วันเวลาปัจจุบัน 27 เม.ย. 2024, 10:00  



เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง




กลับไปยังกระทู้  [ 482 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1 ... 9, 10, 11, 12, 13, 14, 15 ... 33  ต่อไป  Bookmark and Share
เจ้าของ ข้อความ
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 24 ธ.ค. 2018, 23:12 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 11 ต.ค. 2010, 12:11
โพสต์: 5013


 ข้อมูลส่วนตัว


Rosarin เขียน:
eragon_joe เขียน:
Rosarin เขียน:
eragon_joe เขียน:
eragon_joe เขียน:
Rosarin เขียน:
eragon_joe เขียน:
แต่คุณรสก็ยังคงสนุกสนานอยู่กับการสำแดงตนในที่แห่งนี้

:b1:

เอกอนมองตาตัวเองไม่ออกหรือคะ
วิถีจิตของเห็นไม่มีคิดปนค่ะเอกอน
และวิถีจิตของจิตคิดนึกไม่เกิดพร้อมเห็น

เด่วนี้คิด+เห็นพร้อมกันได้ไหมมีข่องว่างคั่นด้วยค่ะ
เห็นเกิดตอนสว่าง ขณะคิดแยกจากเห็นแล้ว
ตาเอกอนคิดสว่างมากเลยมีตัวอักษรเยอะมากที่ก็อปแปะนั้นน่ะ

เพราะคิดไม่มีแสงเลยแล้วตอนนี้ก็กำลังมีความคิดเห็นผิดอยู่ค่ะตรงปัจจุบันขณะด้วยค่ะ
:b32: :b32:
โอ๊ยจะรู้สึกตัวตอนไหนคะตรงมากเลย555...ตาไม่บอดก็คิดให้ตรงทีละ1ทางสิกำลังคิดตอนมีแสงผิดไหม
:b32: :b32: :b32: :b32: :b32: :b32:

:b32: :b32: :b32:

อ๊บซ์ เห็นยัง ว่าเหมือนใคร

:b32: :b32: :b32:

อ๊บซ์ลองทายซิ ว่าใคร ... ติ๊กตอก ติ๊กตอก

:b32: :b32: :b32:

ตราบใดที่ไม่คิดเห็นตรงขณะถูกตามคำสอนอยู่ขณะนั้นแหละกำลังมีกิเลสอาสาวะคืออวิชชาเกิดแล้ว
เพราะตอนเห็นผลิตกิเลสดังนั้นถ้าฟังน้อยกว่าดูแปลว่าไม่มีปัญญาเกิดเพิ่มแปลว่ากิเลสเพิ่มมากกว่า
คิดออกไหมคะดูมากกว่าฟังเข้าใจถูกตามแปลว่าผลิตกิเลสใหม่มากกว่าเก่าอันเก่าไม่รู้ใหม่ที่ไม่รู้
ทับถมซ้ำเติมลงไปใหม่ตลอดเวลาแล้วปัญญาแทรกเกิดหลังเห็นดับตอนกำลังฟังเข้าใจยังล่ะคะ
:b32: :b32:


ไปศึกษาพระสูตรให้มากนะคะ

Quote Tipitaka:
๑๐. ปัจจัยสูตร

[๖๐] พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ ณ พระเชตวัน อารามของท่านอนาถ-
*บิณฑิกเศรษฐี เขตพระนครสาวัตถี ... พระผู้มีพระภาคได้ตรัสว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย
เราจักแสดงปฏิจจสมุปบาท และธรรมที่อาศัยกันเกิดขึ้นแก่พวกเธอ พวกเธอจงฟัง
ธรรมนั้น จงใส่ใจให้ดีเถิด เราจักกล่าว ภิกษุเหล่านั้นทูลรับพระผู้มีพระภาค
แล้ว ฯ
[๖๑] พระผู้มีพระภาคได้ตรัสว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็ปฏิจจสมุปบาท
เป็นไฉน ดูกรภิกษุทั้งหลาย เพราะชาติเป็นปัจจัย จึงมีชราและมรณะ พระตถาคต
ทั้งหลายเสด็จอุบัติขึ้นก็ตาม ไม่เสด็จอุบัติขึ้นก็ตาม ธาตุอันนั้น คือ ธัมมฐิติ ๑-
ธัมมนิยาม ๒- อิทัปปัจจัย ๓- ก็ยังดำรงอยู่ พระตถาคตย่อมตรัสรู้ ย่อมตรัสรู้ทั่วถึงซึ่ง
ธาตุอันนั้น ครั้นแล้ว ย่อมตรัสบอก ทรงแสดง บัญญัติ แต่งตั้ง เปิดเผย จำแนก
กระทำให้ตื้น และตรัสว่า ท่านทั้งหลายจงดู ดังนี้ เพราะชาติเป็นปัจจัย จึงมี
ชราและมรณะ ... เพราะภพเป็นปัจจัย จึงมีชาติ ... เพราะอุปาทานเป็นปัจจัย จึงมี
ภพ ... เพราะตัณหาเป็นปัจจัย จึงมีอุปาทาน ... เพราะเวทนาเป็นปัจจัย จึงมีตัณหา ...
เพราะผัสสะเป็นปัจจัย จึงมีเวทนา ... เพราะสฬายตนะเป็นปัจจัย จึงมีผัสสะ ...
เพราะนามรูปเป็นปัจจัย จึงมีสฬายตนะ ... เพราะวิญญาณเป็นปัจจัย จึงมีนาม
รูป ... เพราะสังขารเป็นปัจจัย จึงมีวิญญาณ ... เพราะอวิชชาเป็นปัจจัย จึงมี
สังขาร พระตถาคตทั้งหลายเสด็จอุบัติขึ้นก็ตาม ไม่เสด็จอุบัติขึ้นก็ตาม ธาตุอันนั้น
คือ ธัมมฐิติ ธัมมนิยาม อิทัปปัจจัย ก็ยังดำรงอยู่ พระตถาคตย่อมตรัสรู้ ย่อมตรัสรู้
ทั่วถึงซึ่งธาตุอันนั้น ครั้นแล้วย่อมตรัสบอก ทรงแสดง บัญญัติ แต่งตั้ง เปิดเผย
จำแนก กระทำให้ตื้น และตรัสว่า ท่านทั้งหลายจงดู ดังนี้ เพราะอวิชชาเป็นปัจจัย
จึงมีสังขาร ภิกษุทั้งหลาย ความจริงแท้ ความไม่คลาดเคลื่อน ความไม่เป็นอย่างอื่น
มูลเหตุอันแน่นอนในธาตุอันนั้น ดังพรรณนามาฉะนี้แล เราเรียกว่าปฏิจจสมุปบาท
[๖๒] ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็ธรรมที่อาศัยกันเกิดขึ้นเป็นไฉน ดูกรภิกษุ
ทั้งหลาย ชราและมรณะเป็นของไม่เที่ยง อันปัจจัยประชุมแต่ง อาศัยกันเกิดขึ้น
มีความสิ้นไป เสื่อมไป คลายไป ดับไปเป็นธรรมดา ชาติ ... ภพ ... อุปาทาน ...
ตัณหา ... เวทนา ... ผัสสะ ... สฬายตนะ ... นามรูป ... วิญญาณ ... สังขาร ...
อวิชชา เป็นของไม่เที่ยง อันปัจจัยประชุมแต่ง อาศัยกันเกิดขึ้น มีความสิ้นไป
เสื่อมไป คลายไป ดับไปเป็นธรรมดา ดูกรภิกษุทั้งหลาย เหล่านี้เรียกว่า
ธรรมอาศัยกันเกิดขึ้น ฯ
@๑. ความตั้งอยู่ตามธรรมดา ๒. ความแน่นอนของธรรมดา ๓. มูลเหตุอันแน่นอน
@ชิลเดอรส์
[๖๓] ดูกรภิกษุทั้งหลาย เมื่อใดแล อริยสาวกเห็นด้วยดีซึ่งปฏิจจสมุป-
*บาทนี้ และธรรมที่อาศัยกันเกิดขึ้นเหล่านี้ ด้วยปัญญาอันชอบตามเป็นจริงแล้ว
เมื่อนั้น อริยสาวกนั้นจักแล่นเข้าถึงที่สุดเบื้องต้นว่า ในอดีตกาลเราได้เป็นหรือหนอ
ในอดีตกาลเราได้เป็นอะไรหนอ ในอดีตกาลเราได้เป็นอย่างไรหนอ ในอดีตกาล
เราได้เป็นอะไร แล้วได้มาเป็นอะไรหนอ หรือว่าจักแล่นเข้าถึงที่สุดเบื้องปลายว่า
ในอนาคตกาลเราจักเป็นหรือหนอ ในอนาคตกาลเราจักเป็นอะไรหนอ ในอนาคต
กาลเราจักเป็นอย่างไรหนอ ในอนาคตกาลเราจักเป็นอะไร แล้วจึงจักเป็นอะไร
หนอ หรือว่าจักยังมีความสงสัยในปัจจุบันกาลเป็นภายใน ณ บัดนี้ว่า เราเป็น
อยู่หรือหนอ หรือไม่เป็นอยู่หนอ เราเป็นอะไรอยู่หนอ เราเป็นอย่างไรอยู่หนอ
สัตว์นี้มาแต่ไหนหนอ เขาจักไปในที่ไหน ดังนี้ ข้อนี้ มิใช่ฐานะที่จะมีได้ เพราะ
เหตุไร เพราะว่าอริยสาวกเห็นด้วยดีแล้วซึ่งปฏิจจสมุปบาท และธรรมที่อาศัย
กันเกิดขึ้นเหล่านี้ ด้วยปัญญาอันชอบตามเป็นจริง ฯ

ฟังบ้างเถอะนะคะจะได้รู้ตัวว่ามีกิเลสมากขนาดไหน
ปัญญาเกิดตามหลังเห็นตอนกำลังฟังเข้าใจเท่านั้นค่ะ
ที่เหลือก็คือมีมี๊มีแต่อยากไปทำกิเลสเพิ่มตามความคิดเห็นผิดไงคะ
:b32: :b32:
กิเลสมีในจิตแต่ปัญญาไม่มีในจิตค่ะต้องอาศัยเกิดปัญญาแรกตอนฟังรู้เรื่องบ้างไหมคะ
:b12:
https://youtu.be/S6JZoqfbM_s

ไม่ฟังหรอกค่ะ ไม่มีคุณค่าพอที่น้อมนำมาใช้
ยิ่งสนทนากับผู้ที่ฟังมากอย่างนี้ ยิ่งไม่คิดจะเฉียดไปแตะเลย

:b1:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 24 ธ.ค. 2018, 23:13 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 29 ต.ค. 2009, 15:06
โพสต์: 7502

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


Kiss
ทราบไหมคะว่าค่าฟังนั้นแพงมากเพราะ
เงินซื้อไม่ได้และเสียเวลาไปแล้วย้อนเวลากลับไปฟังไม่ได้
มีแต่ต้องกำลังเพียรอดทนฟังตรงปัจจุบันขณะตอนลืมตาตื่นรู้เพื่อตามรู้จักกิเลสตนเองค่ะ
:b17: :b17:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 24 ธ.ค. 2018, 23:15 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 11 ต.ค. 2010, 12:11
โพสต์: 5013


 ข้อมูลส่วนตัว


Rosarin เขียน:
Kiss
ทราบไหมคะว่าค่าฟังนั้นแพงมากเพราะ
เงินซื้อไม่ได้และเสียเวลาไปแล้วย้อนเวลากลับไปฟังไม่ได้
มีแต่ต้องกำลังเพียรอดทนฟังตรงปัจจุบันขณะตอนลืมตาตื่นรู้เพื่อตามรู้จักกิเลสตนเองค่ะ
:b17: :b17:

:b17: :b17: :b17:
เอาเถอะ ไม่ใช่เรื่องน่าเสียดายหรอก ที่ไม่ได้ฟัง
ไม่คิดจะฟังเลย ปล่อยให้ฟังกันอยู่ในวงแคบ ๆ นั่นล่ะ พอแล้ว
สนทนากันรู้เรื่องกันแค่ในกลุ่มอย่างนั้นพอแล้ว

:b16: :b16: :b16:


แก้ไขล่าสุดโดย eragon_joe เมื่อ 24 ธ.ค. 2018, 23:20, แก้ไขแล้ว 1 ครั้ง

โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 24 ธ.ค. 2018, 23:20 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 29 ต.ค. 2009, 15:06
โพสต์: 7502

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


eragon_joe เขียน:
Rosarin เขียน:
Kiss
ทราบไหมคะว่าค่าฟังนั้นแพงมากเพราะ
เงินซื้อไม่ได้และเสียเวลาไปแล้วย้อนเวลากลับไปฟังไม่ได้
มีแต่ต้องกำลังเพียรอดทนฟังตรงปัจจุบันขณะตอนลืมตาตื่นรู้เพื่อตามรู้จักกิเลสตนเองค่ะ
:b17: :b17:

:b17: :b17: :b17:

ไม่คิดจะฟังเลย

:b16: :b16: :b16:

นั่นแหละค่ะกำลังปิดกลั้นตนเอง
กำลังทำตัวเป็นน้ำล้นแก้วอยู่ค่ะ
มีแต่กิเลสตนทำร้ายจิตตนค่ะ
ไม่มีใครเลยสักคนมีแต่ธัมมะ
กำลังเกิดดับตามเหตุปัจจัย
ไม่มีใครเป็นเจ้าของธัมมะ
ดับหมดแล้วด้วยสายไปรึเปล่า
เกิดธัมมะใหม่ตลอดเวลาไม่รู้ตรงเลยสักทางเดียว
:b12:
:b32: :b32:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 24 ธ.ค. 2018, 23:27 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 11 ต.ค. 2010, 12:11
โพสต์: 5013


 ข้อมูลส่วนตัว


Rosarin เขียน:
eragon_joe เขียน:
Rosarin เขียน:
Kiss
ทราบไหมคะว่าค่าฟังนั้นแพงมากเพราะ
เงินซื้อไม่ได้และเสียเวลาไปแล้วย้อนเวลากลับไปฟังไม่ได้
มีแต่ต้องกำลังเพียรอดทนฟังตรงปัจจุบันขณะตอนลืมตาตื่นรู้เพื่อตามรู้จักกิเลสตนเองค่ะ
:b17: :b17:

:b17: :b17: :b17:

ไม่คิดจะฟังเลย

:b16: :b16: :b16:

นั่นแหละค่ะกำลังปิดกลั้นตนเอง
กำลังทำตัวเป็นน้ำล้นเกิดอยู่ค่ะ
มีแต่กิเลสตนทำร้ายจิตตนค่ะ
ไม่มีใครเลยสักคนมีแต่ธัมมะ
กำลังเกิดดับตามเหตุปัจจัย
ไม่มีใครเป็นเจ้าของธัมมะ
ดับหมดแล้วด้วยสายไปรึเปล่าเกิดธัมมะใหม่ตลอดเวลาไม่รู้ตรงเลยสักทาง
:b12:
:b32: :b32:

:b32: :b32: :b32:

มีการหยิบเอามุข "น้ำล้นแก้ว" มาใช้ด้วย

:b32: :b32: :b32:

บางครั้งมันไม่ได้เกี่ยวกับน้ำล้นนะคะ
บางคราวเราก็ต้องปิดประตูให้มิด เพื่อกันไม่ให้โจรเข้าบ้าน นะคะ
เวลาจะรับอะไรจากใคร ก็ต้องตรองดูให้ดี ๆ
เมื่อจะรับฟังอะไร ก็ต้องสอบทานดูแล้วว่าสิ่งนั้นลงได้กับพระธรรมคำสอนของพระพุทธองค์หรือไม่
ซึ่งถ้าทดสอบดูแล้ว ออกแนวธรรมแบบกองโจร ก็ยังจะทะลึ่งเปิดประตูรับโจรเข้าบ้านทำไม

กรณีชาเหยือกนี้ ถึงแก้วจะมีที่ให้ใส่ ก็ขอเอาแก้วหลบ ล่ะค่ะ

:b32: :b32: :b32:

ในยุคสมัยนี้ พระไตรปิฏกหาอ่านได้ไม่ยาก คลิปเสียงก็มีทำออกมามากมาย
คลิปเทศน์จากเกจิอาจารย์ที่ลูกศิษย์ทำออกมาก ก็มากมาย เข้าถึงได้ง่าย
ก็อยู่ที่ใครจะศรัทธาใคร
เมื่อเขาไม่ได้น้อมไปหา นั่นก็แสดงว่าเขาไม่ได้ศรัทธา เหตุผลตรง ๆ

