วันเวลาปัจจุบัน 26 เม.ย. 2024, 20:29  



เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง




กระทู้นี้ถูกล็อก คุณไม่สามารถแก้ไขข้อความ หรือ ตอบกลับในกระทู้นี้  [ 117 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8  ต่อไป  Bookmark and Share
เจ้าของ ข้อความ
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 14 ก.ย. 2015, 20:27 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 29 ต.ค. 2009, 15:06
โพสต์: 7502

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


asoka เขียน:
s004
เป็นคำถามที่ตอบยากครับ ดูไปเรื่อยๆก็แล้วกัน
:b44:

หันซ้าย...หันขวา
:b32: :b32: :b32:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 15 ก.ย. 2015, 15:10 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 18 ก.ย. 2011, 21:51
โพสต์: 4941


 ข้อมูลส่วนตัว


Rosarin เขียน:
asoka เขียน:
s004
เป็นคำถามที่ตอบยากครับ ดูไปเรื่อยๆก็แล้วกัน
:b44:

หันซ้าย...หันขวา
:b32: :b32: :b32:

:b12:
แบบที่รสรินกำลังเป็นอยู่หรือครับ ที่นั่งสมาธิจนกายหาย ไม่มีตัวตนจนได้เป็นอริยะเข้านิพพาน
s004
น่าสนใจ
:b11:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 15 ก.ย. 2015, 15:23 
 
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 1
สมาชิก ระดับ 1
ลงทะเบียนเมื่อ: 09 ก.ย. 2015, 13:43
โพสต์: 29

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


asoka เขียน:
Rosarin เขียน:
asoka เขียน:
s004
เป็นคำถามที่ตอบยากครับ ดูไปเรื่อยๆก็แล้วกัน
:b44:

หันซ้าย...หันขวา
:b32: :b32: :b32:

:b12:
แบบที่รสรินกำลังเป็นอยู่หรือครับ ที่นั่งสมาธิจนกายหาย ไม่มีตัวตนจนได้เป็นอริยะเข้านิพพาน
s004
น่าสนใจ
:b11:
Sodasaว่าไม่ใช่มั้ง.


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 15 ก.ย. 2015, 15:36 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 29 ต.ค. 2009, 15:06
โพสต์: 7502

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


asoka เขียน:
Rosarin เขียน:
asoka เขียน:
s004
เป็นคำถามที่ตอบยากครับ ดูไปเรื่อยๆก็แล้วกัน
:b44:

หันซ้าย...หันขวา
:b32: :b32: :b32:

:b12:
แบบที่รสรินกำลังเป็นอยู่หรือครับ ที่นั่งสมาธิจนกายหาย ไม่มีตัวตนจนได้เป็นอริยะเข้านิพพาน
s004
น่าสนใจ
:b11:

:b12:
ความจริงก็คือความจริง
ใครมุสาก็เป็นตามนั้นรู้ได้
ตามเหตุปัจจัยเป็นอนัตตา
:b4: :b4:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 15 ก.ย. 2015, 16:07 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 4
สมาชิก ระดับ 4
ลงทะเบียนเมื่อ: 13 ก.ค. 2009, 22:19
โพสต์: 271

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


บางครั้งตัวตนที่แท้จริง. มันก็ปรากฎยามถูกขอความช่วยเหลือนะโดยเฉพาะเรื่องเงินๆทอง


แก้ไขล่าสุดโดย ศิริพงศ์ เมื่อ 15 ก.ย. 2015, 16:59, แก้ไขแล้ว 1 ครั้ง

โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 15 ก.ย. 2015, 16:53 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 29 ต.ค. 2009, 15:06
โพสต์: 7502

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


ศิริพงศ์ เขียน:
บางครั้งตัวตนที่แท้จริง. มันก็ปรากฎยามภูกขอความช่วยเหลือนะโดยเฉพาะเรื่องเงินๆทอง

:b32:
ตัวตนของคนขอน่ะเหรอ
พ่อแม่ญาติพี่ร้องไม่ช่วย
แสดงว่าไม่ใช่คนดีน่ะสิ
คนที่ทำบุญร่วมชาติมา
เขาให้ตามยถากรรมไง
:b17:
:b22: :b22:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 15 ก.ย. 2015, 16:59 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 18 ก.ย. 2011, 21:51
โพสต์: 4941


