วันเวลาปัจจุบัน 29 เม.ย. 2024, 16:38  



เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง




กลับไปยังกระทู้  [ 482 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1 ... 8, 9, 10, 11, 12, 13, 14 ... 33  ต่อไป  Bookmark and Share
เจ้าของ ข้อความ
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 24 ธ.ค. 2018, 22:01 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 11 ต.ค. 2010, 12:11
โพสต์: 5013


 ข้อมูลส่วนตัว


ซึ่งสำนักธรรมตาม YouTube นั้น ก็มีเว็บไซต์ เว็บบอร์ดของสำนัก

:b1:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 24 ธ.ค. 2018, 22:02 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 29 ต.ค. 2009, 15:06
โพสต์: 7502

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


Rosarin เขียน:
Kiss
จิตเห็น
จิตคิดนึก
เห็นน่ะไม่คิด
คนละขณะค่ะ
ลองแยกสิเดี๋ยวนี้
ตอนไหนเห็น...ตอนไหนคิด

ตอนนี้กำลังมีความคิดถึง เห็น คลาดเคลื่อนไม่ตรงและไม่ตามอยู่เพราะไม่รู้ว่าคิดตรงตามทำยังไงถึงจะถูก555
:b32: :b32:

ตรงมากเลยค่ะเห็นผิดคิดผิดอยู่เพราะตอนคิดน่ะมืดที่ลืมตาดูอยู่นี้คิดอะไรมืดสักนิดไหมก็ตอนคิดมืดๆๆๆๆๆ
:b32: :b32:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 24 ธ.ค. 2018, 22:02 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 11 ต.ค. 2010, 12:11
โพสต์: 5013


 ข้อมูลส่วนตัว


แต่คุณรสก็ยังคงสนุกสนานอยู่กับการสำแดงตนในที่แห่งนี้

:b1:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 24 ธ.ค. 2018, 22:07 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 11 ต.ค. 2010, 12:11
โพสต์: 5013


 ข้อมูลส่วนตัว


Rosarin เขียน:
Rosarin เขียน:
Kiss
จิตเห็น
จิตคิดนึก
เห็นน่ะไม่คิด
คนละขณะค่ะ
ลองแยกสิเดี๋ยวนี้
ตอนไหนเห็น...ตอนไหนคิด

ตอนนี้กำลังมีความคิดถึง เห็น คลาดเคลื่อนไม่ตรงและไม่ตามอยู่เพราะไม่รู้ว่าคิดตรงตามทำยังไงถึงจะถูก555
:b32: :b32:

ตรงมากเลยค่ะเห็นผิดคิดผิดอยู่เพราะตอนคิดน่ะมืดที่ลืมตาดูอยู่นี้คิดอะไรมืดสักนิดไหมก็ตอนคิดมืดๆๆๆๆๆ
:b32: :b32:

:b8:

ถ้าเป็นไปได้กลับมาศึกษาธรรมของพระพุทธองค์ให้มากนะคะ
พระสูตรดี ๆ มีเยอะนะคะ
เพราะอาการตอนนี้ของคุณรส การแสดงความคิดอ่านอะไรทางธรรมแบบหลุด ๆ
ยุ่งเหยิงเหมือนยุงตีกันเลย

:b1:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 24 ธ.ค. 2018, 22:11 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 29 ต.ค. 2009, 15:06
โพสต์: 7502

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


eragon_joe เขียน:
แต่คุณรสก็ยังคงสนุกสนานอยู่กับการสำแดงตนในที่แห่งนี้

:b1:


เอกอนมองตาตัวเองไม่ออกหรือคะ
วิถีจิตของเห็นไม่มีคิดปนค่ะเอกอน
และวิถีจิตของจิตคิดนึกไม่เกิดพร้อมเห็น

เด่วนี้คิด+เห็นพร้อมกันได้ไหมมีข่องว่างคั่นด้วยค่ะ
เห็นเกิดตอนสว่าง ขณะคิดแยกจากเห็นแล้ว
ตาเอกอนคิดสว่างมากเลยมีตัวอักษรเยอะมากที่ก็อปแปะนั้นน่ะ

เพราะคิดไม่มีแสงเลยแล้วตอนนี้ก็กำลังมีความคิดเห็นผิดอยู่ค่ะตรงปัจจุบันขณะด้วยค่ะ
:b32: :b32:
โอ๊ยจะรู้สึกตัวตอนไหนคะตรงมากเลย555...ตาไม่บอดก็คิดให้ตรงทีละ1ทางสิกำลังคิดตอนมีแสงผิดไหม
:b32: :b32: :b32: :b32: :b32: :b32:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 24 ธ.ค. 2018, 22:16 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 11 ต.ค. 2010, 12:11
โพสต์: 5013


 ข้อมูลส่วนตัว


Rosarin เขียน:
eragon_joe เขียน:
แต่คุณรสก็ยังคงสนุกสนานอยู่กับการสำแดงตนในที่แห่งนี้

:b1:


เอกอนมองตาตัวเองไม่ออกหรือคะ
วิถีจิตของเห็นไม่มีคิดปนค่ะเอกอน
และวิถีจิตของจิตคิดนึกไม่เกิดพร้อมเห็น

เด่วนี้คิด+เห็นพร้อมกันได้ไหมมีข่องว่างคั่นด้วยค่ะ
เห็นเกิดตอนสว่าง ขณะคิดแยกจากเห็นแล้ว
ตาเอกอนคิดสว่างมากเลยมีตัวอักษรเยอะมากที่ก็อปแปะนั้นน่ะ

เพราะคิดไม่มีแสงเลยแล้วตอนนี้ก็กำลังมีความคิดเห็นผิดอยู่ค่ะตรงปัจจุบันขณะด้วยค่ะ
:b32: :b32:
โอ๊ยจะรู้สึกตัวตอนไหนคะตรงมากเลย555...ตาไม่บอดก็คิดให้ตรงทีละ1ทางสิกำลังคิดตอนมีแสงผิดไหม
:b32: :b32: :b32: :b32: :b32: :b32:

ไปเห็นให้มาก ๆ กว่านี้หน่อยนะคะ เห็นแค่ที่พูดมา เด็ก ๆ เขาเห็นกันค่ะ
ต้องขอยืมคุณผักกาดมาใช้

อ่อนคะ

เห็นแล้วยัง กระดี้กระด๊า กับการเห็นอย่างนี้ :b32:

:b1:

เหมือนกับข้าวมีหลายชนิด แต่ทำเป็นอยู่อย่างเดียว ต้มไข่ และก็เอา ไข่ต้ม มาโชว์

:b1:


แก้ไขล่าสุดโดย eragon_joe เมื่อ 24 ธ.ค. 2018, 22:21, แก้ไขแล้ว 1 ครั้ง

โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 24 ธ.ค. 2018, 22:20 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 11 ต.ค. 2010, 12:11
โพสต์: 5013


 ข้อมูลส่วนตัว


Quote Tipitaka:
๖. ฉฉักกสูตร (๑๔๘)