ดังนั้น คนถ้าจะไม่ฟังคลิปที่คุณรสนำเสนอ นั่นเพราะเขาไม่มีความศรัทธา ค่ะ

ต่อให้แก้วยังว่างอยู่ เขาก็ว่างเพื่อน้อมไปยังแหล่งคำสอนที่เขาศรัทธา ค่ะ

:b1:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 25 ธ.ค. 2018, 00:16 
 
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 7
สมาชิก ระดับ 7
ลงทะเบียนเมื่อ: 14 ต.ค. 2018, 00:52
โพสต์: 512

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


ขี้เกียจพิมพ์ตอบคุณโรสแระ ให้ตายเขาก็ยึดกอดหนังสือตำราเอาไว้ไม่ปล่อยหรอก คนเราถ้าได้หลงยึดอุปาทานแล้ว มันไม่คลายง่ายๆหรอก สำคัญแค่คุณโรสเป็นคนดีได้ไหมแค่นั้นเอง หรือ วันๆก็ปรึกษาแต่ว่าวันนี้จะกัดใครยังไง :b32: :b32: :b32: ทางที่คนโรสเดิน ยังไงมันก็บ้าธรรมฟุ้งธรรม ไม่ใช่ฟุ้งฆ่าคน ฆ่าสัตว์ ลักทรัพย์ หื่นกามเป็นชู้ผัวเขา ลูกเขา หรือบ้ากินเหล้าแล้วทำสมาธิไม่ได้จึงมานั่งเพ่งๆมองๆเอา

มันความสุขของคุณโรส คนเราจะได้มากได้น้อยตามแต่การสะสมเหตุมาหลายภพชาติ ไม่ใช่แค่ชาตินี้ ให้แกสะสมไปเถอะ

สังเกตุดู การที่คุณโรสเอามาโพสท์ตอบ หรือพยายามจะบังคับสอนใครให้คิดตามแบบตน คุณโรสจะส่งมาให้เพียงสิ่งที่ท่องจำ ขณะจิตอย่างนั้นอย่างนี้เท่านั้น ไม่สามารถที่จะชักจูงคนให้เห็นตามได้ พระอภิธรรมจัดเป็นปัญญา สิ่งนี้เป็นสิ่งที่กล่าวไว้จำเพาะเพื่อให้เราปฏิบัติให้เห็นรู้จริงตาม ไม่ใช่สิ่งที่มีไว้ท่องจำโม้อวดกัน ผมเองก็จะมีใชอภิธรรมที่เป็นธรรมสูงบ้างไว้คุยกับคนต่างศาสนา หรือผู้ที่ยังไม่ศรัทธาที่เขาอ้างในส่วนของเขามาชีนำให้เขาเห็นตามแล้วศรัทธาในพระรัตนตรัย แต่ผมมีวิธีที่แสดงต่างจากคุณโรส ซึ่งสิ่งที่ผมกล่าวทำให้คนเขาน้อมมาปฏิบัติศรัทธาในพระพุทธศาสนาได้ ตามกำลังที่ผมเห็นและเข้าถึงได้อย่างปุถุชน ผมไม่เอาของจริงมาพร่ำเพ้อมั่ว มันไม่ศักดิ์สิทธิ์ มันจะเป็นของซื้อขายทั่วไปไม่มีราคา ดังเช่น

1. คุณโรสจะพูดชักจูงเพียงว่า ทีละขณะจิต พระพุทธเจ้า-ไม่สอนว่าเห็นคน สัตว์ สิ่ของ เห็นทีละสีดับทีละขณะคือความไม่มีตัวตน (ซึ่งไม่ใช่การแสดงธรรมโดยพิศดาริะไรแต่กล่าวได้แค่นั้น) เกินกว่าตำรานี้ไม่มีได้

----------------------------------------------

2. ส่วนการที่ผมเห็นจริงในส่วนของนักปฏิบัติอย่างผมที่พอจะมีปัญญา ผมจะชักจูงคนอื่นต่างจากคุณโรส โดยจะพูดจำเพาะที่ตนเห็นจริงได้ไม่กล่าวอ้างพระพุทธเจ้ามั่วๆ แต่จะบอกว่านี้คือผลจากการปฏิบัติตามพระพุทธศาสดาตรัสสอน เช่น..

- เวลาเราเห็นจริงนี้ มันเหมือนดูเป็นเม็ดสีจุดๆ เกิดดับๆ ด้วยอาการที่ยุบยิบๆ ระยิบ ระยับ กระพริบถี่ๆในแต่ละขณะผัสสะ (โดยไม่จำเป็นต้องกระพริบตาเลย) เป็นเม็ดสีเรียงขึ้นมีสันฐานต่างๆนาๆ วิญญาณธาตุรู้ผัสสะนี้สิ่งนี้ๆจากจักขุวิญญาณอันเป็นเหมือนปราการสังเกตุการณ์ประตูทางตา(วิญญาณ ๖ หรือ วิญญาณขันธ์ ในขันธ์ ๕ อันเป็นวิญญาณสังขารของวิญญาณธาตุ) แล้วก็ดับ ซึ่งขณะนี้เรายังไม่รู้ในสิ่งอันเป็นตัวตนบุคคลใด
- วิญญาณธาตุหมายรู้อารมณ์จากจักขุวิญญาณนั้น กระทำเจตนาเพื่อเข้าไปรู้ในสิ่งนั้น แล้วก็ดับ
- (ลัดย่อการทำงานของจิต เพราะทุกอย่างมันจะผัสสะซ้ำไปซ้ำมาในสิ่งต่างๆหลายรอบจนเข้ารู้สมมติและความรู้สึกนึกคิดจากสิ่งนั้น) สัญญาเกิดขึ้นในจดได้หมายรู้สิ่งที่รู้จากจักขุวิญญาณ สืบต่อสิ่งที่ตาเห็นในภายนอกนี้จึงเกิดขึ้นว่าเป็นตัวตน สีต่างๆ แสงต่างๆ คน สัตว์ สิ่งของ ความรู้สึกต่างๆโดยสัญญา ส่งมาให้วิญญาณธาตุรู้ แล้วก็ดับ
- (สิ่งต่างๆที่มองเห็นนั้นมันมีอยู่จริงโดยอาการที่แค่นแข็ง เอิบอาบ เคลื่อนไหว ตึง หย่อน ร้อนเย็น ช่องว่างที่กอปรรวมกัน เท่านั้น)
- ความรู้ทางตาเกิดขึ้นตามเหตุปัจจัยสัมผัส ดับไปเมื่อหมดเหตุปัจจัยสัมผัส คงมีแต่สัญญาที่คงเป็นสันฐานสิ่งนั้นสิ่งนี้ไว้เป็นสิ่งที่รักที่ชังเกิดขึ้นทางมโนวิญญาณ ส่งมาให้วิญญาณธาตุรู้อีกทีหนึ่ง

** จะเห็นได้ทันทีว่า ทุกๆขณะ จะส่งให้วิญญาณธาตุที่เข้ายึดครองขันธ์ ๕ นี้ให้รู้เสมอ อาศัยวิญญาณสังขารทางทวาร ๖ ถ้าไม่มี วิญญาณธาตุเข้ายึดครองรูปขันธ์ วิญญาณ ๖ ทางทวาร จะมีไม่ได้เลย ทำให้สมมตินี้ส่งต่อทับถมใจเราซ้ำๆไม่มีหยุด **

การเห็นทีละสี แท้จริงแล้วเป็นการโฟกัสจุด
- ซึ่งขณะใดขณะหนึ่งที่เราโฟกัสจุด คือ จับจุดสนใจ เจาะจงชัดแจ้ง เราจะคงเห็นได้เพียงที่ละส่วน ที่ละสี ตามระบบการทำงานของลูกตานี้ "จะปรับเลนส์ตาเพื่อจับจุุดคมชัด" ในการรับรู้สีและแสงกับปสาทสมองได้ทีละจุด วิญญาณขันธ์เป็นประสาทรับรู้การโฟกัสนั้น ส่งมาทางมโนให้จิต คือ วิญญาณธาตุนี้รู้ แล้วก็ดับไป ด้วยปรุงแต่งเวทนา สัญญา สังขาร(เป็นธัมมารมณ์)

คนที่เขาเห็นทางตา ต่อให้เป็นปุถุชน ต่อให้ยังไม่แจ้งชัด แต่ขณะใดที่จิตเป็นสมาธิตั้งมั่นอยู่โดยความไม่อุปาทานขันธ์ จิตเราจะทันการทำงานของขันธ์

- เมื่อตามองเห็น เราจะบังคับให้มันเห็นแต่สิ่งที่รักที่ชอบ ไม่เห็นสิ่งที่ชังก็ได้หรือไม่ ก็ไม่ได้ใช่ไหม่

- เมื่อตามองเห็นสิ่งที่เรารักเราชอบใจ เราจะบังคับสีนั้น, ภาพนั้น, สิ่งที่เห็นนั้นๆให้มันตั้งอยู่ตลอดไปได้หรือไม่ ก็ไม่ได้ มันย่อมตั้งอยู่ตามเหตุปัจจัยสัมผัส ดับไปหรือหายไปเมื่อเหตุปัจจัยสัมผัสนั้นดับลง ก็เมื่อตาเป็นของเราแล้ว..เราก็ย่อมบังคับมันให้เห็นให้เป็นไปดั่งใจได้สิ แต่เพราะตาไม่ใช่เรา เราไม่ใช่ตา ไม่มีเราในตา ในตาไม่มีเรา ตาไม่ใช่ของเรา เราจึงไม่อาจบังคับมันได้
- เมื่อตามองเห็นสิ่งที่ชัง เราจะบังคับสีนั้น, ภาพนั้น, สิ่งที่เห็นนั้นจงดับไปได้หรือไม่ มันก็ไม่ได้ มันจะยังคงอยู่ตามเหตุปัจจัยสัมผัส ดับไปหรือหายไปเมื่อหมดเหตุปัจจัยสัมผัส ก็เมื่อตาเป็นของเราแล้ว..เราก็ย่อมบังคับมันให้เห็นให้เป็นไปดั่งใจได้สิ แต่เพราะตาไม่ใช่เรา เราไม่ใช่ตา ไม่มีเราในตา ในตาไม่มีเรา ตาไม่ใช่ของเรา เราจึงไม่อาจบังคับมันได้

- นี่เรียกว่ามีตามันก็ต้องเห็นไปทั่ว ตามปรกติคนที่มีตาใช้งานก็ย่อมเห็น จะเข้าไปยึดรูปที่เห็น
.. ก็เมื่อรูปที่เห็นนั้นเป็นสีก็ดี เป็นคน สัตว์ สิ่งของต่างๆก็ดี ก็ถ้ามันเป็นสิ่งที่ยั่งยืนคงทนอยู่ได้นานแล้ว มันก็ย่อมไม่เป็นไปเพื่อความเสื่อมดับไป ย่อมตั้งอยู่ได้ยั่งยืนนาน แต่รูปที่เห็นนั้นมีความเสื่อมดับไปเป็นธรรมดา จะล่วงพ้นไปไม่ได้ ไม่คงทนอยู่ได้นานเลย
.. ก็เมื่อรูปที่เห็นนั้นจะเป็นสีก็ดี เป็นคน สัตว์ สิ่งของต่างๆก็ดี ก็ถ้ามันคือสิ่งที่ใจเราสามารถเข้ายึดครองเป็นตัวเป็นตนได้แล้ว เราก็ย่อมบังคับให้รูปที่เห็นด้วยตาต่างๆนั้นเป็นไปดั่งใจเราได้ จับยึด บังคับไปเป็นอย่าโน้นอย่างนี้ตามใจต้องการได้ บังคับให้รูปที่ชังจงหายไป บังคับให้รูปที่รักจงตั้งอยู่ได้ บังคับให้รูปที่เห็นภายนอกนั้นมีสันฐานรูปร่างในต่างๆนาๆตามต้องการได้ แต่เราไม่สามารถไปบังคับรูปที่เห็นภายนอกนั้นให้มันเป็นไปดั่งใจเราได้ ไม่ว่าจะเป็นสีใด รูปใด ภาพใด คนใด สัตว์ใด สิ่งใด ที่รู้ได้ด้วยตา
.. ก็แม้สิ่งภายนอกที่ตาเห็นนี้เป็นไปให้รู้สัมผัสเสียง สัมผัสรส สัมผัสกลิ่น สัมผัสกายจากมันได้ มันก็ไม่เป็นไปเพื่อให้เอาใจเข้ายึดครองไว้ได้ นั่นเพราะอะไร..นั่นก็เพราะเมื่อเราเอาใจเข้ายึดครองมันแล้ว มันก็ไม่เป็นไปเพื่อความเที่ยงแท้ คงทน ยั่งยืน อยู่ได้นาน, มันก็ไม่อยู่ภายใต้บังคับบัญชาของเราให้เป็นดั่งใจปารถนาต้องการใด
.. ด้วยเหตุดังนี้..มันย่อมยังความโหยหิวกระหายหมายใจปารถนาใคร่กระสันเสพย์ในสิ่งที่เห็น ให้เร่าร้อนกระวนกระวายกายใจเรายิ่งนัก, มันย่อมยังความผิดหวัง-ความไม่สมปารถนา-ปารถนาสิ่งใดไม่ได้สิ่งนั้นให้เกิดมีขึ้นแก่กายใจเรา มันย่อมยังความประสบสิ่งอันไม่เป็นที่รักที่เจริญใจให้แก่กายใจเรา, มันย่อมยังความพรัดพรากให้เกิดขึ้นแก่กายใจเรา ย่อมยังให้เราเกิดความโศกเศร้า ร่ำไรรำพัน ไม่สบายกาย ไม่สบายใจ อัดอั้น คับแค้นกายใจทั้งหลายให้แก่เรา เมื่อเอาใจเข้ายึดครองสิ่งที่รู้เห็นแล้วต้องพบเจอแบบนี้ๆอยู่ร่ำไปอย่างนี้มันเป็นสุขหรือเป็นทุกข์เล่า ย่อมเป็นทุกข์อย่างหาประมาณมิได้ ดังนั้นพึงละการเอาใจเข้ายึดครองรูปที่เห็นด้วยตานั้นเสีย ความยินดี ยินร้ายในรูปที่เห็นเด้วยตา เป็นทุกข์ ดังนี้

----------------------------------------------

- อนัตตาของคุณโรส คือ ไม่มีตัวตน สัตว์ใด บุคคลใด สิ่งใด ไม่มีอะไรในโลก มันเป็นการเห็นความสูญในโลกไปแล้ว

- อนัตตาของผม ที่ผมเห็นจริงๆจากการปฏิบัติ คือ ทุกอย่างมันมีอยู่ตามธรรมชาติปรกติของมันตามสังขารโลก มันมีอยู่ทั่วไปทุกหนแห่งทุกที่ตามปรกติ ..แต่ความรู้ในใจเรา คือ ทุกอย่างนั้นมันว่างโล่งทั้งๆที่สิ่งต่างๆมันมีอยู่ของมันทั่วไป แต่มันไม่เห็นจะมีสิ่งใดๆให้ใจเราเข้ายึดครองว่าเป็นตัวตนสิ่งใดๆได้ สังขารโลกมันมีอยู่ของมัน มีรูปร่างสันฐานต่างๆ ทั่วไป จะไปในที่ใดเห็นสิ่งใด ก็ล้วนเป็นของที่ว่างโล่งไปหมดทั้งๆที่ทุกอย่างมันก็มีอยู่ของมันอย่างนั้น แต่ใจเราไม่เห็นว่าเราจะเข้ายึดครองได้ว่าสิ่งที่เรารู้เห็นได้นั้นเป็นสิ่งใด สิ่งนี้คืออนัตตาของผมจากการปฏิบัติให้เข้าถึงได้ จิตมันเบาสบายแช่มชื่นไม่มีอะไรปะปนทั้งปวงนั้นเพราะมีโอกาสได้รับรู้สัมผัสเท่าที่ปุถุชนอย่างผมมีปัญญาจะเข้าถึงได้ในการเห็นกายในกาย เห็นเวทนาในเวลา เห็นจิตในจิต เห็นธรรมในธรรม

