตสิกเป็น ๕๒ อย่าง
ถ้าเทียบกับการแบ่งแบบขันธ์ ๕ เจตสิกก็ได้แก่ เวทนา สัญญา และสังขารทั้งหมด คือ ในจำนวนเจตสิก ๕๒ นั้น เป็นเวทนา ๑ เป็นสัญญา ๑ ที่เหลืออีก ๕๐ อย่าง เป็นสังขารทั้งสิ้น
สังขารขันธ์ จึงเท่ากับเจตสิก ๕๐ อย่าง ซึ่งแยกย่อยได้ ดังนี้

๑) อัญญสมานเจตสิก (เจตสิกที่เข้าได้ทั้งฝ่ายดี ฝ่ายชั่ว) ๑๑ (นับครบมี ๑๓ เพราะเวทนา และสัญญาเป็นเจตสิกหมวดนี้ แต่ไม่เป็นสังขาร จึงตัดออกไป ) คือ

(๑) สัพพจิตตสาธารณเจตสิก (เจตสิกที่เกิดกับจิตทุกดวง) ๕ คือ ผัสสะ เจตนา เอกัคคตา (สมาธิ) ชีวิตินทรีย์ มนสิการ (จำนวนเดิม มี ๗ ทั้งเวทนา กับ สัญญา)

(๒) ปกิณณกเจตสิก (เกิดกับจิตได้ทั่วๆไป ทั้งดีฝ่ายชั่ว แต่ไม่ตายตัว) ๖ คือ วิตก วิจาร อธิโมกข์ (ความปักใจ) วิริยะ ปีติ ฉันทะ

๒) อกุศลเจตสิก (เจตสิกที่เป็นอกุศล) ๑๔ คือ

(๑) อกุศลสาธารณเจตสิก (เกิดกับจิตที่เป็นอกุศลทุกดวง) ๔ คือ โลภะ อหิริกะ อโนตตัปปะ และอุทธัจจะ

(๒) ปกิณณกอกุศลเจตสิก (เกิดกับจิตที่เป็นอกุศล แต่ไม่ตายตัวทุกครั้ง) ๑๐ คือ โลภะ ทิฏฐิ มานะ โทสะ อิสสา มัจฉริยะ กุกกุจจะ ถีนะ มิทธะ และวิจิกิจฉา



s006 เอ่?

ครายพูดถึงสังขารอ่ะค๊ะ

นี่ๆลุงกรัชกายค๊ะ

แหม่ๆๆ คุณลุงกรัชกาย จะไปสุดโด่ง อีกด้านแระ

พระพุทธองค์สอนทางสายกลางน๊ะค๊ะ

พิณสามสายแบบนี้ ไม่ตึง ไม่หย่อน

ธรรมะฝ่ายกุศล คือ กุศลจิต 21 เจตสิก 38 ที่ประกอบกับ กุศลจิต 21
ธรรมะฝ่ายอกุศล คือ อกุศลจิต 12 เจตสิก 27 ที่ประกอบกับ อกุศลจิต 12
ธรรมะฝ่ายอัพพยากตะ คือ รุป 28 และ นิพพาน 2


smiley


แสดงโพสต์จาก:  เรียงตาม  
กลับไปยังกระทู้  [ 57 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1, 2, 3, 4  ต่อไป

เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


 ผู้ใช้งานขณะนี้

กำลังดูบอร์ดนี้: ไม่มีสมาชิก และ บุคคลทั่วไป 101 ท่าน


ท่าน ไม่สามารถ โพสต์กระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ตอบกระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แก้ไขโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ลบโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แนบไฟล์ในบอร์ดนี้ได้

ค้นหาสำหรับ:
ไปที่:  
Google
ทั่วไป เว็บธรรมจักร