[๘๑๐] ข้าพเจ้าได้สดับมาอย่างนี้-
สมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ที่พระวิหารเชตวัน อารามของ-
*อนาถบิณฑิกเศรษฐี เขตพระนครสาวัตถี สมัยนั้นแล พระผู้มีพระภาคตรัสเรียก
ภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุเหล่านั้นทูลรับพระดำรัสแล้ว พระผู้มี-
*พระภาคได้ตรัสดังนี้ว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราจักแสดงธรรมแก่เธอทั้งหลาย อัน
ไพเราะในเบื้องต้น ในท่ามกลาง ในที่สุด พร้อมทั้งอรรถทั้งพยัญชนะ ประกาศ
พรหมจรรย์อันบริสุทธิ์บริบูรณ์สิ้นเชิง คือ ธรรมหมวดหก ๖ หมวด พวกเธอจงฟัง
ธรรมนั้น จงใส่ใจให้ดี เราจักกล่าวต่อไป ภิกษุเหล่านั้นทูลรับพระผู้มีพระภาคว่า
ชอบแล้ว พระพุทธเจ้าข้า ฯ
[๘๑๑] พระผู้มีพระภาคจึงได้ตรัสดังนี้ว่า พวกเธอพึงทราบอายตนะภาย
ใน ๖ อายตนะภายนอก ๖ หมวดวิญญาณ ๖ หมวดผัสสะ ๖ หมวดเวทนา ๖
หมวดตัณหา ๖ ฯ
[๘๑๒] ก็ข้อที่เรากล่าวดังนี้ว่า พึงทราบอายตนะภายใน ๖ นั่น เราอาศัย
อะไรกล่าวแล้ว ได้แก่ อายตนะคือจักษุ อายตนะคือโสตะ อายตนะคือฆานะ
อายตนะคือชิวหา อายตนะคือกาย อายตนะคือมโน ข้อที่เรากล่าวดังนี้ว่า พึง
ทราบอายตนะภายใน ๖ นั่น เราอาศัยอายตนะดังนี้ กล่าวแล้ว นี้ธรรมหมวดหก
หมวดที่ ๑ ฯ
[๘๑๓] ก็ข้อที่เรากล่าวดังนี้ว่า พึงทราบอายตนะภายนอก ๖ นั่น เรา
อาศัยอะไรกล่าวแล้ว ได้แก่ อายตนะคือรูป อายตนะคือเสียง อายตนะคือกลิ่น
อายตนะคือรส อายตนะคือโผฏฐัพพะ อายตนะคือธรรมารมณ์ ข้อที่เรากล่าว
ดังนี้ว่า พึงทราบอายตนะภายนอก ๖ นั่น เราอาศัยอายตนะดังนี้ กล่าวแล้ว นี้
ธรรมหมวดหก หมวดที่ ๒ ฯ
[๘๑๔] ก็ข้อที่เรากล่าวดังนี้ว่า พึงทราบหมวดวิญญาณ ๖ นั่น เราอาศัย
อะไรกล่าวแล้ว คือ บุคคลอาศัยจักษุและรูป จึงเกิดจักษุวิญญาณ อาศัยโสตะ
และเสียง จึงเกิดโสตวิญญาณ อาศัยฆานะและกลิ่น จึงเกิดฆานวิญญาณ อาศัย
ชิวหาและรส จึงเกิดชิวหาวิญญาณ อาศัยกายและโผฏฐัพพะ จึงเกิดกายวิญญาณ
อาศัยมโนและธรรมารมณ์ จึงเกิดมโนวิญญาณ ข้อที่เรากล่าวดังนี้ว่า พึงทราบ
หมวดวิญญาณ ๖ นั่น เราอาศัยวิญญาณดังนี้ กล่าวแล้ว นี้ธรรมหมวดหก หมวด
ที่ ๓ ฯ
[๘๑๕] ก็ข้อที่เรากล่าวดังนี้ว่า พึงทราบหมวดผัสสะ ๖ นั่น เราอาศัย
อะไรกล่าวแล้ว คือ บุคคลอาศัยจักษุและรูปเกิดจักษุวิญญาณ ความประจวบของ
ธรรมทั้ง ๓ เป็นผัสสะ อาศัยโสตะและเสียงเกิดโสตวิญญาณ ความประจวบของ
ธรรมทั้ง ๓ เป็นผัสสะ อาศัยฆานะและกลิ่นเกิดฆานวิญญาณ ความประจวบของ
ธรรมทั้ง ๓ เป็นผัสสะ อาศัยชิวหาและรสเกิดชิวหาวิญญาณ ความประจวบของ
ธรรมทั้ง ๓ เป็นผัสสะ อาศัยกายและโผฏฐัพพะเกิดกายวิญญาณ ความประจวบ
ของธรรมทั้ง ๓ เป็นผัสสะ อาศัยมโนและธรรมารมณ์เกิดมโนวิญญาณ ความ
ประจวบของธรรมทั้ง ๓ เป็นผัสสะ ข้อที่เรากล่าวดังนี้ว่า พึงทราบหมวดผัสสะ ๖
นั่น เราอาศัยผัสสะดังนี้ กล่าวแล้ว นี้ธรรมหมวดหก หมวดที่ ๔ ฯ
[๘๑๖] ก็ข้อที่เรากล่าวดังนี้ว่า พึงทราบหมวดเวทนา ๖ นั่น เราอาศัย
อะไรกล่าวแล้ว คือ บุคคลอาศัยจักษุและรูปเกิดจักษุวิญญาณ ความประจวบของ
ธรรมทั้ง ๓ เป็นผัสสะ เพราะผัสสะเป็นปัจจัย จึงมีเวทนา
อาศัยโสตะและเสียงเกิดโสตวิญญาณ ...
อาศัยฆานะและกลิ่นเกิดฆานวิญญาณ ...
อาศัยชิวหาและรสเกิดชิวหาวิญญาณ ...
อาศัยกายและโผฏฐัพพะเกิดกายวิญญาณ ...
อาศัยมโนและธรรมารมณ์เกิดมโนวิญญาณ ความประจวบของธรรมทั้ง ๓
เป็นผัสสะ เพราะผัสสะเป็นปัจจัย จึงมีเวทนา ข้อที่เรากล่าวดังนี้ว่า พึงทราบหมวด
เวทนา ๖ นั่น เราอาศัยเวทนาดังนี้ กล่าวแล้ว นี้ธรรมหมวดหก หมวดที่ ๕ ฯ
[๘๑๗] ก็ข้อที่เรากล่าวดังนี้ว่า พึงทราบหมวดตัณหา ๖ นั่น เราอาศัย
อะไรกล่าวแล้ว คือ บุคคลอาศัยจักษุและรูปเกิดจักษุวิญญาณ ความประจวบของ
ธรรมทั้ง ๓ เป็นผัสสะ เพราะผัสสะเป็นปัจจัย จึงมีเวทนา เพราะเวทนาเป็น
ปัจจัย จึงมีตัณหา
อาศัยโสตะและเสียงเกิดโสตวิญญาณ ...
อาศัยฆานะและกลิ่นเกิดฆานวิญญาณ ...
อาศัยชิวหาและรสเกิดชิวหาวิญญาณ ...
อาศัยกายและโผฏฐัพพะเกิดกายวิญญาณ ...
อาศัยมโนและธรรมารมณ์เกิดมโนวิญญาณ ความประจวบของธรรมทั้ง ๓
เป็นผัสสะ เพราะผัสสะเป็นปัจจัย จึงมีเวทนา เพราะเวทนาเป็นปัจจัย จึงมีตัณหา
ข้อที่เรากล่าวดังนี้ว่า พึงทราบหมวดตัณหา ๖ นั่น เราอาศัยตัณหาดังนี้ กล่าวแล้ว
นี้ธรรมหมวดหก หมวดที่ ๖ ฯ
[๘๑๘] ผู้ใดกล่าวอย่างนี้ว่า จักษุเป็นอัตตา คำของผู้นั้นไม่ควร จักษุ
ย่อมปรากฏแม้ความเกิด แม้ความเสื่อม ก็สิ่งใดแล ปรากฏแม้ความเกิด แม้
ความเสื่อม สิ่งนั้นต้องกล่าวได้อย่างนี้ว่า อัตตาของเราเกิดขึ้นและเสื่อมไป เพราะ
ฉะนั้น คำของผู้ที่กล่าวว่าจักษุเป็นอัตตานั้นจึงไม่ควร ด้วยประการฉะนี้ จักษุจึง
เป็นอนัตตา
ผู้ใดกล่าวว่า รูปเป็นอัตตา คำของผู้นั้นไม่ควร รูปย่อมปรากฏแม้ความ
เกิด แม้ความเสื่อม ก็สิ่งใดแล ปรากฏแม้ความเกิด แม้ความเสื่อม สิ่งนั้น
ต้องกล่าวได้อย่างนี้ว่า อัตตาของเราเกิดขึ้นและเสื่อมไป เพราะฉะนั้น คำของผู้ที่
กล่าวว่า รูปเป็นอัตตานั้นจึงไม่ควร ด้วยประการฉะนี้ จักษุจึงเป็นอนัตตา รูปจึง
เป็นอนัตตา
ผู้ใดกล่าวว่า จักษุวิญญาณเป็นอัตตา คำของผู้นั้นไม่ควร จักษุวิญญาณ
ย่อมปรากฏแม้ความเกิด แม้ความเสื่อม ก็สิ่งใดแลปรากฏแม้ความเกิด แม้ความ
เสื่อม สิ่งนั้นต้องกล่าวได้อย่างนี้ว่า อัตตาของเราเกิดขึ้นและเสื่อมไป เพราะฉะนั้น
คำของผู้ที่กล่าวว่าจักษุวิญญาณเป็นอัตตานั้น จึงไม่ควร ด้วยประการฉะนี้ จักษุจึง
เป็นอนัตตา รูปจึงเป็นอนัตตา จักษุวิญญาณจึงเป็นอนัตตา
ผู้ใดกล่าวว่า จักษุสัมผัสเป็นอัตตา คำของผู้นั้นไม่ควร จักษุสัมผัสย่อม
ปรากฏแม้ความเกิด แม้ความเสื่อม ก็สิ่งใดแล ปรากฏแม้ความเกิด แม้ความ
เสื่อม สิ่งนั้นต้องกล่าวได้อย่างนี้ว่า อัตตาของเราเกิดขึ้นแลเสื่อมไป เพราะฉะนั้น
คำของผู้ที่กล่าวว่าจักษุสัมผัสเป็นอัตตานั้น จึงไม่ควร ด้วยประการฉะนี้ จักษุจึง
เป็นอนัตตา รูปจึงเป็นอนัตตา จักษุวิญญาณจึงเป็นอนัตตา จักษุสัมผัสจึงเป็น
อนัตตา
ผู้ใดกล่าวว่า เวทนาเป็นอัตตา คำของผู้นั้นไม่ควร เวทนาย่อมปรากฏ
แม้ความเกิด แม้ความเสื่อม ก็สิ่งใดแล ปรากฏแม้ความเกิด แม้ความเสื่อม
สิ่งนั้นต้องกล่าวได้อย่างนี้ว่า อัตตาของเราเกิดขึ้นและเสื่อมไป เพราะฉะนั้น คำ
ของผู้ที่กล่าวว่าเวทนาเป็นอัตตา นั้น จึงไม่ควร ด้วยประการฉะนี้ จักษุจึงเป็น
อนัตตา รูปจึงเป็นอนัตตา จักษุวิญญาณจึงเป็นอนัตตา จักษุสัมผัสจึงเป็นอนัตตา
เวทนาจึงเป็นอนัตตา
ผู้ใดกล่าวว่า ตัณหาเป็นอัตตา คำของผู้นั้นไม่ควร ตัณหาย่อมปรากฏแม้
ความเกิด แม้ความเสื่อม ก็สิ่งใดแล ปรากฏแม้ความเกิด แม้ความเสื่อม สิ่ง
นั้นต้องกล่าวได้อย่างนี้ว่า อัตตาของเราเกิดขึ้นและเสื่อมไป เพราะฉะนั้น คำของ
ผู้ที่กล่าวว่า ตัณหาเป็นอัตตานั้น จึงไม่ควร ด้วยประการฉะนี้ จักษุจึงเป็นอนัตตา
รูปจึงเป็นอนัตตา จักษุวิญญาณจึงเป็นอนัตตา จักษุสัมผัสจึงเป็นอนัตตา เวทนาจึง
เป็นอนัตตา ตัณหาจึงเป็นอนัตตา ฯ
[๘๑๙] ผู้ใดกล่าวว่า โสตะเป็นอัตตา ...
ผู้ใดกล่าวว่า ฆานะเป็นอัตตา ...
ผู้ใดกล่าวว่า ชิวหาเป็นอัตตา ...
ผู้ใดกล่าวว่า กายเป็นอัตตา ...
ผู้ใดกล่าวว่า มโนเป็นอัตตา คำของผู้นั้นไม่ควร มโนย่อมปรากฏแม้
ความเกิด แม้ความเสื่อม ก็สิ่งใดแล ปรากฏแม้ความเกิด แม้ความเสื่อม สิ่ง
นั้นต้องกล่าวได้อย่างนี้ว่า อัตตาของเราเกิดขึ้นและเสื่อมไป เพราะฉะนั้น คำของ
ผู้ที่กล่าวว่า มโนเป็นอัตตานั้น จึงไม่ควร ด้วยประการฉะนี้ มโนจึงเป็นอนัตตา
ผู้ใดกล่าวว่า ธรรมารมณ์เป็นอัตตา คำของผู้นั้นไม่ควร ธรรมารมณ์ย่อม
ปรากฏแม้ความเกิด แม้ความเสื่อม ก็สิ่งใดแลปรากฏแม้ความเกิด แม้ความเสื่อม
สิ่งนั้นต้องกล่าวได้อย่างนี้ว่า อัตตาของเราเกิดขึ้นและเสื่อมไป เพราะฉะนั้น คำ
ของผู้ที่กล่าวว่าธรรมารมณ์เป็นอัตตา นั้น จึงไม่ควร ด้วยประการฉะนี้ มโนจึง
เป็นอนัตตา ธรรมารมณ์จึงเป็นอนัตตา ฯ
ผู้ใดกล่าวว่า มโนวิญญาณเป็นอัตตา คำของผู้นั้นไม่ควร มโนวิญญาณ
ย่อมปรากฏแม้ความเกิด แม้ความเสื่อม ก็สิ่งใดแลปรากฏแม้ความเกิด แม้ความ
เสื่อม สิ่งนั้นต้องกล่าวได้อย่างนี้ว่า อัตตาของเราเกิดขึ้นและเสื่อมไป เพราะฉะนั้น
คำของผู้ที่กล่าวว่า มโนวิญญาณเป็นอัตตา นั้น จึงไม่ควร ด้วยประการฉะนี้
มโนจึงเป็นอนัตตา ธรรมารมณ์จึงเป็นอนัตตา มโนวิญญาณจึงเป็นอนัตตา
ผู้ใดกล่าวว่า มโนสัมผัสเป็นอัตตา คำของผู้นั้นไม่ควร มโนสัมผัสย่อม
ปรากฏแม้ความเกิด แม้ความเสื่อม ก็สิ่งใดแล ปรากฏแม้ความเกิด แม้ความ
เสื่อม สิ่งนั้นต้องกล่าวได้อย่างนี้ว่า อัตตาของเราเกิดขึ้นและเสื่อมไป เพราะ
ฉะนั้น คำของผู้ที่กล่าวว่า มโนสัมผัสเป็นอัตตา นั้น จึงไม่ควร ด้วยประการฉะนี้
มโนจึงเป็นอนัตตา ธรรมารมณ์จึงเป็นอนัตตา มโนวิญญาณจึงเป็นอนัตตา มโน-
*สัมผัสจึงเป็นอนัตตา
ผู้ใดกล่าวว่า เวทนาเป็นอัตตา คำของผู้นั้นไม่ควร เวทนาย่อมปรากฏ
แม้ความเกิด แม้ความเสื่อม ก็สิ่งใดแล ปรากฏแม้ความเกิด แม้ความเสื่อม
สิ่งนั้นต้องกล่าวได้อย่างนี้ว่า อัตตาของเราเกิดขึ้นและเสื่อมไป เพราะฉะนั้น คำ