----------------------------------------------

- สิ่งที่ผมเห็นนี้แค่ของปุถุชนแค่เศษฝุ่นพระอริยะ และเศษของเศษฝุ่นของพระพุทธศาสดา มันยังดูจากการการที่รู้แค่ท่องจำได้ถึงเพียงนี้ ก็เมื่อท่านทั้งหลายอยากรับรู้เห็นอย่างที่ผมรับรู้ ก็พึงตั้งมั่นเพียรปฏิบัติ แม้ในกายานุปัสสนา ก็มีอานาปานสติเป็นที่สุด เป็นประธาน เพราะอานาปานสตินี้จะเป็นสมาธิก็ได้ กสินก็ได้ วิปัสสนาวาโยธาตุที่กอปรรวมขึ้นในกายนี้ก็ได้ อานาปานสติเป็นตัวฝึกสติให้ตั้งมั่นด้วยการที่สติจดจ่อตั้งมั่นรู้อยู่ลมหายใจเข้า-ออก มีความรู้ตัวทั่วพร้อมในทุกขณะที่จิตสั่งกายทำงานให้ดำเนินไปอยู่ในปัจจุบันทุกๆอิริยาบถ จนสติแยกให้จิตเห็นความปรุงแต่งจิต สัมปะชัญญะแยกจิตตัวรู้จากสมมติแห่งจิต เห็นกายใจกาย เห็นเวทนาในเวทนา เห็นสมมติเวทนาแห่งกาย สมมติเวทนาแห่งใจ เห็ตจิตคลายธัมมารมณ์แยกกัน เห็นความรู้สึกที่เกิดกับจิต จิตสังสังขาร ความเป็นธรรมดาปรกติของขันธ์ ๕ จนจิตเห็นไตรลักษณ์แท้ ที่ไม่ใช่แค่ท่องจำเอาว่า..ไม่เที่ยงคือ เกิดมา ตั้งอยู่ ดับไป ไม่มีตัวตนคือบังคับไม่ได้ เป็นทุกข์

----------------------------------------------

ทีนี้ก็อยู่ที่ว่าการสะสมมาของแต่ละคนไปในทางใด บางคนถึงแล้วค่อยเข้าดูอภิธรรมเป็นปัญญาแนวทางสืบต่อ บางคนอ่านจำเพียงอย่างเดียวแล้วนึกคิดอนุมานเอา หากไม่ลงใจเห็นจริงสัญญาพวกนี้ก็ไม่ติดตามเป็นบารมีสะสมแก่ใจไปด้วย จะตามไปแค่ความจำทับถมจิตไปเรื่อย บางคนอ่านจำแล้วทำความเข้าใจปฏิบัติตาม เช่น..
การเห็นสี ไม่ใช่เพียงไปจับเอาว่าขณะที่ตนมองอยู่นี้เห็นสีอะไรบ้าง ขณะที่ตนเห็นสิ่งใดสิ่งนั้นๆมีสีอะไรบ้าง สันฐานรูปร่างของสีที่แสดงอยู่ต่างๆ แล้วสร้างสัญญาสะกดจิตตนไปว่าอนัตาๆๆๆ สีเกิดดับๆไม่เที่ยงๆ
- แต่ท่านเห็นตามจริงว่า..
.. สติตั้งมั่น จิตจึงตั้งมั่นตาม จิตตั้งมั่นก็มีกำลังอยู่โดยไม่ไหลตามธัมารมณ์ เห็นจริงได้ไม่ยาก
.. ทาน เป็นเหตุใจอิ่มของปรนเปรอตน อิ่มขันธ์ไม่ต้องการอีก ไม่ล่วงละเมิดในศีล เป็นเหตุให้ศีลเกิดง่าย (โดยมากคนจะเน้นว่า..การอภัยทานเป็นเหตุให้ศึลละเว้นในปาณาติบาต)
.. ศีล ทำให้สติเกิดขึ้นบ่อยๆ การเพียรมุ่งมันเจริญในศีลเป็นการทำให้มีสติเกิดขึ้นบ่อยๆสำรวมระวังในศีลทุกขณะ จิตยังกุศลให้เกิดมีขึ้น ด้วยสัมมัปปธาน ๔ ชื่อว่าเพียรด้วยสติ
.. ความเพียรด้วยสติ ทำใหเสำรวมระวังอินทรีย์ เกิดพละ ๕ ทำให้ศีลถึงความกุศลเย็นใจและจิตเป็นกุศลเกิดขึ้นบ่อยๆ เกิดสุจริต ๓ จิตเป็นกุศลทำให้ใจฉลาดในการปล่อยวางไม่ฟุ้งซ่านเป็นสมาธิง่าย
.. สมาธิ ทำให้สติมีกำลังบริสุทธิ์ และจิตมีกำลังไม่กวัดแกว่งตามสมมติกิเลสของปลอม ทำให้การทำงานของจิตดีขึ้น ทำให้เข้าไปรู้เห็นตามจริงได้ง่าย คือ ญาณทัสสนะ
.. ญาณ ความรู้เห็นตามจริง คือ เข้าไปเห็นของจริง ทำให้จิตน้อมลงมรรคเพื่อเป็นเหตุให้เข้าถึงผล(มรรตญาณ) มรรคที่สามัคคีกันทำให้เข้าถึงพระอริยะสัจ ๔ แท้จริง ชื่อว่าปัญญาญาณ เป็นวิชชา เข้าถึงวิมุตติ หมดสิ้นกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ๆ
- ดังนี้เวลาว่างท่านก็เข้าไปฝึกกรรมฐานในกองและสถานที่ต่างๆ เวลาปรกติดำีรงชีพทำกิจการงานอยู่ ท่านก็เจริญทาน ศีล ให้เกิด สติรู้บ่อยๆ แยกแยะ ยับยั้ง มีทมะ ขันติ อุปสมะ ลงภาวนา
- เมื่อจิตมีกำลังจนเมื่อลืมตาดูท่านไม่ไปจำเอาสีสัณฐานนั้นๆ แต่ดูสิ่งที่ตาเห็น กว่ามันจะส่งมาถึงใจตนรู้มันสังขารไปมากเท่าไหร่ เวทนาที่เกิดขึ้นทางตามัน มันเกิดความสมมติไปมากเท่าไหร่ก่อนมาถึงใจเรา เวทนาทางตาไม่ใช่ของจริง ไม่ได้เกิดที่จิต มันเป็นสมมิเวทนาที่เกิดมาให้ใจรู้ ทั้งๆที่แท้จริงแล้วสิ่งที่มันรับรู้ได้ทางตานี้ มีเพียงภาพสีในรูปร่างต่างๆ แต่เพราะเาอใจเข้ายึดครองรูปนั้นจึงเกิดสมมติเวทนามาที่ใจ เมื่อไม่ยึดสมมติเวทนาทางตา ก็ไม่ยินดียินร้ายใจรูป ละกามคุณทางตา เป็นต้น

----------------------------------------------

- ดังนี้ใครอยากเห็นแบบคุณโรส ก็ทำแบบคุณโรสไป มันเป็นสุขที่ได้ทำ แต่พูดเกินตำราไม่ได้
- ดังนี้ใครอยากเหนือคุณโรส ก็เรียนรู้แล้วปฏิบัติควบคู่กันไป
- ดังนี้ใครอยากเห็นแบบผม ก็เจริญกรรมฐานแบบผม เรียนรู้อภิธรรมได้ให้พอเป็นแนวทางแต่ไม่เอามาทับถมสะกดจิตตน แล้วเจริญปฏิบัติอยู่เนืองๆไม่ขาด


แต่ถึงจะแบบไหนก็ตามจะดีได้หมด หากเราเป็นคนดี ไม่มีใจเบียดเบียนทำร้ายผู้อื่น ไม่มีใจหมายพรากสิ่งอันเป้นที่รักของผู้อื่น ทั้งคน สัตว์ สิ่งของ ไม่กล่าววาจาอันยังความฉิบหายแก่ผู้อื่น ไม่ทำให้สิ่งที่จิตตนไม่มีกำลังทำให้ระลึกไม่ได้ แยกแยะ ยับยั้ง พิจารณาถูกผิดดีชั่วไม่ได้ มันก็ดีหมดแหละครับ ขอแค่น้อมมาทางธรรมไม่หลง ไม่อัตตาธรรม ไม่หลงตน ทำตัวให้เหมือนพระราหุล พระอานนท์ ไม่ถือตัว เรียนรู้ให้มาก มีใจเอื้อเฟื้อเกื้อกูลผู้อื่น ก็เป็นศิษย์ตถาคตแแท้จริง


----------------------------------------------
----------------------------------------------

.....................................................
(จิตรู้สมมติ เป็นสมุทัย)
(ผลอันเกิดจากจิตรู้สมมติ เป็นทุกข์)
(จิตเห็นจริงต่างหากจากสมมติ เป็นมรรค)
(ผลอันเกิดจากจิตเห็นจริงต่างหากจากสมมติ เป็นนิโรธ)


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 25 ธ.ค. 2018, 04:47 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 29 ต.ค. 2009, 15:06
โพสต์: 7502

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


แค่อากาศ เขียน:
ขี้เกียจพิมพ์ตอบคุณโรสแระ ให้ตายเขาก็ยึดกอดหนังสือตำราเอาไว้ไม่ปล่อยหรอก คนเราถ้าได้หลงยึดอุปาทานแล้ว มันไม่คลายง่ายๆหรอก สำคัญแค่คุณโรสเป็นคนดีได้ไหมแค่นั้นเอง หรือ วันๆก็ปรึกษาแต่ว่าวันนี้จะกัดใครยังไง :b32: :b32: :b32: ทางที่คนโรสเดิน ยังไงมันก็บ้าธรรมฟุ้งธรรม ไม่ใช่ฟุ้งฆ่าคน ฆ่าสัตว์ ลักทรัพย์ หื่นกามเป็นชู้ผัวเขา ลูกเขา หรือบ้ากินเหล้าแล้วทำสมาธิไม่ได้จึงมานั่งเพ่งๆมองๆเอา

มันความสุขของคุณโรส คนเราจะได้มากได้น้อยตามแต่การสะสมเหตุมาหลายภพชาติ ไม่ใช่แค่ชาตินี้ ให้แกสะสมไปเถอะ

สังเกตุดู การที่คุณโรสเอามาโพสท์ตอบ หรือพยายามจะบังคับสอนใครให้คิดตามแบบตน คุณโรสจะส่งมาให้เพียงสิ่งที่ท่องจำ ขณะจิตอย่างนั้นอย่างนี้เท่านั้น ไม่สามารถที่จะชักจูงคนให้เห็นตามได้ พระอภิธรรมจัดเป็นปัญญา สิ่งนี้เป็นสิ่งที่กล่าวไว้จำเพาะเพื่อให้เราปฏิบัติให้เห็นรู้จริงตาม ไม่ใช่สิ่งที่มีไว้ท่องจำโม้อวดกัน ผมเองก็จะมีใชอภิธรรมที่เป็นธรรมสูงบ้างไว้คุยกับคนต่างศาสนา หรือผู้ที่ยังไม่ศรัทธาที่เขาอ้างในส่วนของเขามาชีนำให้เขาเห็นตามแล้วศรัทธาในพระรัตนตรัย แต่ผมมีวิธีที่แสดงต่างจากคุณโรส ซึ่งสิ่งที่ผมกล่าวทำให้คนเขาน้อมมาปฏิบัติศรัทธาในพระพุทธศาสนาได้ ตามกำลังที่ผมเห็นและเข้าถึงได้อย่างปุถุชน ผมไม่เอาของจริงมาพร่ำเพ้อมั่ว มันไม่ศักดิ์สิทธิ์ มันจะเป็นของซื้อขายทั่วไปไม่มีราคา ดังเช่น

1. คุณโรสจะพูดชักจูงเพียงว่า ทีละขณะจิต พระพุทธเจ้า-ไม่สอนว่าเห็นคน สัตว์ สิ่ของ เห็นทีละสีดับทีละขณะคือความไม่มีตัวตน (ซึ่งไม่ใช่การแสดงธรรมโดยพิศดาริะไรแต่กล่าวได้แค่นั้น) เกินกว่าตำรานี้ไม่มีได้

----------------------------------------------

2. ส่วนการที่ผมเห็นจริงในส่วนของนักปฏิบัติอย่างผมที่พอจะมีปัญญา ผมจะชักจูงคนอื่นต่างจากคุณโรส โดยจะพูดจำเพาะที่ตนเห็นจริงได้ไม่กล่าวอ้างพระพุทธเจ้ามั่วๆ แต่จะบอกว่านี้คือผลจากการปฏิบัติตามพระพุทธศาสดาตรัสสอน เช่น..

- เวลาเราเห็นจริงนี้ มันเหมือนดูเป็นเม็ดสีจุดๆ เกิดดับๆ ด้วยอาการที่ยุบยิบๆ ระยิบ ระยับ กระพริบถี่ๆในแต่ละขณะผัสสะ (โดยไม่จำเป็นต้องกระพริบตาเลย) เป็นเม็ดสีเรียงขึ้นมีสันฐานต่างๆนาๆ วิญญาณธาตุรู้ผัสสะนี้สิ่งนี้ๆจากจักขุวิญญาณอันเป็นเหมือนปราการสังเกตุการณ์ประตูทางตา(วิญญาณ ๖ หรือ วิญญาณขันธ์ ในขันธ์ ๕ อันเป็นวิญญาณสังขารของวิญญาณธาตุ) แล้วก็ดับ ซึ่งขณะนี้เรายังไม่รู้ในสิ่งอันเป็นตัวตนบุคคลใด
- วิญญาณธาตุหมายรู้อารมณ์จากจักขุวิญญาณนั้น กระทำเจตนาเพื่อเข้าไปรู้ในสิ่งนั้น แล้วก็ดับ
- (ลัดย่อการทำงานของจิต เพราะทุกอย่างมันจะผัสสะซ้ำไปซ้ำมาในสิ่งต่างๆหลายรอบจนเข้ารู้สมมติและความรู้สึกนึกคิดจากสิ่งนั้น) สัญญาเกิดขึ้นในจดได้หมายรู้สิ่งที่รู้จากจักขุวิญญาณ สืบต่อสิ่งที่ตาเห็นในภายนอกนี้จึงเกิดขึ้นว่าเป็นตัวตน สีต่างๆ แสงต่างๆ คน สัตว์ สิ่งของ ความรู้สึกต่างๆโดยสัญญา ส่งมาให้วิญญาณธาตุรู้ แล้วก็ดับ
- (สิ่งต่างๆที่มองเห็นนั้นมันมีอยู่จริงโดยอาการที่แค่นแข็ง เอิบอาบ เคลื่อนไหว ตึง หย่อน ร้อนเย็น ช่องว่างที่กอปรรวมกัน เท่านั้น)
- ความรู้ทางตาเกิดขึ้นตามเหตุปัจจัยสัมผัส ดับไปเมื่อหมดเหตุปัจจัยสัมผัส คงมีแต่สัญญาที่คงเป็นสันฐานสิ่งนั้นสิ่งนี้ไว้เป็นสิ่งที่รักที่ชังเกิดขึ้นทางมโนวิญญาณ ส่งมาให้วิญญาณธาตุรู้อีกทีหนึ่ง

** จะเห็นได้ทันทีว่า ทุกๆขณะ จะส่งให้วิญญาณธาตุที่เข้ายึดครองขันธ์ ๕ นี้ให้รู้เสมอ อาศัยวิญญาณสังขารทางทวาร ๖ ถ้าไม่มี วิญญาณธาตุเข้ายึดครองรูปขันธ์ วิญญาณ ๖ ทางทวาร จะมีไม่ได้เลย ทำให้สมมตินี้ส่งต่อทับถมใจเราซ้ำๆไม่มีหยุด **

การเห็นทีละสี แท้จริงแล้วเป็นการโฟกัสจุด
- ซึ่งขณะใดขณะหนึ่งที่เราโฟกัสจุด คือ จับจุดสนใจ เจาะจงชัดแจ้ง เราจะคงเห็นได้เพียงที่ละส่วน ที่ละสี ตามระบบการทำงานของลูกตานี้ "จะปรับเลนส์ตาเพื่อจับจุุดคมชัด" ในการรับรู้สีและแสงกับปสาทสมองได้ทีละจุด วิญญาณขันธ์เป็นประสาทรับรู้การโฟกัสนั้น ส่งมาทางมโนให้จิต คือ วิญญาณธาตุนี้รู้ แล้วก็ดับไป ด้วยปรุงแต่งเวทนา สัญญา สังขาร(เป็นธัมมารมณ์)

คนที่เขาเห็นทางตา ต่อให้เป็นปุถุชน ต่อให้ยังไม่แจ้งชัด แต่ขณะใดที่จิตเป็นสมาธิตั้งมั่นอยู่โดยความไม่อุปาทานขันธ์ จิตเราจะทันการทำงานของขันธ์

- เมื่อตามองเห็น เราจะบังคับให้มันเห็นแต่สิ่งที่รักที่ชอบ ไม่เห็นสิ่งที่ชังก็ได้หรือไม่ ก็ไม่ได้ใช่ไหม่