ของผู้ที่กล่าวว่า เวทนาเป็นอัตตา นั้น จึงไม่ควร ด้วยประการฉะนี้ มโนจึงเป็น
อนัตตา ธรรมารมณ์จึงเป็นอนัตตา มโนวิญญาณจึงเป็นอนัตตา มโนสัมผัสจึงเป็น
อนัตตา เวทนาจึงเป็นอนัตตา
ผู้ใดกล่าวว่า ตัณหาเป็นอัตตา คำของผู้นั้นไม่ควร ตัณหาย่อมปรากฏ
แม้ความเกิด แม้ความเสื่อม ก็สิ่งใดแล ปรากฏแม้ความเกิด แม้ความเสื่อม
สิ่งนั้นต้องกล่าวได้อย่างนี้ว่า อัตตาของเราเกิดขึ้นและเสื่อมไป เพราะฉะนั้น คำ
ของผู้ที่กล่าวว่า ตัณหาเป็นอัตตา นั้น จึงไม่ควร ด้วยประการฉะนี้ มโนจึงเป็น
อนัตตา ธรรมารมณ์จึงเป็นอนัตตา มโนวิญญาณจึงเป็นอนัตตา มโนสัมผัสจึงเป็น
อนัตตา เวทนาจึงเป็นอนัตตา ตัณหาจึงเป็นอนัตตา ฯ
[๘๒๐] ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็ปฏิปทาอันให้ถึงความตั้งขึ้นแห่งสักกายะ
ดังต่อไปนี้แล บุคคลเล็งเห็นจักษุว่า นั่นของเรา นั่นเรา นั่นอัตตาของเรา เล็งเห็น
รูปว่า นั่นของเรา นั่นเรา นั่นอัตตาของเรา เล็งเห็นจักษุวิญญาณว่า นั่นของเรา
นั่นเรา นั่นอัตตาของเรา เล็งเห็นจักษุสัมผัสว่า นั่นของเรา นั่นเรา นั่นอัตตา
ของเรา เล็งเห็นเวทนาว่า นั่นของเรา นั่นเรา นั่นอัตตาของเรา เล็งเห็นตัณหาว่า
นั่นของเรา นั่นเรา นั่นอัตตาของเรา เล็งเห็นโสตะว่า นั่นของเรา ... เล็งเห็น
ฆานะว่า นั่นของเรา ... เล็งเห็นชิวหาว่า นั่นของเรา ... เล็งเห็นกายว่า นั่นของ
เรา ... เล็งเห็นมโนว่า นั่นของเรา นั่นเรา นั่นอัตตาของเรา เล็งเห็นธรรมารมณ์
ว่า นั่นของเรา นั่นเรา นั่นอัตตาของเรา เล็งเห็นมโนวิญญาณว่า นั่นของเรา
นั่นเรา นั่นอัตตาของเรา เล็งเห็นมโนสัมผัสว่า นั่นของเรา นั่นเรา นั่นอัตตา
ของเรา เล็งเห็นเวทนาว่า นั่นของเรา นั่นเรา นั่นอัตตาของเรา เล็งเห็นตัณหา
ว่า นั่นของเรา นั่นเรา นั่นอัตตาของเรา ฯ
[๘๒๑] ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็ปฏิปทาอันให้ถึงความดับสักกายะ ดังต่อ
ไปนี้แล บุคคลเล็งเห็นจักษุว่า นั่นไม่ใช่ของเรา ไม่ใช่เรา ไม่ใช่อัตตาของเรา
เล็งเห็นรูปว่า นั่นไม่ใช่ของเรา ไม่ใช่เรา ไม่ใช่อัตตาของเรา เล็งเห็นจักษุวิญญาณ
ว่า นั่นไม่ใช่ของเรา ไม่ใช่เรา ไม่ใช่อัตตาของเรา เล็งเห็นจักษุสัมผัสว่า นั่น
ไม่ใช่ของเรา ไม่ใช่เรา ไม่ใช่อัตตาของเรา เล็งเห็นเวทนาว่า นั่นไม่ใช่ของเรา
ไม่ใช่เรา ไม่ใช่อัตตาของเรา เล็งเห็นตัณหาว่า นั่นไม่ใช่ของเรา ไม่ใช่เรา ไม่
ใช่อัตตาของเรา เล็งเห็นโสตะว่า นั่นไม่ใช่ของเรา ... เล็งเห็นฆานะว่า นั่นไม่ใช่
ของเรา ... เล็งเห็นชิวหาว่า นั่นไม่ใช่ของเรา ... เล็งเห็นกายว่า นั่นไม่ใช่ของเรา
... เล็งเห็นมโนว่า นั่นไม่ใช่ของเรา ไม่ใช่เรา ไม่ใช่อัตตาของเรา เล็งเห็น
ธรรมารมณ์ว่า นั่นไม่ใช่ของเรา ไม่ใช่เรา ไม่ใช่อัตตาของเรา เล็งเห็นมโน-
*วิญญาณว่า นั่นไม่ใช่ของเรา ไม่ใช่เรา ไม่ใช่อัตตาของเรา เล็งเห็นมโนสัมผัส
ว่า นั่นไม่ใช่ของเรา ไม่ใช่เรา ไม่ใช่อัตตาของเรา เล็งเห็นเวทนาว่า นั่นไม่ใช่
ของเรา ไม่ใช่เรา ไม่ใช่อัตตาของเรา เล็งเห็นตัณหาว่า นั่นไม่ใช่ของเรา ไม่
ใช่เรา ไม่ใช่อัตตาของเรา ฯ
[๘๒๒] ดูกรภิกษุทั้งหลาย บุคคลอาศัยจักษุและรูปเกิดจักษุวิญญาณ
ความประจวบของธรรมทั้ง ๓ เป็นผัสสะ เพราะผัสสะเป็นปัจจัย ย่อมเกิดความ
เสวยอารมณ์ เป็นสุขบ้าง เป็นทุกข์บ้าง มิใช่ทุกข์มิใช่สุขบ้าง เขาอันสุขเวทนา
ถูกต้องแล้ว ย่อมเพลิดเพลิน พูดถึง ดำรงอยู่ด้วยความติดใจ จึงมีราคานุสัยนอน
เนื่องอยู่ อันทุกขเวทนาถูกต้องแล้ว ย่อมเศร้าโศก ลำบาก ร่ำไห้ คร่ำครวญ
ทุ่มอก ถึงความหลงพร้อม จึงมีปฏิฆานุสัยนอนเนื่องอยู่ อันอทุกขมสุขเวทนา
ถูกต้องแล้ว ย่อมไม่ทราบชัดความตั้งขึ้น ความดับไป คุณ โทษ และที่สลัด
ออกแห่งเวทนานั้น ตามความเป็นจริง จึงมีอวิชชานุสัยนอนเนื่องอยู่ ดูกรภิกษุ
ทั้งหลาย ข้อที่บุคคลนั้นยังไม่ละราคานุสัยเพราะสุขเวทนา ยังไม่บรรเทาปฏิฆานุ-
*สัยเพราะทุกขเวทนา ยังไม่ถอนอวิชชานุสัยเพราะอทุกขมสุขเวทนา ยังไม่ทำวิช-
*ชาให้เกิดเพราะไม่ละอวิชชาเสีย และจักเป็นผู้กระทำที่สุดแห่งทุกข์ในปัจจุบันได้
นั่นไม่ใช่ฐานะที่มีได้ ฯ
ดูกรภิกษุทั้งหลาย บุคคลอาศัยโสตะและเสียง เกิดโสตวิญญาณ ...
ดูกรภิกษุทั้งหลาย บุคคลอาศัยฆานะและกลิ่น เกิดฆานวิญญาณ ...
ดูกรภิกษุทั้งหลาย บุคคลอาศัยชิวหาและรส เกิดชิวหาวิญญาณ ...
ดูกรภิกษุทั้งหลาย บุคคลอาศัยกายและโผฏฐัพพะ เกิดกายวิญญาณ ...
ดูกรภิกษุทั้งหลาย บุคคลอาศัยมโนและธรรมารมณ์ เกิดมโนวิญญาณ
ความประจวบของธรรมทั้ง ๓ เป็นผัสสะ เพราะผัสสะเป็นปัจจัย ย่อมเกิดความ
เสวยอารมณ์ เป็นสุขบ้าง เป็นทุกข์บ้าง มิใช่ทุกข์มิใช่สุขบ้าง เขาอันสุขเวทนา
ถูกต้องแล้ว ย่อมเพลิดเพลิน พูดถึง ดำรงอยู่ด้วยความติดใจ จึงมีราคานุสัย
นอนเนื่องอยู่ อันทุกขเวทนาถูกต้องแล้ว ย่อมเศร้าโศก ลำบาก ร่ำไห้ คร่ำครวญ
ทุ่มอก ถึงความหลงพร้อม จึงมีปฏิฆานุสัยนอนเนื่องอยู่ อันอทุกขมสุขเวทนา
ถูกต้องแล้ว ย่อมไม่ทราบชัดความตั้งขึ้น ความดับไป คุณ โทษ และที่สลัดออก
แห่งเวทนานั้น ตามความเป็นจริง จึงมีอวิชชานุสัยนอนเนื่องอยู่ ดูกรภิกษุ
ทั้งหลาย ข้อที่บุคคลนั้นยังไม่ละราคานุสัยเพราะสุขเวทนา ยังไม่บรรเทาปฏิฆา-
*นุสัยเพราะทุกขเวทนา ยังไม่ถอนอวิชชานุสัยเพราะอทุกขมสุขเวทนา ยังไม่ทำ
วิชชาให้เกิดเพราะไม่ละอวิชชาเสีย แล้วจักเป็นผู้กระทำที่สุดแห่งทุกข์ในปัจจุบัน
ได้ นั่นไม่ใช่ฐานะที่มีได้ ฯ
[๘๒๓] ดูกรภิกษุทั้งหลาย บุคคลอาศัยจักษุและรูปเกิดจักษุวิญญาณ
ความประจวบของธรรมทั้ง ๓ เป็นผัสสะ เพราะผัสสะเป็นปัจจัย ย่อมเกิดความ
เสวยอารมณ์ เป็นสุขบ้าง เป็นทุกข์บ้าง มิใช่ทุกข์มิใช่สุขบ้าง เขาอันสุขเวทนา
ถูกต้องแล้ว ย่อมไม่เพลิดเพลิน ไม่พูดถึง ไม่ดำรงอยู่ด้วยความติดใจ จึงไม่มี
ราคานุสัยนอนเนื่องอยู่ อันทุกขเวทนาถูกต้องแล้ว ย่อมไม่เศร้าโศก ไม่ลำบาก
ไม่ร่ำไห้ ไม่คร่ำครวญทุ่มอก ไม่ถึงความหลงพร้อม จึงไม่มีปฏิฆานุสัยนอนเนื่อง
อยู่ อันอทุกขมสุขเวทนาถูกต้องแล้ว ย่อมทราบชัดความตั้งขึ้น ความดับไป
คุณ โทษ และที่สลัดออกแห่งเวทนานั้น ตามความเป็นจริง จึงไม่มีอวิชชานุสัย
นอนเนื่องอยู่ ดูกรภิกษุทั้งหลาย ข้อที่บุคคลนั้นละราคานุสัยเพราะสุขเวทนา
บรรเทาปฏิฆานุสัยเพราะทุกขเวทนา ถอนอวิชชานุสัยเพราะอทุกขมสุขเวทนา ยัง
วิชชาให้เกิดขึ้นเพราะละอวิชชาเสียได้ แล้วจักเป็นผู้กระทำที่สุดแห่งทุกข์ใน
ปัจจุบันได้ นั่นเป็นฐานะที่มีได้ ฯ
ดูกรภิกษุทั้งหลาย บุคคลอาศัยโสตะและเสียง เกิดโสตวิญญาณ ...
ดูกรภิกษุทั้งหลาย บุคคลอาศัยฆานะและกลิ่น เกิดฆานวิญญาณ ...
ดูกรภิกษุทั้งหลาย บุคคลอาศัยชิวหาและรส เกิดชิวหาวิญญาณ ...
ดูกรภิกษุทั้งหลาย บุคคลอาศัยกายและโผฏฐัพพะ เกิดกายวิญญาณ ...
ดูกรภิกษุทั้งหลาย บุคคลอาศัยมโนและธรรมารมณ์ เกิดมโนวิญญาณ
ความประจวบของธรรมทั้ง ๓ เป็นผัสสะ เพราะผัสสะเป็นปัจจัย ย่อมเกิดความ
เสวยอารมณ์ เป็นสุขบ้าง เป็นทุกข์บ้าง มิใช่ทุกข์มิใช่สุขบ้าง เขาอันสุขเวทนา
ถูกต้องแล้ว ย่อมไม่เพลิดเพลิน ไม่พูดถึง ไม่ดำรงอยู่ด้วยความติดใจ จึงไม่มี
ราคานุสัยนอนเนื่องอยู่ อันทุกขเวทนาถูกต้องแล้ว ย่อมไม่เศร้าโศก ไม่ลำบาก
ไม่ร่ำไห้ ไม่คร่ำครวญทุ่มอก ไม่ถึงความหลงพร้อม จึงไม่มีปฏิฆานุสัยนอนเนื่อง
อยู่ อันอทุกขมสุขเวทนาถูกต้องแล้ว ย่อมทราบชัดความตั้งขึ้น ความดับไป
คุณ โทษ และที่สลัดออกแห่งเวทนานั้น ตามความเป็นจริง จึงไม่มีอวิชชานุสัย
นอนเนื่องอยู่ ดูกรภิกษุทั้งหลาย ข้อที่บุคคลนั้นละราคานุสัยเพราะสุขเวทนา
บรรเทาปฏิฆานุสัยเพราะทุกขเวทนา ถอนอวิชชานุสัยเพราะอทุกขมสุขเวทนา ยัง
วิชชาให้เกิดขึ้นเพราะละอวิชชาเสียได้ แล้วจักเป็นผู้กระทำที่สุดแห่งทุกข์ในปัจจุ-
*บันได้ นั่นเป็นฐานะที่มีได้ ฯ
[๘๒๔] ดูกรภิกษุทั้งหลาย อริยสาวกผู้สดับแล้ว เห็นอยู่อย่างนี้ ย่อม
เบื่อหน่ายแม้ในจักษุ ย่อมเบื่อหน่ายแม้ในรูป ย่อมเบื่อหน่ายแม้ในจักษุวิญญาณ
ย่อมเบื่อหน่ายแม้ในจักษุสัมผัส ย่อมเบื่อหน่ายแม้ในเวทนา ย่อมเบื่อหน่ายแม้ใน
ตัณหา
ย่อมเบื่อหน่ายแม้ในโสตะ ย่อมเบื่อหน่ายแม้ในเสียง ...
ย่อมเบื่อหน่ายแม้ในฆานะ ย่อมเบื่อหน่ายแม้ในกลิ่น ...
ย่อมเบื่อหน่ายแม้ในชิวหา ย่อมเบื่อหน่ายแม้ในรส ...
ย่อมเบื่อหน่ายแม้ในกาย ย่อมเบื่อหน่ายแม้ในโผฏฐัพพะ ...
ย่อมเบื่อหน่ายแม้ในมโน ย่อมเบื่อหน่ายแม้ในธรรมารมณ์ย่อมเบื่อหน่าย
แม้ในมโนวิญญาณ ย่อมเบื่อหน่ายแม้ในมโนสัมผัส ย่อมเบื่อหน่ายแม้ในเวทนา
ย่อมเบื่อหน่ายแม้ในตัณหา เมื่อเบื่อหน่ายย่อมคลายกำหนัด เพราะคลายกำหนัด
จึงหลุดพ้น เมื่อหลุดพ้นแล้ว ย่อมมีญาณรู้ว่า หลุดพ้นแล้ว และทราบชัดว่า
ชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว กิจที่ควรทำได้ทำเสร็จแล้วกิจอื่นเพื่อความ
เป็นอย่างนี้มิได้มี ฯ
พระผู้มีพระภาคได้ตรัสพระภาษิตนี้แล้ว ภิกษุเหล่านั้นต่างชื่นชมยินดี
พระภาษิตของพระผู้มีพระภาค และเมื่อพระผู้มีพระภาคกำลังตรัสไวยากรณ์ภาษิตนี้
อยู่ ภิกษุประมาณ ๖๐ รูป ได้มีจิตหลุดพ้นจากอาสวะ เพราะไม่ถือมั่นแล ฯ
จบ ฉฉักกสูตร ที่ ๖


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 24 ธ.ค. 2018, 22:25 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 11 ต.ค. 2010, 12:11
โพสต์: 5013


 ข้อมูลส่วนตัว


Rosarin เขียน:
eragon_joe เขียน:
แต่คุณรสก็ยังคงสนุกสนานอยู่กับการสำแดงตนในที่แห่งนี้

:b1:

เอกอนมองตาตัวเองไม่ออกหรือคะ
วิถีจิตของเห็นไม่มีคิดปนค่ะเอกอน
และวิถีจิตของจิตคิดนึกไม่เกิดพร้อมเห็น

เด่วนี้คิด+เห็นพร้อมกันได้ไหมมีข่องว่างคั่นด้วยค่ะ
เห็นเกิดตอนสว่าง ขณะคิดแยกจากเห็นแล้ว
ตาเอกอนคิดสว่างมากเลยมีตัวอักษรเยอะมากที่ก็อปแปะนั้นน่ะ

เพราะคิดไม่มีแสงเลยแล้วตอนนี้ก็กำลังมีความคิดเห็นผิดอยู่ค่ะตรงปัจจุบันขณะด้วยค่ะ
:b32: :b32:
โอ๊ยจะรู้สึกตัวตอนไหนคะตรงมากเลย555...ตาไม่บอดก็คิดให้ตรงทีละ1ทางสิกำลังคิดตอนมีแสงผิดไหม
:b32: :b32: :b32: :b32: :b32: :b32:

:b32: :b32: :b32:

อ๊บซ์ เห็นยัง ว่าเหมือนใคร

:b32: :b32: :b32:

อ๊บซ์ลองทายซิ ว่าใคร ... ติ๊กตอก ติ๊กตอก

:b32: :b32: :b32:


แก้ไขล่าสุดโดย eragon_joe เมื่อ 24 ธ.ค. 2018, 22:26, แก้ไขแล้ว 1 ครั้ง

โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 24 ธ.ค. 2018, 22:26 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 29 ต.ค. 2009, 15:06
โพสต์: 7502

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


eragon_joe เขียน:
Rosarin เขียน:
eragon_joe เขียน:
แต่คุณรสก็ยังคงสนุกสนานอยู่กับการสำแดงตนในที่แห่งนี้

:b1:


เอกอนมองตาตัวเองไม่ออกหรือคะ
วิถีจิตของเห็นไม่มีคิดปนค่ะเอกอน
และวิถีจิตของจิตคิดนึกไม่เกิดพร้อมเห็น

เด่วนี้คิด+เห็นพร้อมกันได้ไหมมีข่องว่างคั่นด้วยค่ะ
เห็นเกิดตอนสว่าง ขณะคิดแยกจากเห็นแล้ว
ตาเอกอนคิดสว่างมากเลยมีตัวอักษรเยอะมากที่ก็อปแปะนั้นน่ะ

เพราะคิดไม่มีแสงเลยแล้วตอนนี้ก็กำลังมีความคิดเห็นผิดอยู่ค่ะตรงปัจจุบันขณะด้วยค่ะ
:b32: :b32:
โอ๊ยจะรู้สึกตัวตอนไหนคะตรงมากเลย555...ตาไม่บอดก็คิดให้ตรงทีละ1ทางสิกำลังคิดตอนมีแสงผิดไหม
:b32: :b32: :b32: :b32: :b32: :b32:

ไปเห็นให้มาก ๆ กว่านี้หน่อยนะคะ เห็นแค่ที่พูดมา เด็ก ๆ เขาเห็นกันค่ะ
ต้องขอยืมคุณผักกาดมาใช้

อ่อนคะ

เห็นแล้วยัง กระดี้กระด๊า กับการเห็นอย่างนี้ :b32:

:b1:

เหมือนกับข้าวมีหลายชนิด แต่ทำเป็นอยู่อย่างเดียว ต้มไข่ และก็เอา ไข่ต้ม มาโชว์

:b1:

ยอมรับตาตัวเองให้ได้ก่อนว่าเห็นผิดอยู่ตถาคตสอนให้รู้ตัวว่ามีกิเลสค่ะเอกอน
ไม่งั้นอ่านพระไตรปิฎกไม่รู้เรื่องหรอกค่ะเพราะไม่มีปัญญาถูกตรงตาตัวเองที่เห็นค่ะ
นอนหลับให้สบายใจเลยค่ะถ้าไม่รู้ว่าตาเนื้อผลิตกิเลสก็เกิดมาตายเปล่าๆปัญญาเกิดตอนได้ยินอ่ะค่ะ
:b32: :b32:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 24 ธ.ค. 2018, 22:35 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 11 ต.ค. 2010, 12:11
โพสต์: 5013


 ข้อมูลส่วนตัว


Rosarin เขียน:
eragon_joe เขียน:
Rosarin เขียน:
eragon_joe เขียน:
แต่คุณรสก็ยังคงสนุกสนานอยู่กับการสำแดงตนในที่แห่งนี้

:b1:


เอกอนมองตาตัวเองไม่ออกหรือคะ
วิถีจิตของเห็นไม่มีคิดปนค่ะเอกอน
และวิถีจิตของจิตคิดนึกไม่เกิดพร้อมเห็น

เด่วนี้คิด+เห็นพร้อมกันได้ไหมมีข่องว่างคั่นด้วยค่ะ
เห็นเกิดตอนสว่าง ขณะคิดแยกจากเห็นแล้ว
ตาเอกอนคิดสว่างมากเลยมีตัวอักษรเยอะมากที่ก็อปแปะนั้นน่ะ

เพราะคิดไม่มีแสงเลยแล้วตอนนี้ก็กำลังมีความคิดเห็นผิดอยู่ค่ะตรงปัจจุบันขณะด้วยค่ะ
:b32: :b32:
โอ๊ยจะรู้สึกตัวตอนไหนคะตรงมากเลย555...ตาไม่บอดก็คิดให้ตรงทีละ1ทางสิกำลังคิดตอนมีแสงผิดไหม
:b32: :b32: :b32: :b32: :b32: :b32:

ไปเห็นให้มาก ๆ กว่านี้หน่อยนะคะ เห็นแค่ที่พูดมา เด็ก ๆ เขาเห็นกันค่ะ
ต้องขอยืมคุณผักกาดมาใช้

อ่อนคะ

เห็นแล้วยัง กระดี้กระด๊า กับการเห็นอย่างนี้ :b32:

:b1:

เหมือนกับข้าวมีหลายชนิด แต่ทำเป็นอยู่อย่างเดียว ต้มไข่ และก็เอา ไข่ต้ม มาโชว์

:b1:

ยอมรับตาตัวเองให้ได้ก่อนว่าเห็นผิดอยู่ตถาคตสอนให้รู้ตัวว่ามีกิเลสค่ะเอกอน
ไม่งั้นอ่านพระไตรปิฎกไม่ร๔้เรื่องหรอกค่ะเพราะไม่มีปัญญาถูกตรงตาตัวเองที่เห็นค่ะ
:b32: :b32:

เอกอนเข้าใจอายตนะอย่างที่เป็นค่ะ เท่าที่มีกำลังทำได้ค่ะ
ซึ่งเอกอนก็รู้ว่า สิ่งใดที่ตนกระทำได้ และสิ่งใดที่ตนยังต้องกระทำให้มาก
โดยมีคำสอนของพระพุทธองค์เป็นที่สอบทานค่ะ
ซึ่งเอกอนก็เห็นธรรมไปตามลำดับ ไปตามแนวทางที่พระพุทธองค์สอนค่ะ

:b1:

และที่สำคัญ พระพุทธองค์สอน ปฐมเทศนา นะคะ
สิ่งที่คุณรสเข้าใจ มันแหว่งไปเยอะเลยค่ะ ไม่มีความครบถ้วนเลย

:b1:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 24 ธ.ค. 2018, 22:45 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 11 ต.ค. 2010, 12:11
โพสต์: 5013


 ข้อมูลส่วนตัว


eragon_joe เขียน:
Rosarin เขียน:
eragon_joe เขียน:
แต่คุณรสก็ยังคงสนุกสนานอยู่กับการสำแดงตนในที่แห่งนี้

:b1:

เอกอนมองตาตัวเองไม่ออกหรือคะ
วิถีจิตของเห็นไม่มีคิดปนค่ะเอกอน
และวิถีจิตของจิตคิดนึกไม่เกิดพร้อมเห็น

เด่วนี้คิด+เห็นพร้อมกันได้ไหมมีข่องว่างคั่นด้วยค่ะ
เห็นเกิดตอนสว่าง ขณะคิดแยกจากเห็นแล้ว
ตาเอกอนคิดสว่างมากเลยมีตัวอักษรเยอะมากที่ก็อปแปะนั้นน่ะ

เพราะคิดไม่มีแสงเลยแล้วตอนนี้ก็กำลังมีความคิดเห็นผิดอยู่ค่ะตรงปัจจุบันขณะด้วยค่ะ
:b32: :b32:
โอ๊ยจะรู้สึกตัวตอนไหนคะตรงมากเลย555...ตาไม่บอดก็คิดให้ตรงทีละ1ทางสิกำลังคิดตอนมีแสงผิดไหม
:b32: :b32: :b32: :b32: :b32: :b32:

:b32: :b32: :b32:

อ๊บซ์ เห็นยัง ว่าเหมือนใคร

:b32: :b32: :b32:

อ๊บซ์ลองทายซิ ว่าใคร ... ติ๊กตอก ติ๊กตอก

:b32: :b32: :b32:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 24 ธ.ค. 2018, 22:55 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 11 ต.ค. 2010, 12:11
โพสต์: 5013


 ข้อมูลส่วนตัว


Rosarin เขียน:
แค่อากาศ เขียน:
Rosarin เขียน:
แค่อากาศ เขียน:
คนอื่นเขาอ่านพระสูตรแล้วเห็นไตรลักษณ์และทางตาเห็นทางพ้นทุกข์กันหมดแล้ว
คุณโรสยังเห็นเป็นสีๆๆอยู่เลย :b32: :b32: :b32:
ปัญญาสะสมมาต่างกันก็แบบนี้ :b32: :b32: :b32:

บอกไม่ผิดตรงมาก
ดูตาตัวเองสิไม่เห็นรึ
ตถาคตทำได้แค่บอก
สาวกที่ฟังเข้าใจถูกตาม
ก็ทำได้แค่บอกเท่านั้นเอง
เพราะสาวกมีหน้าที่ตั้งใจฟัง
พระอาฬารดาบสกับพระอุทกดาบส
สำเร็จฌานทุกชั้นขาดอย่างเดียวเองไม่ได้ฟังคำสอน
:b32: :b32:
มีคลิปเด็ดมาให้พิจารณา...ขอเชิญรับยาช่องนี้ค่ะ
https://youtu.be/HvCuvu_fRL8



นี่แสดงว่าคุณโรสนี้ไม่เข้าใจอะไรสักอย่างเลยนะ :b32: :b32:

สุตะไม่ใช่การฟังเท่านั้น ที่บอกว่าฟัง "เพราะสมัยก่อนไม่มีบันทึกไว้ให้อ่าน จึงกล่าวว่า เธอจงมาฟังธรรม"
- แต่สุตะที่พระพุทธเจ้าตรัสสอนโดยแท้จริงแล้วหมายถึง การเรียนรู้ศึกษา ซึ่งการเรียนรู้ศึกษานั้นมีทั้งการดู-ฟัง-อ่าน ถ้าฟังเท่านั้นจึงจะรู้ธรรม..พระพุทธเจ้าก็บัญญัติเป็น "สดับมยะปัญญา" แล้วสิ ถึงบอกว่าคุณโรสมั่วมาก มั่วเห็นผิดมาตลอด (สิ่งนี้เป็นแนวทางวิธีทำ เป็นป้ายบอกทาง เป็นแผนที่), การสังเกตุคิดพิจารณาทำความเข้าใจตาม(จินตะ) จนเมื่อเจริญปฏิบัติตามจนเห็นชัดจริงก็จึงเป็นจิตนะแท้ๆ(สิ่งนี้เป้นการเดินทางตามแผนที่ ตามป้ายบอกทาง)

- ทำไม่สุตะในหัวใจนักปราชญ์ จึงเป็น ดู คิด ถาม จด กันนะ ทั้งๆที่เป็น สุตะมยปัญญาเหมือนกัน เป็นสิ่งที่บัณฑิต ที่นักปราชญ์ทำ :b32: :b32: :b32: หรือว่า สุตะมีความหมายที่มากกว่าฟัง คนมีปัญญาคงเห็นและเข้าใจได้เนาะ :b32: :b32: :b32:

- วันที่ไม่มีอินเทอร์เน็ต ไม่มีคนเทศนา ไม่มีเทป ไม่มีซีดี ไม่มีเครื่องเสียงในโลก มีแต่ใบลานพระไตรปิฏกในตู้ คุณโรสก็คงจะผิดศีล ฆ่าสัตว์ ฆ่าคน เบียดเบียน ลักขโมย เป็นชู้กับสามีเขา พูดจาหยาบคาย โกหก ปลิ้นปล้อน ตอแหล ยุยงให้คนแตกกัน พูดแต่คำไม่มีประโยชน์ กินเหล้าเสพย์ยา เมาราคะ เมาโทสะ เมาโมหะ

:b32: :b32: :b32:

พูดไปแต่ดูเหมือนปัญญาของคุณโรสคงยังไม่เข้าใจเนาะ มันทำให้เห็นอะไรๆอีกมากมายกับของปลอมจากคุณโรส "เดินแต่ไม่ดูทางฟังเสียงเคาะไปเรื่อยๆเลยจิตนาการไปมากถึงสิ่งต่างๆว่าเป็นอย่างนั้นอย่างนี้ทั้งๆที่ไม่เคยได้เห็นจริงเลย" :b32: :b32:

ที่ไม่เฉลยแต่ต้นเพราะดูปัญญาคนโรสว่าจะฉุกคิดอะไรได้บ้างไหม เหมือน โมหะ กับอุเบกขา ถามว่าต่างกันอย่างไร จนถึงตอนนี้ยังเป็นเพียงสีๆที่ละขณะจิตอยู่เลย :b32: :b32: :b32:

..ที่ผมแนะนำนี้ไม่ได้บอกว่าการฟังไม่ดีนะครับ ฟังอะมันดี ฟังแล้วทำตามด้วยมันยิ่งดีมันทำได้ทันที ดูก็ทำได้เหมือนครูบาอาจารย์เดินจงกรมให้ดู เราก็เดินตามได้ถูกต้องตรงตามไม่เฉยๆมันก็ไม่รู้แนวไหน หรือ ..อ่าน ในขณะอ่านใจเราน้อมตามธรรมนั้นๆเราก็เข้าถึงทำได้
..ขณะที่อ่านแล้วใจน้อมไปตามธรรมสิ่งที่เห็นทางตาจะกลายเป็นเพียงนิมิตที่จิตจับมั่นเป็นอารมณ์เดียวทางตาแล้วจิตเดินเข้าสมาธิ เหมือนคนที่เล่นกสิน เขาใจตาจดจำภาพ..แล้วมองที่ใจน้อมใจไปในอารมร์เดียวที่ภาพนั้นจิตเดินเข้าฌาณด้ยอาาศัยนิมิตนั้น เพราะทำมันทำที่ใจไม่ใช่ที่ตา หรือหู
..ดังนั้นการเรียนศึกษาไม่ว่าทางไหนก็ดีหมดถ้าเรียนแล้วทำเจริญปฏิบัติเพื่อความเข้าใจเห็นจริง(จินตะ)