- เมื่อตามองเห็นสิ่งที่เรารักเราชอบใจ เราจะบังคับสีนั้น, ภาพนั้น, สิ่งที่เห็นนั้นๆให้มันตั้งอยู่ตลอดไปได้หรือไม่ ก็ไม่ได้ มันย่อมตั้งอยู่ตามเหตุปัจจัยสัมผัส ดับไปหรือหายไปเมื่อเหตุปัจจัยสัมผัสนั้นดับลง ก็เมื่อตาเป็นของเราแล้ว..เราก็ย่อมบังคับมันให้เห็นให้เป็นไปดั่งใจได้สิ แต่เพราะตาไม่ใช่เรา เราไม่ใช่ตา ไม่มีเราในตา ในตาไม่มีเรา ตาไม่ใช่ของเรา เราจึงไม่อาจบังคับมันได้
- เมื่อตามองเห็นสิ่งที่ชัง เราจะบังคับสีนั้น, ภาพนั้น, สิ่งที่เห็นนั้นจงดับไปได้หรือไม่ มันก็ไม่ได้ มันจะยังคงอยู่ตามเหตุปัจจัยสัมผัส ดับไปหรือหายไปเมื่อหมดเหตุปัจจัยสัมผัส ก็เมื่อตาเป็นของเราแล้ว..เราก็ย่อมบังคับมันให้เห็นให้เป็นไปดั่งใจได้สิ แต่เพราะตาไม่ใช่เรา เราไม่ใช่ตา ไม่มีเราในตา ในตาไม่มีเรา ตาไม่ใช่ของเรา เราจึงไม่อาจบังคับมันได้

- นี่เรียกว่ามีตามันก็ต้องเห็นไปทั่ว ตามปรกติคนที่มีตาใช้งานก็ย่อมเห็น จะเข้าไปยึดรูปที่เห็น
.. ก็เมื่อรูปที่เห็นนั้นเป็นสีก็ดี เป็นคน สัตว์ สิ่งของต่างๆก็ดี ก็ถ้ามันเป็นสิ่งที่ยั่งยืนคงทนอยู่ได้นานแล้ว มันก็ย่อมไม่เป็นไปเพื่อความเสื่อมดับไป ย่อมตั้งอยู่ได้ยั่งยืนนาน แต่รูปที่เห็นนั้นมีความเสื่อมดับไปเป็นธรรมดา จะล่วงพ้นไปไม่ได้ ไม่คงทนอยู่ได้นานเลย
.. ก็เมื่อรูปที่เห็นนั้นจะเป็นสีก็ดี เป็นคน สัตว์ สิ่งของต่างๆก็ดี ก็ถ้ามันคือสิ่งที่ใจเราสามารถเข้ายึดครองเป็นตัวเป็นตนได้แล้ว เราก็ย่อมบังคับให้รูปที่เห็นด้วยตาต่างๆนั้นเป็นไปดั่งใจเราได้ จับยึด บังคับไปเป็นอย่าโน้นอย่างนี้ตามใจต้องการได้ บังคับให้รูปที่ชังจงหายไป บังคับให้รูปที่รักจงตั้งอยู่ได้ บังคับให้รูปที่เห็นภายนอกนั้นมีสันฐานรูปร่างในต่างๆนาๆตามต้องการได้ แต่เราไม่สามารถไปบังคับรูปที่เห็นภายนอกนั้นให้มันเป็นไปดั่งใจเราได้ ไม่ว่าจะเป็นสีใด รูปใด ภาพใด คนใด สัตว์ใด สิ่งใด ที่รู้ได้ด้วยตา
.. ก็แม้สิ่งภายนอกที่ตาเห็นนี้เป็นไปให้รู้สัมผัสเสียง สัมผัสรส สัมผัสกลิ่น สัมผัสกายจากมันได้ มันก็ไม่เป็นไปเพื่อให้เอาใจเข้ายึดครองไว้ได้ นั่นเพราะอะไร..นั่นก็เพราะเมื่อเราเอาใจเข้ายึดครองมันแล้ว มันก็ไม่เป็นไปเพื่อความเที่ยงแท้ คงทน ยั่งยืน อยู่ได้นาน, มันก็ไม่อยู่ภายใต้บังคับบัญชาของเราให้เป็นดั่งใจปารถนาต้องการใด
.. ด้วยเหตุดังนี้..มันย่อมยังความโหยหิวกระหายหมายใจปารถนาใคร่กระสันเสพย์ในสิ่งที่เห็น ให้เร่าร้อนกระวนกระวายกายใจเรายิ่งนัก, มันย่อมยังความผิดหวัง-ความไม่สมปารถนา-ปารถนาสิ่งใดไม่ได้สิ่งนั้นให้เกิดมีขึ้นแก่กายใจเรา มันย่อมยังความประสบสิ่งอันไม่เป็นที่รักที่เจริญใจให้แก่กายใจเรา, มันย่อมยังความพรัดพรากให้เกิดขึ้นแก่กายใจเรา ย่อมยังให้เราเกิดความโศกเศร้า ร่ำไรรำพัน ไม่สบายกาย ไม่สบายใจ อัดอั้น คับแค้นกายใจทั้งหลายให้แก่เรา เมื่อเอาใจเข้ายึดครองสิ่งที่รู้เห็นแล้วต้องพบเจอแบบนี้ๆอยู่ร่ำไปอย่างนี้มันเป็นสุขหรือเป็นทุกข์เล่า ย่อมเป็นทุกข์อย่างหาประมาณมิได้ ดังนั้นพึงละการเอาใจเข้ายึดครองรูปที่เห็นด้วยตานั้นเสีย ความยินดี ยินร้ายในรูปที่เห็นเด้วยตา เป็นทุกข์ ดังนี้

----------------------------------------------

- อนัตตาของคุณโรส คือ ไม่มีตัวตน สัตว์ใด บุคคลใด สิ่งใด ไม่มีอะไรในโลก มันเป็นการเห็นความสูญในโลกไปแล้ว

- อนัตตาของผม ที่ผมเห็นจริงๆจากการปฏิบัติ คือ ทุกอย่างมันมีอยู่ตามธรรมชาติปรกติของมันตามสังขารโลก มันมีอยู่ทั่วไปทุกหนแห่งทุกที่ตามปรกติ ..แต่ความรู้ในใจเรา คือ ทุกอย่างนั้นมันว่างโล่งทั้งๆที่สิ่งต่างๆมันมีอยู่ของมันทั่วไป แต่มันไม่เห็นจะมีสิ่งใดๆให้ใจเราเข้ายึดครองว่าเป็นตัวตนสิ่งใดๆได้ สังขารโลกมันมีอยู่ของมัน มีรูปร่างสันฐานต่างๆ ทั่วไป จะไปในที่ใดเห็นสิ่งใด ก็ล้วนเป็นของที่ว่างโล่งไปหมดทั้งๆที่ทุกอย่างมันก็มีอยู่ของมันอย่างนั้น แต่ใจเราไม่เห็นว่าเราจะเข้ายึดครองได้ว่าสิ่งที่เรารู้เห็นได้นั้นเป็นสิ่งใด สิ่งนี้คืออนัตตาของผมจากการปฏิบัติให้เข้าถึงได้ จิตมันเบาสบายแช่มชื่นไม่มีอะไรปะปนทั้งปวงนั้นเพราะมีโอกาสได้รับรู้สัมผัสเท่าที่ปุถุชนอย่างผมมีปัญญาจะเข้าถึงได้ในการเห็นกายในกาย เห็นเวทนาในเวลา เห็นจิตในจิต เห็นธรรมในธรรม

----------------------------------------------

- สิ่งที่ผมเห็นนี้แค่ของปุถุชนแค่เศษฝุ่นพระอริยะ และเศษของเศษฝุ่นของพระพุทธศาสดา มันยังดูจากการการที่รู้แค่ท่องจำได้ถึงเพียงนี้ ก็เมื่อท่านทั้งหลายอยากรับรู้เห็นอย่างที่ผมรับรู้ ก็พึงตั้งมั่นเพียรปฏิบัติ แม้ในกายานุปัสสนา ก็มีอานาปานสติเป็นที่สุด เป็นประธาน เพราะอานาปานสตินี้จะเป็นสมาธิก็ได้ กสินก็ได้ วิปัสสนาวาโยธาตุที่กอปรรวมขึ้นในกายนี้ก็ได้ อานาปานสติเป็นตัวฝึกสติให้ตั้งมั่นด้วยการที่สติจดจ่อตั้งมั่นรู้อยู่ลมหายใจเข้า-ออก มีความรู้ตัวทั่วพร้อมในทุกขณะที่จิตสั่งกายทำงานให้ดำเนินไปอยู่ในปัจจุบันทุกๆอิริยาบถ จนสติแยกให้จิตเห็นความปรุงแต่งจิต สัมปะชัญญะแยกจิตตัวรู้จากสมมติแห่งจิต เห็นกายใจกาย เห็นเวทนาในเวทนา เห็นสมมติเวทนาแห่งกาย สมมติเวทนาแห่งใจ เห็ตจิตคลายธัมมารมณ์แยกกัน เห็นความรู้สึกที่เกิดกับจิต จิตสังสังขาร ความเป็นธรรมดาปรกติของขันธ์ ๕ จนจิตเห็นไตรลักษณ์แท้ ที่ไม่ใช่แค่ท่องจำเอาว่า..ไม่เที่ยงคือ เกิดมา ตั้งอยู่ ดับไป ไม่มีตัวตนคือบังคับไม่ได้ เป็นทุกข์

----------------------------------------------

ทีนี้ก็อยู่ที่ว่าการสะสมมาของแต่ละคนไปในทางใด บางคนถึงแล้วค่อยเข้าดูอภิธรรมเป็นปัญญาแนวทางสืบต่อ บางคนอ่านจำเพียงอย่างเดียวแล้วนึกคิดอนุมานเอา หากไม่ลงใจเห็นจริงสัญญาพวกนี้ก็ไม่ติดตามเป็นบารมีสะสมแก่ใจไปด้วย จะตามไปแค่ความจำทับถมจิตไปเรื่อย บางคนอ่านจำแล้วทำความเข้าใจปฏิบัติตาม เช่น..
การเห็นสี ไม่ใช่เพียงไปจับเอาว่าขณะที่ตนมองอยู่นี้เห็นสีอะไรบ้าง ขณะที่ตนเห็นสิ่งใดสิ่งนั้นๆมีสีอะไรบ้าง สันฐานรูปร่างของสีที่แสดงอยู่ต่างๆ แล้วสร้างสัญญาสะกดจิตตนไปว่าอนัตาๆๆๆ สีเกิดดับๆไม่เที่ยงๆ
- แต่ท่านเห็นตามจริงว่า..
.. สติตั้งมั่น จิตจึงตั้งมั่นตาม จิตตั้งมั่นก็มีกำลังอยู่โดยไม่ไหลตามธัมารมณ์ เห็นจริงได้ไม่ยาก
.. ทาน เป็นเหตุใจอิ่มของปรนเปรอตน อิ่มขันธ์ไม่ต้องการอีก ไม่ล่วงละเมิดในศีล เป็นเหตุให้ศีลเกิดง่าย (โดยมากคนจะเน้นว่า..การอภัยทานเป็นเหตุให้ศึลละเว้นในปาณาติบาต)
.. ศีล ทำให้สติเกิดขึ้นบ่อยๆ การเพียรมุ่งมันเจริญในศีลเป็นการทำให้มีสติเกิดขึ้นบ่อยๆสำรวมระวังในศีลทุกขณะ จิตยังกุศลให้เกิดมีขึ้น ด้วยสัมมัปปธาน ๔ ชื่อว่าเพียรด้วยสติ
.. ความเพียรด้วยสติ ทำใหเสำรวมระวังอินทรีย์ เกิดพละ ๕ ทำให้ศีลถึงความกุศลเย็นใจและจิตเป็นกุศลเกิดขึ้นบ่อยๆ เกิดสุจริต ๓ จิตเป็นกุศลทำให้ใจฉลาดในการปล่อยวางไม่ฟุ้งซ่านเป็นสมาธิง่าย
.. สมาธิ ทำให้สติมีกำลังบริสุทธิ์ และจิตมีกำลังไม่กวัดแกว่งตามสมมติกิเลสของปลอม ทำให้การทำงานของจิตดีขึ้น ทำให้เข้าไปรู้เห็นตามจริงได้ง่าย คือ ญาณทัสสนะ
.. ญาณ ความรู้เห็นตามจริง คือ เข้าไปเห็นของจริง ทำให้จิตน้อมลงมรรคเพื่อเป็นเหตุให้เข้าถึงผล(มรรตญาณ) มรรคที่สามัคคีกันทำให้เข้าถึงพระอริยะสัจ ๔ แท้จริง ชื่อว่าปัญญาญาณ เป็นวิชชา เข้าถึงวิมุตติ หมดสิ้นกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ๆ
- ดังนี้เวลาว่างท่านก็เข้าไปฝึกกรรมฐานในกองและสถานที่ต่างๆ เวลาปรกติดำีรงชีพทำกิจการงานอยู่ ท่านก็เจริญทาน ศีล ให้เกิด สติรู้บ่อยๆ แยกแยะ ยับยั้ง มีทมะ ขันติ อุปสมะ ลงภาวนา
- เมื่อจิตมีกำลังจนเมื่อลืมตาดูท่านไม่ไปจำเอาสีสัณฐานนั้นๆ แต่ดูสิ่งที่ตาเห็น กว่ามันจะส่งมาถึงใจตนรู้มันสังขารไปมากเท่าไหร่ เวทนาที่เกิดขึ้นทางตามัน มันเกิดความสมมติไปมากเท่าไหร่ก่อนมาถึงใจเรา เวทนาทางตาไม่ใช่ของจริง ไม่ได้เกิดที่จิต มันเป็นสมมิเวทนาที่เกิดมาให้ใจรู้ ทั้งๆที่แท้จริงแล้วสิ่งที่มันรับรู้ได้ทางตานี้ มีเพียงภาพสีในรูปร่างต่างๆ แต่เพราะเาอใจเข้ายึดครองรูปนั้นจึงเกิดสมมติเวทนามาที่ใจ เมื่อไม่ยึดสมมติเวทนาทางตา ก็ไม่ยินดียินร้ายใจรูป ละกามคุณทางตา เป็นต้น

----------------------------------------------

- ดังนี้ใครอยากเห็นแบบคุณโรส ก็ทำแบบคุณโรสไป มันเป็นสุขที่ได้ทำ แต่พูดเกินตำราไม่ได้
- ดังนี้ใครอยากเหนือคุณโรส ก็เรียนรู้แล้วปฏิบัติควบคู่กันไป
- ดังนี้ใครอยากเห็นแบบผม ก็เจริญกรรมฐานแบบผม เรียนรู้อภิธรรมได้ให้พอเป็นแนวทางแต่ไม่เอามาทับถมสะกดจิตตน แล้วเจริญปฏิบัติอยู่เนืองๆไม่ขาด


แต่ถึงจะแบบไหนก็ตามจะดีได้หมด หากเราเป็นคนดี ไม่มีใจเบียดเบียนทำร้ายผู้อื่น ไม่มีใจหมายพรากสิ่งอันเป้นที่รักของผู้อื่น ทั้งคน สัตว์ สิ่งของ ไม่กล่าววาจาอันยังความฉิบหายแก่ผู้อื่น ไม่ทำให้สิ่งที่จิตตนไม่มีกำลังทำให้ระลึกไม่ได้ แยกแยะ ยับยั้ง พิจารณาถูกผิดดีชั่วไม่ได้ มันก็ดีหมดแหละครับ ขอแค่น้อมมาทางธรรมไม่หลง ไม่อัตตาธรรม ไม่หลงตน ทำตัวให้เหมือนพระราหุล พระอานนท์ ไม่ถือตัว เรียนรู้ให้มาก มีใจเอื้อเฟื้อเกื้อกูลผู้อื่น ก็เป็นศิษย์ตถาคตแแท้จริง


----------------------------------------------
----------------------------------------------

cool
สะสมปัญญาจากฟัง
ตามปกติเป็นปกตินั้น
ตรงกับคำว่าผู้มีศีลค่ะ
เพราะกำลังฟังเข้าใจ
ตั้งจิตไว้ชอบรู้ตามได้
ตรงตามคำสอนทีละคำ
อกุศลแทรกเข้าไม่ได้ทันที
เพราะกำลังคิดตรงตามได้แล้ว
:b8:
ทางนี้ไม่ขี้เกียจตอบ
เพราะขี้เกียจเป็นอกุศล
จะเอาวิเศษวิโสอะไรหรือคะ
เพราะพระพุทธเจ้าบอกให้เข้าใจถูก
ตามปกติเป็นปกติว่าจิตเห็นสีคือสี1สี
แสงสีกระทบตาดำดับในนั้นทันทีแล้วค่ะ
คุณมองตาคนอื่นก็เห็นสีไม่ได้ไม่เก็ตเลยสักนิด
จะบอกให้เอาบุญนะไม่ต้องสงสัยคำสอนของตถาคต
เพราะคำสอนนั้นตรงจริงแน่นอนคือจิตเห็นสีไม่มีคนสัตว์วัตถุตัวอักษร
อันว่าการนั่งสมาธิหลับตานั้นก็เคยนั่งมาก่อนรู้จริงว่านั่งแล้วกายหายหมดเป็นไงไม่ต้องมโนว่าไม่มีกายเป็นไง
อยากจะเหาะได้อย่างนั้นรึหรือจะรู้จักคำว่าคำสอนของพระพุทธเจ้าคิดถูกตามได้ตามปกติเป็นปกติตรงจริง
คือนั่งฟังเสียงตามไปทีละ1คำต้องใช้สมาธิมากเพราะจิตต้องมั่นคงไม่ส่ายแส่ตามสิ่งที่กำลังเห็นรู้ตัวตรงทาง
:b12:
:b32: :b32:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 25 ธ.ค. 2018, 05:37 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 29 ต.ค. 2009, 15:06
โพสต์: 7502

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


Rosarin เขียน:
แค่อากาศ เขียน:
ขี้เกียจพิมพ์ตอบคุณโรสแระ ให้ตายเขาก็ยึดกอดหนังสือตำราเอาไว้ไม่ปล่อยหรอก คนเราถ้าได้หลงยึดอุปาทานแล้ว มันไม่คลายง่ายๆหรอก สำคัญแค่คุณโรสเป็นคนดีได้ไหมแค่นั้นเอง หรือ วันๆก็ปรึกษาแต่ว่าวันนี้จะกัดใครยังไง :b32: :b32: :b32: ทางที่คนโรสเดิน ยังไงมันก็บ้าธรรมฟุ้งธรรม ไม่ใช่ฟุ้งฆ่าคน ฆ่าสัตว์ ลักทรัพย์ หื่นกามเป็นชู้ผัวเขา ลูกเขา หรือบ้ากินเหล้าแล้วทำสมาธิไม่ได้จึงมานั่งเพ่งๆมองๆเอา

มันความสุขของคุณโรส คนเราจะได้มากได้น้อยตามแต่การสะสมเหตุมาหลายภพชาติ ไม่ใช่แค่ชาตินี้ ให้แกสะสมไปเถอะ

สังเกตุดู การที่คุณโรสเอามาโพสท์ตอบ หรือพยายามจะบังคับสอนใครให้คิดตามแบบตน คุณโรสจะส่งมาให้เพียงสิ่งที่ท่องจำ ขณะจิตอย่างนั้นอย่างนี้เท่านั้น ไม่สามารถที่จะชักจูงคนให้เห็นตามได้ พระอภิธรรมจัดเป็นปัญญา สิ่งนี้เป็นสิ่งที่กล่าวไว้จำเพาะเพื่อให้เราปฏิบัติให้เห็นรู้จริงตาม ไม่ใช่สิ่งที่มีไว้ท่องจำโม้อวดกัน ผมเองก็จะมีใชอภิธรรมที่เป็นธรรมสูงบ้างไว้คุยกับคนต่างศาสนา หรือผู้ที่ยังไม่ศรัทธาที่เขาอ้างในส่วนของเขามาชีนำให้เขาเห็นตามแล้วศรัทธาในพระรัตนตรัย แต่ผมมีวิธีที่แสดงต่างจากคุณโรส ซึ่งสิ่งที่ผมกล่าวทำให้คนเขาน้อมมาปฏิบัติศรัทธาในพระพุทธศาสนาได้ ตามกำลังที่ผมเห็นและเข้าถึงได้อย่างปุถุชน ผมไม่เอาของจริงมาพร่ำเพ้อมั่ว มันไม่ศักดิ์สิทธิ์ มันจะเป็นของซื้อขายทั่วไปไม่มีราคา ดังเช่น

1. คุณโรสจะพูดชักจูงเพียงว่า ทีละขณะจิต พระพุทธเจ้า-ไม่สอนว่าเห็นคน สัตว์ สิ่ของ เห็นทีละสีดับทีละขณะคือความไม่มีตัวตน (ซึ่งไม่ใช่การแสดงธรรมโดยพิศดาริะไรแต่กล่าวได้แค่นั้น) เกินกว่าตำรานี้ไม่มีได้

----------------------------------------------

2. ส่วนการที่ผมเห็นจริงในส่วนของนักปฏิบัติอย่างผมที่พอจะมีปัญญา ผมจะชักจูงคนอื่นต่างจากคุณโรส โดยจะพูดจำเพาะที่ตนเห็นจริงได้ไม่กล่าวอ้างพระพุทธเจ้ามั่วๆ แต่จะบอกว่านี้คือผลจากการปฏิบัติตามพระพุทธศาสดาตรัสสอน เช่น..

- เวลาเราเห็นจริงนี้ มันเหมือนดูเป็นเม็ดสีจุดๆ เกิดดับๆ ด้วยอาการที่ยุบยิบๆ ระยิบ ระยับ กระพริบถี่ๆในแต่ละขณะผัสสะ (โดยไม่จำเป็นต้องกระพริบตาเลย) เป็นเม็ดสีเรียงขึ้นมีสันฐานต่างๆนาๆ วิญญาณธาตุรู้ผัสสะนี้สิ่งนี้ๆจากจักขุวิญญาณอันเป็นเหมือนปราการสังเกตุการณ์ประตูทางตา(วิญญาณ ๖ หรือ วิญญาณขันธ์ ในขันธ์ ๕ อันเป็นวิญญาณสังขารของวิญญาณธาตุ) แล้วก็ดับ ซึ่งขณะนี้เรายังไม่รู้ในสิ่งอันเป็นตัวตนบุคคลใด
- วิญญาณธาตุหมายรู้อารมณ์จากจักขุวิญญาณนั้น กระทำเจตนาเพื่อเข้าไปรู้ในสิ่งนั้น แล้วก็ดับ
- (ลัดย่อการทำงานของจิต เพราะทุกอย่างมันจะผัสสะซ้ำไปซ้ำมาในสิ่งต่างๆหลายรอบจนเข้ารู้สมมติและความรู้สึกนึกคิดจากสิ่งนั้น) สัญญาเกิดขึ้นในจดได้หมายรู้สิ่งที่รู้จากจักขุวิญญาณ สืบต่อสิ่งที่ตาเห็นในภายนอกนี้จึงเกิดขึ้นว่าเป็นตัวตน สีต่างๆ แสงต่างๆ คน สัตว์ สิ่งของ ความรู้สึกต่างๆโดยสัญญา ส่งมาให้วิญญาณธาตุรู้ แล้วก็ดับ
- (สิ่งต่างๆที่มองเห็นนั้นมันมีอยู่จริงโดยอาการที่แค่นแข็ง เอิบอาบ เคลื่อนไหว ตึง หย่อน ร้อนเย็น ช่องว่างที่กอปรรวมกัน เท่านั้น)
- ความรู้ทางตาเกิดขึ้นตามเหตุปัจจัยสัมผัส ดับไปเมื่อหมดเหตุปัจจัยสัมผัส คงมีแต่สัญญาที่คงเป็นสันฐานสิ่งนั้นสิ่งนี้ไว้เป็นสิ่งที่รักที่ชังเกิดขึ้นทางมโนวิญญาณ ส่งมาให้วิญญาณธาตุรู้อีกทีหนึ่ง

** จะเห็นได้ทันทีว่า ทุกๆขณะ จะส่งให้วิญญาณธาตุที่เข้ายึดครองขันธ์ ๕ นี้ให้รู้เสมอ อาศัยวิญญาณสังขารทางทวาร ๖ ถ้าไม่มี วิญญาณธาตุเข้ายึดครองรูปขันธ์ วิญญาณ ๖ ทางทวาร จะมีไม่ได้เลย ทำให้สมมตินี้ส่งต่อทับถมใจเราซ้ำๆไม่มีหยุด **

การเห็นทีละสี แท้จริงแล้วเป็นการโฟกัสจุด
- ซึ่งขณะใดขณะหนึ่งที่เราโฟกัสจุด คือ จับจุดสนใจ เจาะจงชัดแจ้ง เราจะคงเห็นได้เพียงที่ละส่วน ที่ละสี ตามระบบการทำงานของลูกตานี้ "จะปรับเลนส์ตาเพื่อจับจุุดคมชัด" ในการรับรู้สีและแสงกับปสาทสมองได้ทีละจุด วิญญาณขันธ์เป็นประสาทรับรู้การโฟกัสนั้น ส่งมาทางมโนให้จิต คือ วิญญาณธาตุนี้รู้ แล้วก็ดับไป ด้วยปรุงแต่งเวทนา สัญญา สังขาร(เป็นธัมมารมณ์)

คนที่เขาเห็นทางตา ต่อให้เป็นปุถุชน ต่อให้ยังไม่แจ้งชัด แต่ขณะใดที่จิตเป็นสมาธิตั้งมั่นอยู่โดยความไม่อุปาทานขันธ์ จิตเราจะทันการทำงานของขันธ์

- เมื่อตามองเห็น เราจะบังคับให้มันเห็นแต่สิ่งที่รักที่ชอบ ไม่เห็นสิ่งที่ชังก็ได้หรือไม่ ก็ไม่ได้ใช่ไหม่

- เมื่อตามองเห็นสิ่งที่เรารักเราชอบใจ เราจะบังคับสีนั้น, ภาพนั้น, สิ่งที่เห็นนั้นๆให้มันตั้งอยู่ตลอดไปได้หรือไม่ ก็ไม่ได้ มันย่อมตั้งอยู่ตามเหตุปัจจัยสัมผัส ดับไปหรือหายไปเมื่อเหตุปัจจัยสัมผัสนั้นดับลง ก็เมื่อตาเป็นของเราแล้ว..เราก็ย่อมบังคับมันให้เห็นให้เป็นไปดั่งใจได้สิ แต่เพราะตาไม่ใช่เรา เราไม่ใช่ตา ไม่มีเราในตา ในตาไม่มีเรา ตาไม่ใช่ของเรา เราจึงไม่อาจบังคับมันได้
- เมื่อตามองเห็นสิ่งที่ชัง เราจะบังคับสีนั้น, ภาพนั้น, สิ่งที่เห็นนั้นจงดับไปได้หรือไม่ มันก็ไม่ได้ มันจะยังคงอยู่ตามเหตุปัจจัยสัมผัส ดับไปหรือหายไปเมื่อหมดเหตุปัจจัยสัมผัส ก็เมื่อตาเป็นของเราแล้ว..เราก็ย่อมบังคับมันให้เห็นให้เป็นไปดั่งใจได้สิ แต่เพราะตาไม่ใช่เรา เราไม่ใช่ตา ไม่มีเราในตา ในตาไม่มีเรา ตาไม่ใช่ของเรา เราจึงไม่อาจบังคับมันได้

- นี่เรียกว่ามีตามันก็ต้องเห็นไปทั่ว ตามปรกติคนที่มีตาใช้งานก็ย่อมเห็น จะเข้าไปยึดรูปที่เห็น
.. ก็เมื่อรูปที่เห็นนั้นเป็นสีก็ดี เป็นคน สัตว์ สิ่งของต่างๆก็ดี ก็ถ้ามันเป็นสิ่งที่ยั่งยืนคงทนอยู่ได้นานแล้ว มันก็ย่อมไม่เป็นไปเพื่อความเสื่อมดับไป ย่อมตั้งอยู่ได้ยั่งยืนนาน แต่รูปที่เห็นนั้นมีความเสื่อมดับไปเป็นธรรมดา จะล่วงพ้นไปไม่ได้ ไม่คงทนอยู่ได้นานเลย
.. ก็เมื่อรูปที่เห็นนั้นจะเป็นสีก็ดี เป็นคน สัตว์ สิ่งของต่างๆก็ดี ก็ถ้ามันคือสิ่งที่ใจเราสามารถเข้ายึดครองเป็นตัวเป็นตนได้แล้ว เราก็ย่อมบังคับให้รูปที่เห็นด้วยตาต่างๆนั้นเป็นไปดั่งใจเราได้ จับยึด บังคับไปเป็นอย่าโน้นอย่างนี้ตามใจต้องการได้ บังคับให้รูปที่ชังจงหายไป บังคับให้รูปที่รักจงตั้งอยู่ได้ บังคับให้รูปที่เห็นภายนอกนั้นมีสันฐานรูปร่างในต่างๆนาๆตามต้องการได้ แต่เราไม่สามารถไปบังคับรูปที่เห็นภายนอกนั้นให้มันเป็นไปดั่งใจเราได้ ไม่ว่าจะเป็นสีใด รูปใด ภาพใด คนใด สัตว์ใด สิ่งใด ที่รู้ได้ด้วยตา
.. ก็แม้สิ่งภายนอกที่ตาเห็นนี้เป็นไปให้รู้สัมผัสเสียง สัมผัสรส สัมผัสกลิ่น สัมผัสกายจากมันได้ มันก็ไม่เป็นไปเพื่อให้เอาใจเข้ายึดครองไว้ได้ นั่นเพราะอะไร..นั่นก็เพราะเมื่อเราเอาใจเข้ายึดครองมันแล้ว มันก็ไม่เป็นไปเพื่อความเที่ยงแท้ คงทน ยั่งยืน อยู่ได้นาน, มันก็ไม่อยู่ภายใต้บังคับบัญชาของเราให้เป็นดั่งใจปารถนาต้องการใด
.. ด้วยเหตุดังนี้..มันย่อมยังความโหยหิวกระหายหมายใจปารถนาใคร่กระสันเสพย์ในสิ่งที่เห็น ให้เร่าร้อนกระวนกระวายกายใจเรายิ่งนัก, มันย่อมยังความผิดหวัง-ความไม่สมปารถนา-ปารถนาสิ่งใดไม่ได้สิ่งนั้นให้เกิดมีขึ้นแก่กายใจเรา มันย่อมยังความประสบสิ่งอันไม่เป็นที่รักที่เจริญใจให้แก่กายใจเรา, มันย่อมยังความพรัดพรากให้เกิดขึ้นแก่กายใจเรา ย่อมยังให้เราเกิดความโศกเศร้า ร่ำไรรำพัน ไม่สบายกาย ไม่สบายใจ อัดอั้น คับแค้นกายใจทั้งหลายให้แก่เรา เมื่อเอาใจเข้ายึดครองสิ่งที่รู้เห็นแล้วต้องพบเจอแบบนี้ๆอยู่ร่ำไปอย่างนี้มันเป็นสุขหรือเป็นทุกข์เล่า ย่อมเป็นทุกข์อย่างหาประมาณมิได้ ดังนั้นพึงละการเอาใจเข้ายึดครองรูปที่เห็นด้วยตานั้นเสีย ความยินดี ยินร้ายในรูปที่เห็นเด้วยตา เป็นทุกข์ ดังนี้

----------------------------------------------

- อนัตตาของคุณโรส คือ ไม่มีตัวตน สัตว์ใด บุคคลใด สิ่งใด ไม่มีอะไรในโลก มันเป็นการเห็นความสูญในโลกไปแล้ว

- อนัตตาของผม ที่ผมเห็นจริงๆจากการปฏิบัติ คือ ทุกอย่างมันมีอยู่ตามธรรมชาติปรกติของมันตามสังขารโลก มันมีอยู่ทั่วไปทุกหนแห่งทุกที่ตามปรกติ ..แต่ความรู้ในใจเรา คือ ทุกอย่างนั้นมันว่างโล่งทั้งๆที่สิ่งต่างๆมันมีอยู่ของมันทั่วไป แต่มันไม่เห็นจะมีสิ่งใดๆให้ใจเราเข้ายึดครองว่าเป็นตัวตนสิ่งใดๆได้ สังขารโลกมันมีอยู่ของมัน มีรูปร่างสันฐานต่างๆ ทั่วไป จะไปในที่ใดเห็นสิ่งใด ก็ล้วนเป็นของที่ว่างโล่งไปหมดทั้งๆที่ทุกอย่างมันก็มีอยู่ของมันอย่างนั้น แต่ใจเราไม่เห็นว่าเราจะเข้ายึดครองได้ว่าสิ่งที่เรารู้เห็นได้นั้นเป็นสิ่งใด สิ่งนี้คืออนัตตาของผมจากการปฏิบัติให้เข้าถึงได้ จิตมันเบาสบายแช่มชื่นไม่มีอะไรปะปนทั้งปวงนั้นเพราะมีโอกาสได้รับรู้สัมผัสเท่าที่ปุถุชนอย่างผมมีปัญญาจะเข้าถึงได้ในการเห็นกายในกาย เห็นเวทนาในเวลา เห็นจิตในจิต เห็นธรรมในธรรม