:b32:
ยังไม่ชัดหรือคะ
อนุสาสนีปาฏิหาริย์ของคำสอนคือดับเห็นผิดที่กำลังเห็นทันทีที่เข้าใจถูกตาม
เข้าใจไม่ถูกไม่ตรงหรือคะว่าเด่วนี้กำลังเห็นผิดเป็นคนสัตว์วัตถุตัวอักษรอยู่ค่ะ
อ่านคำว่า...จิตเห็นสี...นี่คือจริง...ตัวเองเห็นไม่ตรงตามคำสอนอยู่เดี๋ยวนี้เองคือมีกิเลส

:b55: :b55: :b55:


:b32: :b32: :b32:



Quote Tipitaka:
ปาฏิหาริย์ ๓ อย่าง

[๔๘๓] พระผู้มีพระภาคตรัสว่า “เกวัฏฏะ เราทำให้แจ้งปาฏิหาริย์ ๓ อย่างนี้
ด้วยปัญญาอันยิ่งเองแล้วจึงได้ประกาศให้รู้กัน ปาฏิหาริย์ ๓ อย่างคืออะไรบ้าง คือ
อิทธิปาฏิหาริย์ อาเทสนาปาฏิหาริย์ และอนุสาสนีปาฏิหาริย์

๑. อิทธิปาฏิหาริย์

[๔๘๔] เกวัฏฏะ ก็อิทธิปาฏิหาริย์เป็นอย่างไร คือ ภิกษุในธรรมวินัยนี้
แสดงฤทธิ์ได้หลายอย่าง คือ คนเดียวแสดงเป็นหลายคนก็ได้ หลายคนแสดงเป็นคน
เดียวก็ได้ แสดงให้ปรากฏหรือให้หายไปก็ได้ ทะลุฝา กำแพง(และ)ภูเขาไปได ้ไม่ติด
ขัดเหมือนไปในที่ว่างก็ได้ ผุดขึ้นหรือดำลงในแผ่นดินเหมือนไปในน้ำก็ได้ เดินบนน้ำ
โดยที่น้ำไม่แยกเหมือนเดินบนแผ่นดินก็ได้ นั่งขัดสมาธิเหาะไปในอากาศเหมือนนก
บินไปก็ได้ ใช้ฝ่ามือลูบคลำดวงจันทร์ดวงอาทิตย์อันมีฤทธิ์มากมีอานุภาพมากก็ได้
ใช้อำนาจทางกายไปจนถึงพรหมโลกก็ได้
เพราะเหตุนั้น ผู้ใดผู้หนึ่งที่มีศรัทธาเลื่อมใสเห็นภิกษุนั้นแสดงฤทธิ์ได้หลาย
อย่าง คือ คนเดียวแสดงเป็นหลายคนก็ได้ ฯลฯ ใช้อำนาจทางกายไปจนถึง
พรหมโลกก็ได้ ผู้นั้นจะบอกแก่บุคคลผู้ที่ยังไม่มีศรัทธายังไม่เลื่อมใสว่า ‘น่าอัศจรรย์
จริง ไม่เคยปรากฏ สมณะมีฤทธิ์มากมีอานุภาพมากเหลือเกิน ข้าพเจ้าเพิ่งเคยเห็น
ท่านนี้ที่แสดงฤทธิ์ได้หลายอย่าง คือ คนเดียวแสดงเป็นหลายคนก็ได้ ฯลฯ ใช้
อำนาจทางกายไปจนถึงพรหมโลกก็ได้’
เมื่อเป็นเช่นนั้น ผู้ที่ยังไม่มีศรัทธายังไม่เลื่อมใสจะพูดกับผู้ที่มีศรัทธาเลื่อมใส
ว่า ‘ท่าน มีวิชาประเภทหนึ่งเรียกว่าคันธาริ๑- ภิกษุรูปนั้นแสดงฤทธิ์ได้หลายอย่าง คือ
คนเดียวแสดงเป็นหลายคนก็ได้ ฯลฯ ใช้อำนาจทางกายไปจนถึงพรหมโลกก็ได้
เพราะมีวิชานั้น’
เกวัฏฏะ ท่านเข้าใจเรื่องนั้นว่าอย่างไร ผู้ที่ยังไม่มีศรัทธายังไม่เลื่อมใสจะพูด
กับผู้ที่มีศรัทธาเลื่อมใสอย่างนั้นหรือไม่”
เขากราบทูลว่า “ต้องพูดแน่ พระพุทธเจ้าข้า”
พระผู้มีพระภาคตรัสว่า “เกวัฏฏะ เราเล็งเห็นโทษในอิทธิปาฏิหาริย์อย่างนี้
จึงเหนื่อยหน่าย ระอา รังเกียจเรื่องอิทธิปาฏิหาริย์

๒. อาเทสนาปาฏิหาริย์

[๔๘๕] เกวัฏฏะ ก็อาเทสนาปาฏิหาริย์เป็นอย่างไร คือ ภิกษุในธรรมวินัยนี้
ทายจิต ทายเจตสิก ทายความวิตกวิจารของสัตว์อื่นของบุคคลอื่นได้ว่า จิตของท่าน
เป็นอย่างนี้ เป็นไปโดยอาการอย่างนี้ เป็นดังนี้
เพราะเหตุนั้น ผู้ใดผู้หนึ่งที่มีศรัทธาเลื่อมใสเห็นภิกษุนั้นทายจิต ทายเจตสิก
ทายความวิตกวิจารของสัตว์อื่นของบุคคลอื่นได้ว่า จิตของท่านเป็นอย่างนี้ เป็นไป
โดยอาการอย่างนี้ เป็นดังนี้ ผู้นั้นจะบอกแก่บุคคลผู้ที่ยังไม่มีศรัทธายังไม่เลื่อมใสว่า
‘น่าอัศจรรย์จริง ไม่เคยปรากฏ สมณะมีฤทธิ์มากมีอานุภาพมากเหลือเกิน ข้าพเจ้า
เพิ่งเคยเห็นท่านนี้ที่ทายจิต ทายเจตสิก ทายความวิตกวิจารของสัตว์อื่นของบุคคล
อื่นได้ว่า จิตของท่านเป็นอย่างนี้ เป็นไปโดยอาการอย่างนี้ เป็นดังนี้’
เมื่อเป็นเช่นนั้น ผู้ที่ยังไม่มีศรัทธายังไม่เลื่อมใสจะพูดกับผู้มีศรัทธาเลื่อมใสว่า
‘ท่าน มีวิชาประเภทหนึ่งเรียกว่ามณิกา๑- ภิกษุรูปนั้นทายจิต ทายเจตสิก ทายความ
วิตกวิจารของสัตว์อื่นของบุคคลอื่นได้ว่า จิตของท่านเป็นอย่างนี้ เป็นไปโดยอาการ
อย่างนี้ เป็นดังนี้ เพราะมีวิชานั้น’
เกวัฏฏะ ท่านเข้าใจเรื่องนั้นว่าอย่างไร ผู้ที่ยังไม่ศรัทธายังไม่เลื่อมใสจะพูดกับ
ผู้ที่มีศรัทธาเลื่อมใสอย่างนั้นหรือไม่”
เขากราบทูลว่า “ต้องพูดแน่ พระพุทธเจ้าข้า”
พระผู้มีพระภาคตรัสว่า “เราเล็งเห็นโทษในอาเทสนาปาฏิหาริย์อย่างนี้ จึง
เหนื่อยหน่าย ระอา รังเกียจเรื่องอาเทสนาปาฏิหาริย์

๓. อนุสาสนีปาฏิหาริย์

[๔๘๖] เกวัฏฏะ ก็อนุสาสนีปาฏิหาริย์เป็นอย่างไร คือ ภิกษุในธรรมวินัยนี้
ย่อมพร่ำสอนอย่างนี้ว่า ‘ท่านจงตรึกตรองอย่างนี้ อย่าตรึกตรองอย่างนั้น จงใส่ใจ
อย่างนี้ อย่าใส่ใจอย่างนั้น จงละสิ่งนี้จงเข้าถึงสิ่งนี้อยู่เถิด’ นี้จัดเป็นอนุสาสนี-
ปาฏิหาริย์อย่างหนึ่ง
ยังมีอีก เกวัฏฏะ ตถาคตอุบัติขึ้นมาในโลกนี้ เป็นพระอรหันต์ ตรัสรู้ด้วยตนเอง
โดยชอบ ฯลฯ๑- (พึงนำข้อความเต็มในสามัญญผลสูตรมาใส่ไว้ในที่นี้) ภิกษุชื่อว่า
สมบูรณ์ด้วยศีลเป็นอย่างนี้แล ฯลฯ บรรลุปฐมฌานอยู่ นี้จัดเป็นอนุสาสนีปาฏิหาริย์
อย่างหนึ่ง
ฯลฯ บรรลุทุติยฌานอยู่ บรรลุตติยฌานอยู่ บรรลุจตุตถฌานอยู่ ฯลฯ น้อม
จิตไปเพื่อญาณทัสสนะ ฯลฯ นี้จัดเป็นอนุสาสนีปาฏิหาริย์อย่างหนึ่ง ฯลฯ รู้ชัดว่า ...
ไม่มีกิจอื่นเพื่อความเป็นอย่างนี้อีกต่อไป นี้จัดเป็นอนุสาสนีปาฏิหาริย์อย่างหนึ่ง

เกวัฏฏะ เราทำให้แจ้งปาฏิหาริย์ ๓ อย่างนี้ด้วยปัญญาอันยิ่งเองแล้วจึง
ประกาศให้รู้กัน


แก้ไขล่าสุดโดย eragon_joe เมื่อ 24 ธ.ค. 2018, 22:58, แก้ไขแล้ว 2 ครั้ง.

โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 24 ธ.ค. 2018, 22:56 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 29 ต.ค. 2009, 15:06
โพสต์: 7502

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


eragon_joe เขียน:
eragon_joe เขียน:
Rosarin เขียน:
eragon_joe เขียน:
แต่คุณรสก็ยังคงสนุกสนานอยู่กับการสำแดงตนในที่แห่งนี้

:b1:

เอกอนมองตาตัวเองไม่ออกหรือคะ
วิถีจิตของเห็นไม่มีคิดปนค่ะเอกอน
และวิถีจิตของจิตคิดนึกไม่เกิดพร้อมเห็น

เด่วนี้คิด+เห็นพร้อมกันได้ไหมมีข่องว่างคั่นด้วยค่ะ
เห็นเกิดตอนสว่าง ขณะคิดแยกจากเห็นแล้ว
ตาเอกอนคิดสว่างมากเลยมีตัวอักษรเยอะมากที่ก็อปแปะนั้นน่ะ

เพราะคิดไม่มีแสงเลยแล้วตอนนี้ก็กำลังมีความคิดเห็นผิดอยู่ค่ะตรงปัจจุบันขณะด้วยค่ะ
:b32: :b32:
โอ๊ยจะรู้สึกตัวตอนไหนคะตรงมากเลย555...ตาไม่บอดก็คิดให้ตรงทีละ1ทางสิกำลังคิดตอนมีแสงผิดไหม
:b32: :b32: :b32: :b32: :b32: :b32:

:b32: :b32: :b32:

อ๊บซ์ เห็นยัง ว่าเหมือนใคร

:b32: :b32: :b32:

อ๊บซ์ลองทายซิ ว่าใคร ... ติ๊กตอก ติ๊กตอก

:b32: :b32: :b32:

ตราบใดที่ไม่คิดเห็นตรงขณะถูกตามคำสอนอยู่ขณะนั้นแหละกำลังมีกิเลสอาสาวะคืออวิชชาเกิดแล้ว
เพราะตอนเห็นผลิตกิเลสดังนั้นถ้าฟังน้อยกว่าดูแปลว่าไม่มีปัญญาเกิดเพิ่มแปลว่ากิเลสเพิ่มมากกว่า
คิดออกไหมคะดูมากกว่าฟังเข้าใจถูกตามแปลว่าผลิตกิเลสใหม่มากกว่าเก่าอันเก่าไม่รู้ใหม่ที่ไม่รู้
ทับถมซ้ำเติมลงไปใหม่ตลอดเวลาแล้วปัญญาแทรกเกิดหลังเห็นดับตอนกำลังฟังเข้าใจยังล่ะคะ
:b32: :b32:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 24 ธ.ค. 2018, 23:01 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 11 ต.ค. 2010, 12:11
โพสต์: 5013


 ข้อมูลส่วนตัว


Rosarin เขียน:
eragon_joe เขียน:
eragon_joe เขียน:
Rosarin เขียน:
eragon_joe เขียน:
แต่คุณรสก็ยังคงสนุกสนานอยู่กับการสำแดงตนในที่แห่งนี้

:b1:

เอกอนมองตาตัวเองไม่ออกหรือคะ
วิถีจิตของเห็นไม่มีคิดปนค่ะเอกอน
และวิถีจิตของจิตคิดนึกไม่เกิดพร้อมเห็น

เด่วนี้คิด+เห็นพร้อมกันได้ไหมมีข่องว่างคั่นด้วยค่ะ
เห็นเกิดตอนสว่าง ขณะคิดแยกจากเห็นแล้ว
ตาเอกอนคิดสว่างมากเลยมีตัวอักษรเยอะมากที่ก็อปแปะนั้นน่ะ

เพราะคิดไม่มีแสงเลยแล้วตอนนี้ก็กำลังมีความคิดเห็นผิดอยู่ค่ะตรงปัจจุบันขณะด้วยค่ะ
:b32: :b32:
โอ๊ยจะรู้สึกตัวตอนไหนคะตรงมากเลย555...ตาไม่บอดก็คิดให้ตรงทีละ1ทางสิกำลังคิดตอนมีแสงผิดไหม
:b32: :b32: :b32: :b32: :b32: :b32:

:b32: :b32: :b32:

อ๊บซ์ เห็นยัง ว่าเหมือนใคร

:b32: :b32: :b32:

อ๊บซ์ลองทายซิ ว่าใคร ... ติ๊กตอก ติ๊กตอก

:b32: :b32: :b32:

ตราบใดที่ไม่คิดเห็นตรงขณะถูกตามคำสอนอยู่ขณะนั้นแหละกำลังมีกิเลสอาสาวะคืออวิชชาเกิดแล้ว
เพราะตอนเห็นผลิตกิเลสดังนั้นถ้าฟังน้อยกว่าดูแปลว่าไม่มีปัญญาเกิดเพิ่มแปลว่ากิเลสเพิ่มมากกว่า
คิดออกไหมคะดูมากกว่าฟังเข้าใจถูกตามแปลว่าผลิตกิเลสใหม่มากกว่าเก่าอันเก่าไม่รู้ใหม่ที่ไม่รู้
ทับถมซ้ำเติมลงไปใหม่ตลอดเวลาแล้วปัญญาแทรกเกิดหลังเห็นดับตอนกำลังฟังเข้าใจยังล่ะคะ
:b32: :b32:


ไปศึกษาพระสูตรให้มากนะคะ

Quote Tipitaka:
๑๐. ปัจจัยสูตร

[๖๐] พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ ณ พระเชตวัน อารามของท่านอนาถ-
*บิณฑิกเศรษฐี เขตพระนครสาวัตถี ... พระผู้มีพระภาคได้ตรัสว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย
เราจักแสดงปฏิจจสมุปบาท และธรรมที่อาศัยกันเกิดขึ้นแก่พวกเธอ พวกเธอจงฟัง
ธรรมนั้น จงใส่ใจให้ดีเถิด เราจักกล่าว ภิกษุเหล่านั้นทูลรับพระผู้มีพระภาค
แล้ว ฯ
[๖๑] พระผู้มีพระภาคได้ตรัสว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็ปฏิจจสมุปบาท
เป็นไฉน ดูกรภิกษุทั้งหลาย เพราะชาติเป็นปัจจัย จึงมีชราและมรณะ พระตถาคต
ทั้งหลายเสด็จอุบัติขึ้นก็ตาม ไม่เสด็จอุบัติขึ้นก็ตาม ธาตุอันนั้น คือ ธัมมฐิติ ๑-
ธัมมนิยาม ๒- อิทัปปัจจัย ๓- ก็ยังดำรงอยู่ พระตถาคตย่อมตรัสรู้ ย่อมตรัสรู้ทั่วถึงซึ่ง
ธาตุอันนั้น ครั้นแล้ว ย่อมตรัสบอก ทรงแสดง บัญญัติ แต่งตั้ง เปิดเผย จำแนก
กระทำให้ตื้น และตรัสว่า ท่านทั้งหลายจงดู ดังนี้ เพราะชาติเป็นปัจจัย จึงมี
ชราและมรณะ ... เพราะภพเป็นปัจจัย จึงมีชาติ ... เพราะอุปาทานเป็นปัจจัย จึงมี
ภพ ... เพราะตัณหาเป็นปัจจัย จึงมีอุปาทาน ... เพราะเวทนาเป็นปัจจัย จึงมีตัณหา ...
เพราะผัสสะเป็นปัจจัย จึงมีเวทนา ... เพราะสฬายตนะเป็นปัจจัย จึงมีผัสสะ ...
เพราะนามรูปเป็นปัจจัย จึงมีสฬายตนะ ... เพราะวิญญาณเป็นปัจจัย จึงมีนาม
รูป ... เพราะสังขารเป็นปัจจัย จึงมีวิญญาณ ... เพราะอวิชชาเป็นปัจจัย จึงมี
สังขาร พระตถาคตทั้งหลายเสด็จอุบัติขึ้นก็ตาม ไม่เสด็จอุบัติขึ้นก็ตาม ธาตุอันนั้น
คือ ธัมมฐิติ ธัมมนิยาม อิทัปปัจจัย ก็ยังดำรงอยู่ พระตถาคตย่อมตรัสรู้ ย่อมตรัสรู้
ทั่วถึงซึ่งธาตุอันนั้น ครั้นแล้วย่อมตรัสบอก ทรงแสดง บัญญัติ แต่งตั้ง เปิดเผย
จำแนก กระทำให้ตื้น และตรัสว่า ท่านทั้งหลายจงดู ดังนี้ เพราะอวิชชาเป็นปัจจัย
จึงมีสังขาร ภิกษุทั้งหลาย ความจริงแท้ ความไม่คลาดเคลื่อน ความไม่เป็นอย่างอื่น
มูลเหตุอันแน่นอนในธาตุอันนั้น ดังพรรณนามาฉะนี้แล เราเรียกว่าปฏิจจสมุปบาท
[๖๒] ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็ธรรมที่อาศัยกันเกิดขึ้นเป็นไฉน ดูกรภิกษุ
ทั้งหลาย ชราและมรณะเป็นของไม่เที่ยง อันปัจจัยประชุมแต่ง อาศัยกันเกิดขึ้น
มีความสิ้นไป เสื่อมไป คลายไป ดับไปเป็นธรรมดา ชาติ ... ภพ ... อุปาทาน ...
ตัณหา ... เวทนา ... ผัสสะ ... สฬายตนะ ... นามรูป ... วิญญาณ ... สังขาร ...
อวิชชา เป็นของไม่เที่ยง อันปัจจัยประชุมแต่ง อาศัยกันเกิดขึ้น มีความสิ้นไป
เสื่อมไป คลายไป ดับไปเป็นธรรมดา ดูกรภิกษุทั้งหลาย เหล่านี้เรียกว่า
ธรรมอาศัยกันเกิดขึ้น ฯ
@๑. ความตั้งอยู่ตามธรรมดา ๒. ความแน่นอนของธรรมดา ๓. มูลเหตุอันแน่นอน
@ชิลเดอรส์
[๖๓] ดูกรภิกษุทั้งหลาย เมื่อใดแล อริยสาวกเห็นด้วยดีซึ่งปฏิจจสมุป-
*บาทนี้ และธรรมที่อาศัยกันเกิดขึ้นเหล่านี้ ด้วยปัญญาอันชอบตามเป็นจริงแล้ว
เมื่อนั้น อริยสาวกนั้นจักแล่นเข้าถึงที่สุดเบื้องต้นว่า ในอดีตกาลเราได้เป็นหรือหนอ
ในอดีตกาลเราได้เป็นอะไรหนอ ในอดีตกาลเราได้เป็นอย่างไรหนอ ในอดีตกาล
เราได้เป็นอะไร แล้วได้มาเป็นอะไรหนอ หรือว่าจักแล่นเข้าถึงที่สุดเบื้องปลายว่า
ในอนาคตกาลเราจักเป็นหรือหนอ ในอนาคตกาลเราจักเป็นอะไรหนอ ในอนาคต
กาลเราจักเป็นอย่างไรหนอ ในอนาคตกาลเราจักเป็นอะไร แล้วจึงจักเป็นอะไร
หนอ หรือว่าจักยังมีความสงสัยในปัจจุบันกาลเป็นภายใน ณ บัดนี้ว่า เราเป็น
อยู่หรือหนอ หรือไม่เป็นอยู่หนอ เราเป็นอะไรอยู่หนอ เราเป็นอย่างไรอยู่หนอ
สัตว์นี้มาแต่ไหนหนอ เขาจักไปในที่ไหน ดังนี้ ข้อนี้ มิใช่ฐานะที่จะมีได้ เพราะ
เหตุไร เพราะว่าอริยสาวกเห็นด้วยดีแล้วซึ่งปฏิจจสมุปบาท และธรรมที่อาศัย
กันเกิดขึ้นเหล่านี้ ด้วยปัญญาอันชอบตามเป็นจริง ฯ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 24 ธ.ค. 2018, 23:05 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 29 ต.ค. 2009, 15:06
โพสต์: 7502