----------------------------------------------

- สิ่งที่ผมเห็นนี้แค่ของปุถุชนแค่เศษฝุ่นพระอริยะ และเศษของเศษฝุ่นของพระพุทธศาสดา มันยังดูจากการการที่รู้แค่ท่องจำได้ถึงเพียงนี้ ก็เมื่อท่านทั้งหลายอยากรับรู้เห็นอย่างที่ผมรับรู้ ก็พึงตั้งมั่นเพียรปฏิบัติ แม้ในกายานุปัสสนา ก็มีอานาปานสติเป็นที่สุด เป็นประธาน เพราะอานาปานสตินี้จะเป็นสมาธิก็ได้ กสินก็ได้ วิปัสสนาวาโยธาตุที่กอปรรวมขึ้นในกายนี้ก็ได้ อานาปานสติเป็นตัวฝึกสติให้ตั้งมั่นด้วยการที่สติจดจ่อตั้งมั่นรู้อยู่ลมหายใจเข้า-ออก มีความรู้ตัวทั่วพร้อมในทุกขณะที่จิตสั่งกายทำงานให้ดำเนินไปอยู่ในปัจจุบันทุกๆอิริยาบถ จนสติแยกให้จิตเห็นความปรุงแต่งจิต สัมปะชัญญะแยกจิตตัวรู้จากสมมติแห่งจิต เห็นกายใจกาย เห็นเวทนาในเวทนา เห็นสมมติเวทนาแห่งกาย สมมติเวทนาแห่งใจ เห็ตจิตคลายธัมมารมณ์แยกกัน เห็นความรู้สึกที่เกิดกับจิต จิตสังสังขาร ความเป็นธรรมดาปรกติของขันธ์ ๕ จนจิตเห็นไตรลักษณ์แท้ ที่ไม่ใช่แค่ท่องจำเอาว่า..ไม่เที่ยงคือ เกิดมา ตั้งอยู่ ดับไป ไม่มีตัวตนคือบังคับไม่ได้ เป็นทุกข์

----------------------------------------------

ทีนี้ก็อยู่ที่ว่าการสะสมมาของแต่ละคนไปในทางใด บางคนถึงแล้วค่อยเข้าดูอภิธรรมเป็นปัญญาแนวทางสืบต่อ บางคนอ่านจำเพียงอย่างเดียวแล้วนึกคิดอนุมานเอา หากไม่ลงใจเห็นจริงสัญญาพวกนี้ก็ไม่ติดตามเป็นบารมีสะสมแก่ใจไปด้วย จะตามไปแค่ความจำทับถมจิตไปเรื่อย บางคนอ่านจำแล้วทำความเข้าใจปฏิบัติตาม เช่น..
การเห็นสี ไม่ใช่เพียงไปจับเอาว่าขณะที่ตนมองอยู่นี้เห็นสีอะไรบ้าง ขณะที่ตนเห็นสิ่งใดสิ่งนั้นๆมีสีอะไรบ้าง สันฐานรูปร่างของสีที่แสดงอยู่ต่างๆ แล้วสร้างสัญญาสะกดจิตตนไปว่าอนัตาๆๆๆ สีเกิดดับๆไม่เที่ยงๆ
- แต่ท่านเห็นตามจริงว่า..
.. สติตั้งมั่น จิตจึงตั้งมั่นตาม จิตตั้งมั่นก็มีกำลังอยู่โดยไม่ไหลตามธัมารมณ์ เห็นจริงได้ไม่ยาก
.. ทาน เป็นเหตุใจอิ่มของปรนเปรอตน อิ่มขันธ์ไม่ต้องการอีก ไม่ล่วงละเมิดในศีล เป็นเหตุให้ศีลเกิดง่าย (โดยมากคนจะเน้นว่า..การอภัยทานเป็นเหตุให้ศึลละเว้นในปาณาติบาต)
.. ศีล ทำให้สติเกิดขึ้นบ่อยๆ การเพียรมุ่งมันเจริญในศีลเป็นการทำให้มีสติเกิดขึ้นบ่อยๆสำรวมระวังในศีลทุกขณะ จิตยังกุศลให้เกิดมีขึ้น ด้วยสัมมัปปธาน ๔ ชื่อว่าเพียรด้วยสติ
.. ความเพียรด้วยสติ ทำใหเสำรวมระวังอินทรีย์ เกิดพละ ๕ ทำให้ศีลถึงความกุศลเย็นใจและจิตเป็นกุศลเกิดขึ้นบ่อยๆ เกิดสุจริต ๓ จิตเป็นกุศลทำให้ใจฉลาดในการปล่อยวางไม่ฟุ้งซ่านเป็นสมาธิง่าย
.. สมาธิ ทำให้สติมีกำลังบริสุทธิ์ และจิตมีกำลังไม่กวัดแกว่งตามสมมติกิเลสของปลอม ทำให้การทำงานของจิตดีขึ้น ทำให้เข้าไปรู้เห็นตามจริงได้ง่าย คือ ญาณทัสสนะ
.. ญาณ ความรู้เห็นตามจริง คือ เข้าไปเห็นของจริง ทำให้จิตน้อมลงมรรคเพื่อเป็นเหตุให้เข้าถึงผล(มรรตญาณ) มรรคที่สามัคคีกันทำให้เข้าถึงพระอริยะสัจ ๔ แท้จริง ชื่อว่าปัญญาญาณ เป็นวิชชา เข้าถึงวิมุตติ หมดสิ้นกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ๆ
- ดังนี้เวลาว่างท่านก็เข้าไปฝึกกรรมฐานในกองและสถานที่ต่างๆ เวลาปรกติดำีรงชีพทำกิจการงานอยู่ ท่านก็เจริญทาน ศีล ให้เกิด สติรู้บ่อยๆ แยกแยะ ยับยั้ง มีทมะ ขันติ อุปสมะ ลงภาวนา
- เมื่อจิตมีกำลังจนเมื่อลืมตาดูท่านไม่ไปจำเอาสีสัณฐานนั้นๆ แต่ดูสิ่งที่ตาเห็น กว่ามันจะส่งมาถึงใจตนรู้มันสังขารไปมากเท่าไหร่ เวทนาที่เกิดขึ้นทางตามัน มันเกิดความสมมติไปมากเท่าไหร่ก่อนมาถึงใจเรา เวทนาทางตาไม่ใช่ของจริง ไม่ได้เกิดที่จิต มันเป็นสมมิเวทนาที่เกิดมาให้ใจรู้ ทั้งๆที่แท้จริงแล้วสิ่งที่มันรับรู้ได้ทางตานี้ มีเพียงภาพสีในรูปร่างต่างๆ แต่เพราะเาอใจเข้ายึดครองรูปนั้นจึงเกิดสมมติเวทนามาที่ใจ เมื่อไม่ยึดสมมติเวทนาทางตา ก็ไม่ยินดียินร้ายใจรูป ละกามคุณทางตา เป็นต้น

----------------------------------------------

- ดังนี้ใครอยากเห็นแบบคุณโรส ก็ทำแบบคุณโรสไป มันเป็นสุขที่ได้ทำ แต่พูดเกินตำราไม่ได้
- ดังนี้ใครอยากเหนือคุณโรส ก็เรียนรู้แล้วปฏิบัติควบคู่กันไป
- ดังนี้ใครอยากเห็นแบบผม ก็เจริญกรรมฐานแบบผม เรียนรู้อภิธรรมได้ให้พอเป็นแนวทางแต่ไม่เอามาทับถมสะกดจิตตน แล้วเจริญปฏิบัติอยู่เนืองๆไม่ขาด


แต่ถึงจะแบบไหนก็ตามจะดีได้หมด หากเราเป็นคนดี ไม่มีใจเบียดเบียนทำร้ายผู้อื่น ไม่มีใจหมายพรากสิ่งอันเป้นที่รักของผู้อื่น ทั้งคน สัตว์ สิ่งของ ไม่กล่าววาจาอันยังความฉิบหายแก่ผู้อื่น ไม่ทำให้สิ่งที่จิตตนไม่มีกำลังทำให้ระลึกไม่ได้ แยกแยะ ยับยั้ง พิจารณาถูกผิดดีชั่วไม่ได้ มันก็ดีหมดแหละครับ ขอแค่น้อมมาทางธรรมไม่หลง ไม่อัตตาธรรม ไม่หลงตน ทำตัวให้เหมือนพระราหุล พระอานนท์ ไม่ถือตัว เรียนรู้ให้มาก มีใจเอื้อเฟื้อเกื้อกูลผู้อื่น ก็เป็นศิษย์ตถาคตแแท้จริง


----------------------------------------------
----------------------------------------------

cool
สะสมปัญญาจากฟัง
ตามปกติเป็นปกตินั้น
ตรงกับคำว่าผู้มีศีลค่ะ
เพราะกำลังฟังเข้าใจ
ตั้งจิตไว้ชอบรู้ตามได้
ตรงตามคำสอนทีละคำ
อกุศลแทรกเข้าไม่ได้ทันที
เพราะกำลังคิดตรงตามได้แล้ว
:b8:
ทางนี้ไม่ขี้เกียจตอบ
เพราะขี้เกียจเป็นอกุศล
จะเอาวิเศษวิโสอะไรหรือคะ
เพราะพระพุทธเจ้าบอกให้เข้าใจถูก
ตามปกติเป็นปกติว่าจิตเห็นสีคือสี1สี
แสงสีกระทบตาดำดับในนั้นทันทีแล้วค่ะ
คุณมองตาคนอื่นก็เห็นสีไม่ได้ไม่เก็ตเลยสักนิด
จะบอกให้เอาบุญนะไม่ต้องสงสัยคำสอนของตถาคต
เพราะคำสอนนั้นตรงจริงแน่นอนคือจิตเห็นสีไม่มีคนสัตว์วัตถุตัวอักษร
อันว่าการนั่งสมาธิหลับตานั้นก็เคยนั่งมาก่อนรู้จริงว่านั่งแล้วกายหายหมดเป็นไงไม่ต้องมโนว่าไม่มีกายเป็นไง
อยากจะเหาะได้อย่างนั้นรึหรือจะรู้จักคำว่าคำสอนของพระพุทธเจ้าคิดถูกตามได้ตามปกติเป็นปกติตรงจริง
คือนั่งฟังเสียงตามไปทีละ1คำต้องใช้สมาธิมากเพราะจิตต้องมั่นคงไม่ส่ายแส่ตามสิ่งที่กำลังเห็นรู้ตัวตรงทาง
:b12:
:b32: :b32:

เลือกหน้าคนที่พูดให้ฟังหรือคะสีดับในลูกตาตัวเองไม่มีคนนอกตาจริงๆมีแต่นิมิตกรรมดีที่ทำให้ได้ยินอีก
ที่ไปทำอะไรอะไรตามที่คิดไว้นั้นคืออยากรู้ไม่ใช่หรือคะถึงเชื่อตามๆกันและไปทำตามๆกันด้วยความไม่รู้
ความรู้ชื่อว่าปัญญารู้ตามคำสอนถูกตามได้คือการดับความเห็นผิดและไม่ลังเลสงสัยในคำสอนก็ฟังอยู่รู้อยู่
https://youtu.be/FpiQt_zhA3M
:b4: :b4:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 25 ธ.ค. 2018, 05:49 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 25 เม.ย. 2009, 02:43
โพสต์: 12232


 ข้อมูลส่วนตัว


Rosarin เขียน:
Kiss
ทราบไหมคะว่าค่าฟังนั้นแพงมากเพราะ
เงินซื้อไม่ได้และเสียเวลาไปแล้วย้อนเวลากลับไปฟังไม่ได้
มีแต่ต้องกำลังเพียรอดทนฟังตรงปัจจุบันขณะตอนลืมตาตื่นรู้เพื่อตามรู้จักกิเลสตนเองค่ะ
:b17: :b17:


:b32: :b32: :b32:

ฟัง...นั้นแพงมาก..จริงจริง...นั้นแหละ..

คุณโรส..ฟังนะ..ฟังตามนี้...เพียรอดทนฟัง..ให้ตรงปัจจุบัน..ขณะลืมตา..เพื่อรู้จักกิเลสตนเองนะ..ครับ


หลักการห้ามความคิด การใช้ความคิด ต้องฝึกทั้งสองอย่าง


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 25 ธ.ค. 2018, 06:18 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 29 ต.ค. 2009, 15:06
โพสต์: 7502

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กบนอกกะลา เขียน:
Rosarin เขียน:
Kiss
ทราบไหมคะว่าค่าฟังนั้นแพงมากเพราะ
เงินซื้อไม่ได้และเสียเวลาไปแล้วย้อนเวลากลับไปฟังไม่ได้
มีแต่ต้องกำลังเพียรอดทนฟังตรงปัจจุบันขณะตอนลืมตาตื่นรู้เพื่อตามรู้จักกิเลสตนเองค่ะ
:b17: :b17:


:b32: :b32: :b32:

ฟัง...นั้นแพงมาก..จริงจริง...นั้นแหละ..

คุณโรส..ฟังนะ..ฟังตามนี้...เพียรอดทนฟัง..ให้ตรงปัจจุบัน..ขณะลืมตา..เพื่อรู้จักกิเลสตนเองนะ..ครับ


หลักการห้ามความคิด การใช้ความคิด ต้องฝึกทั้งสองอย่าง

:b32:
แน่ใจหรือว่าไม่ได้กำลังคิด
รู้ไหมว่าไม่คิดตอนไหน
555หลับสนิทไม่ฝันค่ะ
ที่ลืมตาเห็นแล้วนั้น
ปรากฏแล้วว่าคิด
ที่เห็นสิ่งใดๆ
นั่นน่ะคิด
ก็ไม่รู้
:b32: :b32:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 25 ธ.ค. 2018, 06:45 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 25 เม.ย. 2009, 02:43
โพสต์: 12232


 ข้อมูลส่วนตัว


Rosarin เขียน:
กบนอกกะลา เขียน:
Rosarin เขียน:
Kiss
ทราบไหมคะว่าค่าฟังนั้นแพงมากเพราะ
เงินซื้อไม่ได้และเสียเวลาไปแล้วย้อนเวลากลับไปฟังไม่ได้
มีแต่ต้องกำลังเพียรอดทนฟังตรงปัจจุบันขณะตอนลืมตาตื่นรู้เพื่อตามรู้จักกิเลสตนเองค่ะ
:b17: :b17:


:b32: :b32: :b32:

ฟัง...นั้นแพงมาก..จริงจริง...นั้นแหละ..

คุณโรส..ฟังนะ..ฟังตามนี้...เพียรอดทนฟัง..ให้ตรงปัจจุบัน..ขณะลืมตา..เพื่อรู้จักกิเลสตนเองนะ..ครับ


หลักการห้ามความคิด การใช้ความคิด ต้องฝึกทั้งสองอย่าง

:b32:
แน่ใจหรือว่าไม่ได้กำลังคิด
รู้ไหมว่าไม่คิดตอนไหน
555หลับสนิทไม่ฝันค่ะ
ที่ลืมตาเห็นแล้วนั้น
ปรากฏแล้วว่าคิด
ที่เห็นสิ่งใดๆ
นั่นน่ะคิด
ก็ไม่รู้
:b32: :b32:


ฟัง...ยังละ..คุณโรส.?.

ฟังแล้ว..เป็นยังงัยบ้าง?


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 25 ธ.ค. 2018, 07:10 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-2
Moderators-2
ลงทะเบียนเมื่อ: 16 พ.ย. 2007, 16:58
โพสต์: 7548

แนวปฏิบัติ: พุทธานุสติ
งานอดิเรก: ทำหลายอย่างแต่ตอนนี้ไฟฟ้า
สิ่งที่ชื่นชอบ: ปฏิบัติธรรม ศึกษาธรรม และแบ่งปันต่อไป
อายุ: 0
ที่อยู่: จาก ลาว ครับ

 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:

เมตตา เมตตาาาาาาาาาาาาาาาาาา.......

มหาเมตตาาาาาาาาาาาาาาาา............

:b8:

.....................................................
เมื่อความเห็นใดมีการหัวเราะ ผมขออนุญาตไม่ยุ่ง และตอบนะครับ

สนทนาธรรมโปรดเคารพในพระธรรม และเพื่อนสมาชิกด้วย

เจริญ สติ และปัญญา


เพื่อลดละเลิก ป้องกันสิ่งที่เป็นอกุศลทาง กาย วาจา ใจ
เพื่อเจริญและรักษาไว้ชึ่งสิ่งที่เป็นกุศลทาง กาย วาจา ใจ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 25 ธ.ค. 2018, 08:38 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 29 ต.ค. 2009, 15:06
โพสต์: 7502

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กบนอกกะลา เขียน:
Rosarin เขียน:
กบนอกกะลา เขียน:
Rosarin เขียน:
Kiss
ทราบไหมคะว่าค่าฟังนั้นแพงมากเพราะ
เงินซื้อไม่ได้และเสียเวลาไปแล้วย้อนเวลากลับไปฟังไม่ได้
มีแต่ต้องกำลังเพียรอดทนฟังตรงปัจจุบันขณะตอนลืมตาตื่นรู้เพื่อตามรู้จักกิเลสตนเองค่ะ
:b17: :b17:


:b32: :b32: :b32:

ฟัง...นั้นแพงมาก..จริงจริง...นั้นแหละ..

คุณโรส..ฟังนะ..ฟังตามนี้...เพียรอดทนฟัง..ให้ตรงปัจจุบัน..ขณะลืมตา..เพื่อรู้จักกิเลสตนเองนะ..ครับ


หลักการห้ามความคิด การใช้ความคิด ต้องฝึกทั้งสองอย่าง

:b32:
แน่ใจหรือว่าไม่ได้กำลังคิด
รู้ไหมว่าไม่คิดตอนไหน
555หลับสนิทไม่ฝันค่ะ
ที่ลืมตาเห็นแล้วนั้น
ปรากฏแล้วว่าคิด
ที่เห็นสิ่งใดๆ
นั่นน่ะคิด
ก็ไม่รู้
:b32: :b32:


ฟัง...ยังละ..คุณโรส.?.

ฟังแล้ว..เป็นยังงัยบ้าง?

:b12:
สงสัยหรือคะ...คนที่เขาฟังเข้าใจมันก็จบตรงเข้าใจสะสมปัญญาไปแล้ว
ส่วนคนที่ไม่ได้ทำฟังก็ทำไปตามที่ชอบที่ชอบๆทำก็ไปสู่ที่ชอบที่ชอบไงคะ
ฟังเข้าใจจบแล้วคิดต่อตามที่ลืมตาดูเห็นอะไรก็ผิดไปตามที่เห็นก็ขาดการฟังอยู่ไง
ถ้ากำลังทำฟังอยู่ต้องมีอาการว่าอย่างนี้นะเปิดคลิปดูมีเสียงเข้าหูตาก็ดูไปหูก็ฟังนึกตามคำที่ได้ยินไปเรื่อยๆ
https://youtu.be/ZCZp3TyvYZI
:b32: :b32:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 25 ธ.ค. 2018, 13:07 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 11 ต.ค. 2010, 12:11
โพสต์: 5013


 ข้อมูลส่วนตัว


http://puredhamma.com/1701a0619mo/

อ้างคำพูด:
ทำไมบางทีฟังธรรมแล้วไม่เข้าใจ ฟังธรรมแล้วไม่รู้เรื่อง
ใคร่ครวญดูให้ดีว่า ที่เราไม่เข้าใจเป็นเพราะเหตุอะไร
คนที่ทำในใจโดยแยบคายจะเข้าใจในอริยสัจสี่แล้วรู้ว่า ธรรมะไม่ได้เป็นไปเพื่อความยึดถือ แต่เพื่อความปล่อยวาง
ถ้ามีการเสนอธรรมที่กำหนดบทพยัญชนะหละหลวม เราก็จะต้องเชื่อมกลับไปที่พุทธพจน์เดิมที่พระพุทธเจ้าทรงตรัสไว้ตรงนั้น ๆ ว่าอย่างไร
ฟังธรรมแล้ว ผลดีที่จะเกิดขึ้นตรงที่ว่า เราย่อมเข้าใจชัดในสิ่งที่ได้ฟัง ความสงสัยใด ๆ เมื่อฟังแล้วมันจะบรรเทาลงได้ แก้ปัญหาเหล่านี้ได้ มีความเห็นตรงได้
ศรัทธาเป็นเรื่องที่สำคัญ ทำให้จิตของเราน้อม ทำให้จิตของเราตั้งมั่น เปรียบเหมือนเสาที่ปักลงในพื้นฐานที่มั่นคง เพราะว่าถ้ามีศรัทธาแล้วเราจะได้ฟังธรรม ได้ฟังแล้วเราจะทรงไว้ซึ่งธรรมนั้น ใคร่ครวญเนื้อความให้ดีแล้ว ธรรมะนั้นจะทนต่อการเพ็งพิสูจน์ แล้วเราจะมีความพอใจ มีความอุตสาหะมีความเพียรขึ้นมาได้
ศรัทธาจะมีได้ต้องคบกับคนดี คบกับสัตบุรุษ คบกับพระอริยะเจ้า และศรัทธาก็ปลูกได้จากการที่เราฟังธรรมะด้วย จากการที่เราทำในใจโดยแยบคายด้วย จากการที่เราปฏิบัติสมควรแก่ธรรมด้วย เราฟังไป ทำไป ปฏิบัติไป อย่าท้อแท้ท้อถอย ทรงจำตรงไหนได้เอาตรงนั้น อาจจะเข้าใจไม่ถึง ๑๐๐% แต่เอาที่ได้นั่นแหละเข้าสู่ใจ เอาไปตั้งไว้ซึ่งธรรมะ ให้ธรรมะเข้าสู่ใจอย่างนี้แล้ว เราจะฟังธรรมะรู้เรื่อง

บทคัดย่อ


ทำไมบางทีเราฟังธรรมไม่รู้เรื่อง คือ ไม่สามารถจะทำความเข้าใจให้ถูกต้องได้ว่าข้อนี้เป็นอย่างนี้ข้อนั้นเป็นอย่างนั้น เข้าใจผิดเพี้ยนไปจากที่พระพุทธเจ้าได้หมายเอาไว้และได้ตั้งตรงเอาไว้ แล้วเอาความเข้าใจผิดนั้นมาถือว่าเราเข้าใจถูก นั่นไม่ใช่ว่าเราฟังธรรมรู้เรื่อง คือ ไม่เข้าถึงนิยามที่ถูกต้อง ไม่เข้าถึงในระบบกุศลธรรมที่ถูกต้อง ไม่เป็นไปตามสัมมันตะนิยาม (ระบบแห่งความเห็นที่ถูกต้อง) ถ้าไม่เป็นไปตามนั้นถือว่าไปไม่ได้เลย ไม่เข้าใจเลย หรือไปในเรื่องใหม่ เรื่องที่ไม่ถูกต้อง ไปไม่ถูกทางไปไม่ถูกที่ เป็นลักษณะของมิจฉาทิฏฐิ เพราะฉะนั้นเราจึงต้องมาทำการตรวจสอบกันดูว่า ที่เราไม่เข้าใจนี่เป็นเพราะอะไร

กรณีที่ ๑ พระพุทธเจ้าทรงตรัสไว้ “ถ้าเผื่อว่าเรามัวสนใจแต่คำพูด เราจะไม่เข้าใจ”…นี่มันศัพท์อะไร คำนี้มันหมายถึงอะไร สัมมันตะนิยามคืออะไร อุปทานคืออะไร อวิชชาคืออะไร มัวแต่สนใจคำพูดพวกนี้ แปลไม่ได้ไม่เข้าความหมาย ติดอยู่ศัพท์เดียวก็จมปลักอยู่ตรงนั้น ไปต่อไม่ได้ ทำให้ไม่เข้าใจ

กรณีที่ ๒ มัวแต่สนใจผู้พูด…เสียงทำไมเป็นอย่างนี้ ทำไมหน้าตาเป็นอย่างนี้ ทำไมพูดเรื่องนี้ เช่น ในสมัยพุทธกาล สนใจแต่ลักษณะมหาบุรุษ ๓๒ ประการ ทำให้ฟังธรรมไม่รู้เรื่อง เพราะว่าเมาแต่สนใจผู้พูด ทั้ง ๆ ที่ได้ฟังธรรมจากพระพุทธเจ้า

กรณีที่ ๓ มัวแต่สนใจกับตัวเอง…ไปวัดฟังธรรม แต่ก็ก้มหน้าสนใจไปในเรื่องอื่น หรือบางคนก็จะคิด ไปว่าตนเองบุญน้อยวาสนาน้อยสงสัยว่าตนเองจากเข้าใจธรรมะได้หรือไม่

กรณีที่ ๔ เป็นคนที่มีจิตใจฟุ้งซ่าน มีจิตใจไม่เป็นหนึ่ง เวลาฟังธรรมะจะไม่เข้าใจ…จิตใจที่ฟุ้งซ่าน เดี๋ยวไปคิดเรื่องนั้นเดี๋ยวไปคิดเรื่องนี้กระแสแห่งธรรมะที่มันไหลมา ๆ เราจะจับได้ไม่หมด พระพุทธเจ้าเคยเปรียบเทียบไว้กับตุ่มที่มันคว่ำอยู่ เวลาจะเทอะไรใส่ลงไป มันเข้าไม่ได้ เพราะว่าตุ่มมันคว่ำอยู่ จิตใจที่ปิด ไม่เป็นหนึ่ง ไม่เปิด มันก็ไม่นุ่ม ฟังธรรมก็ไม่เข้าใจ

กรณีที่ ๕ ทำในใจโดยไม่แยบคาย ก็อาจจะทำให้เกิดความเข้าใจผิดได้…การทำในใจโดยไม่แยบคายนั้น หมายถึงว่า ไม่เข้าใจในลักษณะอริยสัจสี่ ไม่เข้าใจในลักษณะความคลายกำหนัด ความปล่อยวาง บางที่เราไปยึดถือในธรรมะว่า ธรรมะนี้ของฉัน ต้องเป็นอย่างนี้เท่านั้น อย่างอื่นไม่ใช่ อันนี้แสดงว่าทำในใจโดยไม่แยบคาย

“…ธรรมะไม่ได้เป็นไปเพื่อความยึดถือ คนที่ทำในใจโดยแยบคายเข้าใจในอริยสัจสี่แล้วจะรู้ว่า ไม่ใช่เพื่อความยึดถือ แต่เพื่อความปล่อยวาง ถ้าทำในใจโดยไม่แยบคายมันไปยึดถือได้ ไปในความไพเราะเพราะพริ้ง ในความสละสลวยของบทพยัญชนะที่กำหนดไว้ถูกต้องชัดเจนของพระพุทธเจ้า แล้วไปกำหนัดตรงนั้น แสดงว่าทำในใจโดยไม่แยบคาย ทำไม่ถูก ทำให้มีเรื่องราวทะเลาะเบาะแว้งกันบ้าง เราจึงต้องทำในใจโดยให้แยบคาย”

กรณีที่ ๖ เป็นคนโง่เง่าเงอะงะ…ในที่นี้หมายถึงว่าเป็นคนเขลา เป็นคนไม่ฉลาด ไม่สามารถที่จะคิดตรรกะหรือว่ากำหนดบทพยัญชนะได้ถูกต้อง

กรณีที่ ๗ สำคัญตนว่ารู้ในสิ่งที่เราไม่รู้…คิดว่ามันมีแค่นี้ นัยยะแค่นี้ ความหมายแค่นี้ สำคัญว่าเรารู้ พอรู้ปุ๊บ มันผิดเลย เรารู้เรามีญาณแล้ว มันก็ไม่เปิดรับสิ่งใหม่ ๆ ทำให้มีความสำคัญผิดไป แทนที่จะทำให้เข้าใจได้มากขึ้นกลับเข้าใจได้เท่าเดิม ไม่รู้เพิ่มเติม

กรณีที่ ๘ มีการลบหลู่ฟังธรรม…ไม่เห็นคุณของพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ ทำให้มีการประมาท ทำให้มีการพลาดพลั้ง ทำให้มีการลบหลู่ฟังธรรม เช่น ฟังธรรมนี้แล้ว ทำไมจะต้องฟังอีก

“…เพราะว่าธรรมะเป็นสิ่งที่พระพุทธเจ้าประกาศไว้ดีแล้ว นี้คือธรรมคุณ ธรรมะเป็นสิ่งที่เชิญเข้ามาพิสูจน์ เป็นสิ่งที่รู้ก็รู้ได้เฉพาะตน เป็นสิ่งที่ควรนำมาปฏิบัติ ควรเอามาเข้าสู่ใจ แล้วความละเอียดลึกซึ้งของธรรมะมันมีมาก ๆ มันมีลึก ๆ มันมีละเอียด ๆ ลงไป ๆ เพราะว่าพระพุทธเจ้าประกาศไว้ดีแล้ว กำหนดบทพยัญชนะไว้ดีแล้ว เป็นภควา เป็นผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน เป็นผู้สอนไว้ดีแล้ว มันมีความละเอียดลึกซึ้ง ถ้าเราคิดว่า นี้เรารู้แล้ว สำคัญตนว่ารู้ในสิ่งที่เราไม่รู้ หรือว่าอันนี้เคยฟังแล้ว หรืออันนี้ก็พูดเรื่องเดิม เราลบหลู่ฟังธรรมแล้ว มันก็ทำให้ไม่เข้าใจ”

กรณีที่ ๙ มีจิตมากไปด้วยความลบหลู่แข่งดีฟังธรรม…ฟังไม่พอยังจะแข่งเทศน์ด้วย เธอพูดมาตรงนี้ ฉันแก้ไปด้วยประเด็นนี้ ทำให้ทุ่มเถียงกัน แข่งดีกัน เอาความดีมาแข่งกันมันดี ดีกว่าแข่งกันทำชั่ว แต่เอาความดีมาอวดกัน มีการลบหลู่คุณท่าน มีการตีตนเสมอท่าน อันนี้ไม่เรียกว่าแข่งกันทำดี อันนี้เขาเรียกว่า “อวดดี” อวดดีแล้วมันฟังธรรมไม่รู้เรื่อง

กรณีที่ ๑๐ คอยจ้องจับความผิดพลาดในผู้แสดงธรรมด้วยจิตมุ่งร้ายแข็งกระด้าง…การจ้องจับผิดด้วยจิตมุ่งร้ายแข็งกระด้างมันต่างกับการแนะนำตักเตือนกันให้ออกจากความผิด เพราะว่าคนที่จ้องจับผิด จิตเขาจะแข็งกระด้าง จิตเขาจะมีความหยาบอยู่ ทำให้เข้าถึงไม่ได้ มันถูกกั้นไว้ พูดอะไรก็ไม่ฟัง แต่คนที่ชี้ช่องให้ออกจากความผิด คือมีจิตที่จะให้บุคคลที่เราบอกเขาพ้นจากความผิดในเรื่องต่าง ๆ ก็ตาม เราจึงบอก จิตใจเขามีความเมตตา มีความอ่อนโยน ไม่ได้มีความระคายเคืองเกิดขึ้นในจิตของเขา แต่มีความปรารถนามีความคิดในการที่จะให้สิ่งที่มันไม่ถูก กลายเป็นสิ่งที่ถูก

“คนที่คอยจ้องจับผิดพลาด คนที่คอยเพ่งโทษ อันนี้เป็นกำลังของคนพาล แต่คนที่คอยปรับปรุงตัวเอง มีคนบอกแล้วก็รับฟังคำตักเตือนนั้นด้วยความเคารพหนักแน่น ไม่เป็นบัณฑิตลืมตัว แต่คอยที่จะพัฒนาปรับปรุงตัวเองให้ดีขึ้น อันนี้เป็นคนดีมีจิตอ่อนนุ่มอ่อนโยน

กรณีที่ ๑๑ บางคนเวลาฟังธรรม มันมีกรรมมากั้นเอาไว้ทำให้ฟังธรรมไม่รู้เรื่อง…เช่น พูดถึงเรื่องศีล ก็เราเพิ่งไปทำผิดศีลมา มันร้อนใจการกระทำที่เราไปทำผิดศีลมาแล้ว พระท่านเทศน์เรื่องศีลพอดี ตรงนี้แหละเป็นเครื่องกั้น ทำให้เราไม่เข้าใจ ทำให้เราร้อนใจ ฟังธรรมไม่รู้เรื่อง และประกอบกับการที่เขาเป็นคนเก้อยาก เป็นคนที่บอกยาก ทำให้ฟังธรรมไม่รู้เรื่อง แต่ถ้าเป็นคนที่มีจิตใจอ่อนโอนอยู่แล้ว เป็นคนที่มีจิตใจที่รับฟังคำตักเตือนด้วยความเคารพหนักแน่น พอเขาจี้ถูกจุด กิเลสมันหลุดไป ความร้อนใจนี้ให้มันหลุดไป มีความคิดที่จะแก้ไข ซึ่งตรงนี้คือการปฏิบัติธรรมแล้ว