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


eragon_joe เขียน:
Rosarin เขียน:
eragon_joe เขียน:
eragon_joe เขียน:
Rosarin เขียน:
eragon_joe เขียน:
แต่คุณรสก็ยังคงสนุกสนานอยู่กับการสำแดงตนในที่แห่งนี้

:b1:

เอกอนมองตาตัวเองไม่ออกหรือคะ
วิถีจิตของเห็นไม่มีคิดปนค่ะเอกอน
และวิถีจิตของจิตคิดนึกไม่เกิดพร้อมเห็น

เด่วนี้คิด+เห็นพร้อมกันได้ไหมมีข่องว่างคั่นด้วยค่ะ
เห็นเกิดตอนสว่าง ขณะคิดแยกจากเห็นแล้ว
ตาเอกอนคิดสว่างมากเลยมีตัวอักษรเยอะมากที่ก็อปแปะนั้นน่ะ

เพราะคิดไม่มีแสงเลยแล้วตอนนี้ก็กำลังมีความคิดเห็นผิดอยู่ค่ะตรงปัจจุบันขณะด้วยค่ะ
:b32: :b32:
โอ๊ยจะรู้สึกตัวตอนไหนคะตรงมากเลย555...ตาไม่บอดก็คิดให้ตรงทีละ1ทางสิกำลังคิดตอนมีแสงผิดไหม
:b32: :b32: :b32: :b32: :b32: :b32:

:b32: :b32: :b32:

อ๊บซ์ เห็นยัง ว่าเหมือนใคร

:b32: :b32: :b32:

อ๊บซ์ลองทายซิ ว่าใคร ... ติ๊กตอก ติ๊กตอก

:b32: :b32: :b32:

ตราบใดที่ไม่คิดเห็นตรงขณะถูกตามคำสอนอยู่ขณะนั้นแหละกำลังมีกิเลสอาสาวะคืออวิชชาเกิดแล้ว
เพราะตอนเห็นผลิตกิเลสดังนั้นถ้าฟังน้อยกว่าดูแปลว่าไม่มีปัญญาเกิดเพิ่มแปลว่ากิเลสเพิ่มมากกว่า
คิดออกไหมคะดูมากกว่าฟังเข้าใจถูกตามแปลว่าผลิตกิเลสใหม่มากกว่าเก่าอันเก่าไม่รู้ใหม่ที่ไม่รู้
ทับถมซ้ำเติมลงไปใหม่ตลอดเวลาแล้วปัญญาแทรกเกิดหลังเห็นดับตอนกำลังฟังเข้าใจยังล่ะคะ
:b32: :b32:


ไปศึกษาพระสูตรให้มากนะคะ

Quote Tipitaka:
๑๐. ปัจจัยสูตร

[๖๐] พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ ณ พระเชตวัน อารามของท่านอนาถ-
*บิณฑิกเศรษฐี เขตพระนครสาวัตถี ... พระผู้มีพระภาคได้ตรัสว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย
เราจักแสดงปฏิจจสมุปบาท และธรรมที่อาศัยกันเกิดขึ้นแก่พวกเธอ พวกเธอจงฟัง
ธรรมนั้น จงใส่ใจให้ดีเถิด เราจักกล่าว ภิกษุเหล่านั้นทูลรับพระผู้มีพระภาค
แล้ว ฯ
[๖๑] พระผู้มีพระภาคได้ตรัสว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็ปฏิจจสมุปบาท
เป็นไฉน ดูกรภิกษุทั้งหลาย เพราะชาติเป็นปัจจัย จึงมีชราและมรณะ พระตถาคต
ทั้งหลายเสด็จอุบัติขึ้นก็ตาม ไม่เสด็จอุบัติขึ้นก็ตาม ธาตุอันนั้น คือ ธัมมฐิติ ๑-
ธัมมนิยาม ๒- อิทัปปัจจัย ๓- ก็ยังดำรงอยู่ พระตถาคตย่อมตรัสรู้ ย่อมตรัสรู้ทั่วถึงซึ่ง
ธาตุอันนั้น ครั้นแล้ว ย่อมตรัสบอก ทรงแสดง บัญญัติ แต่งตั้ง เปิดเผย จำแนก
กระทำให้ตื้น และตรัสว่า ท่านทั้งหลายจงดู ดังนี้ เพราะชาติเป็นปัจจัย จึงมี
ชราและมรณะ ... เพราะภพเป็นปัจจัย จึงมีชาติ ... เพราะอุปาทานเป็นปัจจัย จึงมี
ภพ ... เพราะตัณหาเป็นปัจจัย จึงมีอุปาทาน ... เพราะเวทนาเป็นปัจจัย จึงมีตัณหา ...
เพราะผัสสะเป็นปัจจัย จึงมีเวทนา ... เพราะสฬายตนะเป็นปัจจัย จึงมีผัสสะ ...
เพราะนามรูปเป็นปัจจัย จึงมีสฬายตนะ ... เพราะวิญญาณเป็นปัจจัย จึงมีนาม
รูป ... เพราะสังขารเป็นปัจจัย จึงมีวิญญาณ ... เพราะอวิชชาเป็นปัจจัย จึงมี
สังขาร พระตถาคตทั้งหลายเสด็จอุบัติขึ้นก็ตาม ไม่เสด็จอุบัติขึ้นก็ตาม ธาตุอันนั้น
คือ ธัมมฐิติ ธัมมนิยาม อิทัปปัจจัย ก็ยังดำรงอยู่ พระตถาคตย่อมตรัสรู้ ย่อมตรัสรู้
ทั่วถึงซึ่งธาตุอันนั้น ครั้นแล้วย่อมตรัสบอก ทรงแสดง บัญญัติ แต่งตั้ง เปิดเผย
จำแนก กระทำให้ตื้น และตรัสว่า ท่านทั้งหลายจงดู ดังนี้ เพราะอวิชชาเป็นปัจจัย
จึงมีสังขาร ภิกษุทั้งหลาย ความจริงแท้ ความไม่คลาดเคลื่อน ความไม่เป็นอย่างอื่น
มูลเหตุอันแน่นอนในธาตุอันนั้น ดังพรรณนามาฉะนี้แล เราเรียกว่าปฏิจจสมุปบาท
[๖๒] ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็ธรรมที่อาศัยกันเกิดขึ้นเป็นไฉน ดูกรภิกษุ
ทั้งหลาย ชราและมรณะเป็นของไม่เที่ยง อันปัจจัยประชุมแต่ง อาศัยกันเกิดขึ้น
มีความสิ้นไป เสื่อมไป คลายไป ดับไปเป็นธรรมดา ชาติ ... ภพ ... อุปาทาน ...
ตัณหา ... เวทนา ... ผัสสะ ... สฬายตนะ ... นามรูป ... วิญญาณ ... สังขาร ...
อวิชชา เป็นของไม่เที่ยง อันปัจจัยประชุมแต่ง อาศัยกันเกิดขึ้น มีความสิ้นไป
เสื่อมไป คลายไป ดับไปเป็นธรรมดา ดูกรภิกษุทั้งหลาย เหล่านี้เรียกว่า
ธรรมอาศัยกันเกิดขึ้น ฯ
@๑. ความตั้งอยู่ตามธรรมดา ๒. ความแน่นอนของธรรมดา ๓. มูลเหตุอันแน่นอน
@ชิลเดอรส์
[๖๓] ดูกรภิกษุทั้งหลาย เมื่อใดแล อริยสาวกเห็นด้วยดีซึ่งปฏิจจสมุป-
*บาทนี้ และธรรมที่อาศัยกันเกิดขึ้นเหล่านี้ ด้วยปัญญาอันชอบตามเป็นจริงแล้ว
เมื่อนั้น อริยสาวกนั้นจักแล่นเข้าถึงที่สุดเบื้องต้นว่า ในอดีตกาลเราได้เป็นหรือหนอ
ในอดีตกาลเราได้เป็นอะไรหนอ ในอดีตกาลเราได้เป็นอย่างไรหนอ ในอดีตกาล
เราได้เป็นอะไร แล้วได้มาเป็นอะไรหนอ หรือว่าจักแล่นเข้าถึงที่สุดเบื้องปลายว่า
ในอนาคตกาลเราจักเป็นหรือหนอ ในอนาคตกาลเราจักเป็นอะไรหนอ ในอนาคต
กาลเราจักเป็นอย่างไรหนอ ในอนาคตกาลเราจักเป็นอะไร แล้วจึงจักเป็นอะไร
หนอ หรือว่าจักยังมีความสงสัยในปัจจุบันกาลเป็นภายใน ณ บัดนี้ว่า เราเป็น
อยู่หรือหนอ หรือไม่เป็นอยู่หนอ เราเป็นอะไรอยู่หนอ เราเป็นอย่างไรอยู่หนอ
สัตว์นี้มาแต่ไหนหนอ เขาจักไปในที่ไหน ดังนี้ ข้อนี้ มิใช่ฐานะที่จะมีได้ เพราะ
เหตุไร เพราะว่าอริยสาวกเห็นด้วยดีแล้วซึ่งปฏิจจสมุปบาท และธรรมที่อาศัย
กันเกิดขึ้นเหล่านี้ ด้วยปัญญาอันชอบตามเป็นจริง ฯ

ฟังบ้างเถอะนะคะจะได้รู้ตัวว่ามีกิเลสมากขนาดไหน
ปัญญาเกิดตามหลังเห็นตอนกำลังฟังเข้าใจเท่านั้นค่ะ
ที่เหลือก็คือมีมี๊มีแต่อยากไปทำกิเลสเพิ่มตามความคิดเห็นผิดไงคะ
:b32: :b32:
กิเลสมีในจิตแต่ปัญญาไม่มีในจิตค่ะต้องอาศัยเกิดปัญญาแรกตอนฟังรู้เรื่องบ้างไหมคะ
:b12:
https://youtu.be/S6JZoqfbM_s


แสดงโพสต์จาก:  เรียงตาม  
กลับไปยังกระทู้  [ 482 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1 ... 8, 9, 10, 11, 12, 13, 14 ... 33  ต่อไป

เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


 ผู้ใช้งานขณะนี้

กำลังดูบอร์ดนี้: ไม่มีสมาชิก และ บุคคลทั่วไป 130 ท่าน


ท่าน ไม่สามารถ โพสต์กระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ตอบกระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แก้ไขโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ลบโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แนบไฟล์ในบอร์ดนี้ได้

ค้นหาสำหรับ:
ไปที่:  
Google
ทั่วไป เว็บธรรมจักร