“…การปฏิบัติธรรมตรงที่ฟังธรรมเลย มีดี ทำได้ นั่นเพราะว่าจิตที่เรามีการน้อมไปในการที่จะฟังธรรม เวลาที่เขาพูดถูกเรื่องที่เราทำผิดพอดี การแก้ไขมันจะเกิดขึ้นด้วยจิตที่น้อมไปตรงนั้น แต่ถ้าจิตยังแข็งกระด้างอยู่ จิตยังไม่ลงใจไม่มั่นใจ มีความไม่เป็นหนึ่ง สนใจแต่ตัวเอง ทำในใจโดยไม่แยบคาย คิดว่าตัวเองรู้แล้ว ตีตนเสมอท่านในลักษณะนี้ ถ้าเขาพูดจี้ถูกจุดที่เราไปทำผิดเอาไว้มันจะกระด้างขึ้นมาทันที นี้คือ ลักษณะกรรมที่ได้กระทำเอาไว้ มีความร้อนใจ มีความชั่วบังเอาไว้ ก็เลยฟังธรรมไม่รู้เรื่อง”

กรณีที่ ๑๒ มีกิเลสเป็นเครื่องกั้น…เวลากิเลสมันมากั้น มันบัง มันขวางไปหมด เหมือนขวากหนาม เราจะเข้าไปในพงหนาม มีหนามข้างหน้า ข้างหลัง ข้างซ้าย ข้างขวา บนล่างยังมีอีก จะขยับไปทางไหนถูกหนามเกี่ยวหมด มันรัดไว้หมด มันบังไว้หมด ทำให้ไปไม่ได้ ไปไม่ได้อย่างนี้ คือ ฟังธรรมไม่รู้เรื่อง เพราะว่ามีกิเลสมาเป็นเครื่องกั้น

กรณีที่ ๑๓ บางคนมีผลของกรรมหรือวิบากแห่งกรรมที่ทำไว้แล้ว…บางคนฆ่าบิดามารดา ฆ่าพระอรหันต์ ทำให้สงฆ์แตกกัน ทำพระพุทธเจ้าให้ห้อเลือด การทำอนันตริยกรรมเหล่านี้ขวางกั้นมรรคผลนิพพาน ผลที่เกิดขึ้นก็คือ ฟังธรรมอย่างไรก็ตาม มันจะไม่รู้เรื่อง ต่อให้ฟังธรรมจากพระพุทธเจ้าโดยตรง บทแห่งธรรมที่ละเอียด ๆ ลึกซึ้ง อย่างกรณีของพระเจ้าอชาติศัตรู ฟังธรรมที่เรียกว่า “สามัญผลสูตร” (สามารถอ่านเพิ่มเติมในส่วนพระสูตร/เรื่องที่เกี่ยวข้อง)ฟังไม่เข้าใจ ทั้ง ๆ ที่พระพุทธเจ้าทรงแยกแยะแจกแจงให้ฟังอย่างละเอียด ซึ่งนี้ก็คือ ผลของกรรมมันปิดกั้นเอาไว้ทำให้ไม่สามารถที่จะบรรลุธรรมได้ ไม่เข้าถึงธรรมได้

กรณีที่ ๑๔ ไม่มีศรัทธา…ทำให้ไม่มีความลงใจ ความมั่นใจ ความเชื่อใจในคำสอนของพุทธะ พอไม่ลงใจ ไม่มั่นใจ ไม่เชื่อใจแล้ว มันก็ไปต่อไม่ได้ มันตันอยู่ตรงนั้น มันติดอยู่ตรงนั้น

กรณีที่ ๑๕ ความประกอบด้วยความไม่พอใจในการฟังธรรม ถูกเขาบังคับมาบ้าง จำใจฟังบ้าง คือ ถ้าไม่มีฉันทะ มันก็ฟังไม่รู้เรื่อง เสียเวลาไปเปล่า ๆ

กรณีที่ ๑๖ คนที่ไม่มีปัญญา…ศาสนานี้เป็นคำสอนของคนที่มีปัญญา ซึ่งปัญญาในที่นี้ก็คือว่า เรารู้สึกว่ามันไม่ค่อยเที่ยง เรารู้สึกว่าสิ่งที่เราได้รับรู้ รับฟัง รับเห็น รับทราบผ่านมาทางตา หู จมูก ลิ้น กายใจ ว่ามันไม่ค่อยเที่ยง รู้แค่นี้คือ คุณมีปัญญาแล้ว คนที่ไม่มีปัญญาแบบนี้ฟังธรรมมันจะไม่เข้าใจ

“…คนฟังธรรมแล้วไม่เข้าใจ เขาไม่สามารถที่จะแยกแยะให้เห็นถึงความเป็นเหตุเป็นผลของธรรมะออกมาได้ ธรรมะของพระพุทธเจ้าแสดงไว้อย่างรอบคอบ ละเอียดชัดเจน มีความสมบูรณ์บริบูรณ์อยู่ในตัวบทแห่งธรรมนั้น ๆ จะมีเหตุมีผลอยู่พร้อม พูดถึงปัญหาตรงนี้ พูดถึงทางแก้ตรงนั้น พูดถึงเหตุเกิดตรงนี้ พูดถึงผลตรงนั้น พูดถึงเรื่องที่มันจะเป็นตรงนี้ พูดถึงเรื่องที่มันจะเป็นต่อไปตรงนั้น เราฟังเราแยกแยะแล้วให้เห็นถึงความเป็นเหตุเป็นผลตรงนั้น มันจะมี ๒ ก้อน สองก้อนที่พูดถึงนี้ถ้าเราจะแยกโดยทั่ว ๆ ไปเอาเรื่องอริยสัจสี่มาจับก็ได้ สิ่งที่เป็นทุกข์กับเหตุเกิดทุกข์ นี้เป็นต้นเหตุ ก็แยกไว้ส่วนหนึ่ง สิ่งที่เป็นความดับไม่เหลือของทุกข์และก็ทางให้ถึงนั้น ก็แยกเป็นส่วนที่สอง อันนี้คือผลปลาย มีเหตุต้น มีผลปลายอยู่เสมอในทางธรรมะ ไม่ว่าใครจะพูดก็ตาม ถ้าพูดธรรมะที่พระพุทธเจ้าประกาศไว้ดีแล้วโดยบทและพยัญชนะ มันจะต้องแยกถึงความเป็นเหตุเป็นผลได้ หรือถ้าเผื่อว่าเขาอาจจะมีการเสนอธรรม กำหนดบทพยัญชนะที่หละหลวม เราก็จะต้องเชื่อมกลับไป ให้ไปค้นหาในสิ่งที่เป็นพุทธพจน์เดิมที่พระพุทธเจ้าตรัสไว้ว่าอย่างไร ๆ ตรงนั้นจะพบว่าสิ่งที่เป็นพุทธพจน์เดิม เป็นแม่บทเดิม เราจะพบว่ามีสิ่งที่เป็นเหตุต้นผลปลาย เป็นปัญหานี้ เป็นทางแก้นั้น เป็นความมีตรงนี้ เป็นความดับตรงนี้ มันจะเป็นไปในลักษณะนี้ ซึ่งแน่นอนว่า ถ้าเราสามารถแก้ไขปัญหาเหล่านี้ได้ เป็นผู้ที่ไม่ใช่สนใจแต่คำพูด เป็นผู้ที่ไม่ใช่สนใจแต่ผู้พูด เป็นผู้ที่ไม่ใช่สนใจแต่ตัวเอง ให้เป็นคนที่มีจิตเป็นหนึ่งฟังซึ่งธรรม ให้เป็นคนที่มีการทำในใจโดยแยบคาย อย่าเป็นคนโง่เง่าเงอะงะ อย่ามัวแต่สำคัญตนว่ารู้ในสิ่งที่ตนไม่รู้ อย่าลบหลู่ฟังธรรม ไม่ให้มีจิตที่มากไปด้วยความลบหลู่แข่งดีฟังธรรม อย่าไปคอยจ้องจับผิดพลาดในผู้แสดงธรรมด้วยจิตมุ่งร้ายแข็งกระด้าง หรือว่าไม่ทำกรรมอะไรที่มันจะเป็นเครื่องกั้นเครื่องข้องเครื่องขวางในการที่จะทำให้เกิดความเข้าใจในธรรมะ ให้เป็นผู้ที่มีจิตอ่อนโอนฟังธรรม มีจิตนุ่มมีจิตเหมาะ อย่าไปทำกรรมอะไรที่จะเป็นเครื่องข้องให้บรรลุธรรมไม่ได้ คือ อย่าไปทำอนันตริยกรรม ให้เป็นผู้ที่มีศรัทธา มีความพอใจในการฟังธรรม เป็นคนที่เห็นถึงความไม่เที่ยงในสิ่งต่าง ๆ อยู่เรื่อย ๆ ฝึกไว้ตรงนี้ ให้เป็นคนมีปัญญา แล้วฟังแล้วแยกแยะออกให้ได้ว่า ตรงไหนเป็นส่วนเหตุ ตรงไหนเป็นส่วนผล ตรงไหนเป็นเหตุต้น ตรงไหนเป็นผลปลาย ตรงไหนเป็นปัญหา ตรงไหนเป็นทางแก้ ตรงไหนเป็นเรื่องที่มาก่อน ตรงไหนเป็นเรื่องที่จะตามมาทีหลัง ลำดับขั้นเป็นอย่างไร เราจะทำความเข้าใจในธรรมะได้ ฟังธรรมแล้วมันจะเกิดผลดีตรงที่ว่า เราย่อมเข้าใจชัดในสิ่งที่ฟัง ความสงสัยใด ๆ ฟังแล้วมันจะบรรเทาลงได้

“…ฟังธรรมไป ๆ จะทำให้มีความเห็นตรงได้ ฟังไป ๆ แก้ได้สองสามข้อแล้ว ฟังไปอีก ฝืนฟังไปมันจะมีฉันทะได้ ทำให้จิตของผู้ที่ฟังมีความผ่องใส มีความเห็นตรง ถ้าไม่ได้ฟังสิ่งที่ยังไม่เคยได้ฟัง เข้าใจชัดในสิ่งที่ได้ฟังแล้ว เราฟังไป ๆ ถึงแม้ไม่เข้าใจก็พยายามฟังไป เพื่อปลูกศรัทธา ศรัทธาเป็นเรื่องที่สำคัญ เพราะว่าถ้ามีศรัทธาแล้วเราจะได้ฟังธรรม เพราะคนที่มีศรัทธา ปลูกศรัทธาอยู่ มันจะทำให้มีการเข้าไปหา เข้าไปหาแล้วก็จะเข้าไปนั่งใกล้ นั่งใกล้แล้วก็จะเงี่ยโสตลง เงี่ยโสตลงแล้วก็จะได้ฟังธรรม ได้ฟังแล้วเราจะทรงไว้ซึ่งธรรมนั้น ใคร่ครวญเนื้อความให้ดีแล้ว ธรรมะนั้นจะทนต่อการเพ่งพิสูจน์ เมื่อทนต่อการเพ่งพิสูจน์แล้วเราจะมีความพอใจ มีความพอใจแล้วเราจะมีความอุตสาหะ มีความเพียรในการที่จะทำตามนั้น มีความอุตสาหะมีความเพียรแล้ว หาจุดสมดุลได้แล้ว เราก็ตั้งตนไว้ในธรรมนั้น เวลาที่เราตั้งตนไว้ในธรรมนั้น กิเลสต่าง ๆ มันก็ค่อยลอกออกไป

เพราะฉะนั้นศรัทธาจึงสำคัญ ศรัทธาทำให้จิตของเราน้อม ศรัทธาทำให้จิตของเราตั้งมั่น เปรียบเหมือนเสาที่ปักลงในพื้นฐานที่มั่นคง ฝังลึก ดินนี้มั่นคง ทำมุม ๙๐ องศา เสานี้สามารถรับแรงดึงได้ รับน้ำหนักได้อย่างมั่นคง เราจะมีศรัทธาได้ต้องคบกับคนดี คบกับสัตบุรุษ คบกับพระอริยะเจ้า จะสามารถปลูกศรัทธา แต่ศรัทธาก็ปลูกได้จากการที่เราฟังธรรมะด้วย ศรัทธาก็ปลูกได้จากการที่เราทำในใจโดยแยบคายด้วย ศรัทธาก็ปลูกได้จากการที่เราปฏิบัติสมควรแก่ธรรมด้วย เราฟังไป ทำไป ปฏิบัติไป อย่าท้อแท้ท้อถอย สิ่งที่เข้าใจได้ก็มี สิ่งที่ยังไม่เข้าใจก็มี ฟังแล้วจำได้ก็มี ที่ลืมไปก็มี ที่ออกไปอีกหูหนึ่งก็มี ทรงจำไว้ได้เอาตรงนั้น ตรงไหนเราได้ เราเอาตรงนั้น ตรงไหนเราเข้าใจได้ เอาฐานตรงนั้น ใน ๑๐๐% ที่กล่าวมา เราอาจจะเข้าใจไม่ถึง ๑๐๐% เหลือเข้าไปสู่ใจไม่กี่เปอร์เซ็นต์ ก็ให้เอาไม่กี่เปอร์เซนต์นนั้น เอาที่ได้นั่นแหละเข้าสู่ใจ เอาไปตั้งไว้ซึ่งธรรมะ ให้ธรรมะเข้าสู่ใจอย่างนี้แล้ว เราจะฟังธรรมะรู้เรื่อง ”


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 25 ธ.ค. 2018, 19:47 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 25 เม.ย. 2009, 02:43
โพสต์: 12232


 ข้อมูลส่วนตัว


Rosarin เขียน:
กบนอกกะลา เขียน:
Rosarin เขียน:
กบนอกกะลา เขียน:
Rosarin เขียน:
Kiss
ทราบไหมคะว่าค่าฟังนั้นแพงมากเพราะ
เงินซื้อไม่ได้และเสียเวลาไปแล้วย้อนเวลากลับไปฟังไม่ได้
มีแต่ต้องกำลังเพียรอดทนฟังตรงปัจจุบันขณะตอนลืมตาตื่นรู้เพื่อตามรู้จักกิเลสตนเองค่ะ
:b17: :b17:


:b32: :b32: :b32:

ฟัง...นั้นแพงมาก..จริงจริง...นั้นแหละ..

คุณโรส..ฟังนะ..ฟังตามนี้...เพียรอดทนฟัง..ให้ตรงปัจจุบัน..ขณะลืมตา..เพื่อรู้จักกิเลสตนเองนะ..ครับ


หลักการห้ามความคิด การใช้ความคิด ต้องฝึกทั้งสองอย่าง

:b32:
แน่ใจหรือว่าไม่ได้กำลังคิด
รู้ไหมว่าไม่คิดตอนไหน
555หลับสนิทไม่ฝันค่ะ
ที่ลืมตาเห็นแล้วนั้น
ปรากฏแล้วว่าคิด
ที่เห็นสิ่งใดๆ
นั่นน่ะคิด
ก็ไม่รู้
:b32: :b32:


ฟัง...ยังละ..คุณโรส.?.

ฟังแล้ว..เป็นยังงัยบ้าง?

:b12:
สงสัยหรือคะ...คนที่เขาฟังเข้าใจมันก็จบตรงเข้าใจสะสมปัญญาไปแล้ว
ส่วนคนที่ไม่ได้ทำฟังก็ทำไปตามที่ชอบที่ชอบๆทำก็ไปสู่ที่ชอบที่ชอบไงคะ
ฟังเข้าใจจบแล้วคิดต่อตามที่ลืมตาดูเห็นอะไรก็ผิดไปตามที่เห็นก็ขาดการฟังอยู่ไง
ถ้ากำลังทำฟังอยู่ต้องมีอาการว่าอย่างนี้นะเปิดคลิปดูมีเสียงเข้าหูตาก็ดูไปหูก็ฟังนึกตามคำที่ได้ยินไปเรื่อยๆ
https://youtu.be/ZCZp3TyvYZI
:b32: :b32:


:b32:

ถาม..นี้..ไม่ได้สงสัยหรอก...

เพราะรู้อยู่แล้วว่า..โรส..ไม่ฟัง...ดอก

:b12: :b12: :b12:


แสดงโพสต์จาก:  เรียงตาม  
กลับไปยังกระทู้  [ 482 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1 ... 9, 10, 11, 12, 13, 14, 15 ... 33  ต่อไป

เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


 ผู้ใช้งานขณะนี้

กำลังดูบอร์ดนี้: ไม่มีสมาชิก และ บุคคลทั่วไป 147 ท่าน


ท่าน ไม่สามารถ โพสต์กระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ตอบกระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แก้ไขโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ลบโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แนบไฟล์ในบอร์ดนี้ได้

ค้นหาสำหรับ:
ไปที่:  
Google
ทั่วไป เว็บธรรมจักร