 ข้อมูลส่วนตัว


ศิริพงศ์ เขียน:
asoka เขียน:
ศิริพงศ์ เขียน:
asoka เขียน:
ศิริพงศ์ เขียน:
asoka เขียน:
:b16:
อ้างคำพูด:
นิพพาน. เป็นอย่างไร. ท่านอโสกะพูดเหมือนรู้จักจริง

:b12:
ถามอย่างนี้มันเหมือนกับคนที่ไปพยายามถามว่า เค็ม เป็นอย่างไร?
s006
ใครอธิบายความเค็มด้วยภาษามนุษย์ให้เข้าใจได้บ้าง เพราะยังไม่เคยเห็นมีใครอธิบายได้

แต่วิธีที่จะได้สัมผัสรู้ความเค็มนั้นอธิบายกันได้แน่นอนสำหรับคนที่เคยสัมผัสและรู้รสความเค็มมาแล้ว

ดั้งนั้นนิพพานก็เช่นกัน ผมบอกวิธีไปสัมผัสนิพพานได้ แต่อธิบายนิพพานให้ผู้ฟังรู้ชัดจริงๆไม่ได้ ต้องไปสัมผัสจริงกันเอาเองครับ
:b53:
แล้วสิ่งที่เจอจะเชื่อได้เหรอว่านั้นคือนิพพาน.

:b39:
นิพพาน
นิพพาน เป็นสภาวะของจิตที่ปราศจากกิเลส อันเป็นเครื่องมือร้อยรัดจิตใจให้ห่วง กังวล วุ่นวาย สับสน รุ่มร้อน เมื่อจิตใจปราศจากกิเลสเสียแล้วก็ไม่วุ่นวาย สับสน หรือรุ่มร้อนใดๆอีก จิตก็สงบ ร่มเย็น และเป็นสุข ซึ่งเป็น ความสุขอันสูงสุด เป็นเป้าหมายของการปฎิบัติธรรม ตามหลักคำสอน ของพระพุทธศาสนา ความสุขแบบนิพพานนั้นไม่ใช่ความสุขปกติธรรมดาทั่วไปอันเกิดจากการ ได้รับอารมณ์ที่น่าปรารถนา น่าพอใจ โดยผ่านทางประสาทสัมผัสต่างๆ ที่เรียกว่า สุขเวทนา แต่จะเป็นความสุขที่อยู่นอกเหนือการรับรู้ทางประสาท สัมผัสเหล่านั้น เป็นสภาวะแห่งความสุข ที่ผู้บรรลุแล้วเท่านั้น จึงจะประจักษ์ได้ด้วยตนเอง

ลักษณะของนิพพาน
นิพพานมีลักษณะ 4 ประการ คือ
1. อัจจุตะ สภาวะที่ไม่ตาย คือนิพพานเป็นสภาวะมี่ไม่มีการเกิดและไม่มีการตาย เป็นสภาวะธรรมที่ ไม่ตกอยู่ภายใต้เงื่อนไขแห่งการเวลา หรือที่เรียกว่า กาลวิมุตติ
2. อัจจันตะ สภาวะที่เที่ยงแท้แน่นอน ไม่มีการแปรผันเป็นอื่น คือ ผู้บรรลุนิพพานแล้ว จะกลับเสื่อม จากนิพพานเป็นไม่มี
3. อสังขตะ สภาวะที่ไม่ถูกปรุงแต่งด้วยปัจจัย4 คือ กรรม จิต อุตุ และอาหาร นิพพานไม่ใช่จิต เจตสิก หรือรูปที่เกิดขึ้นโดยอาศัยปัจจัยปรุงแต่ง เป็นสภาวะที่พ้นจากขันธ์ 5 คือ ขันธวิมุตติ
4. อนุตระ สภาวะที่ประเสริฐสูงสุด ไม่มีสิ่งใดยิ่งกว่า เป็นโลกุตรธรรม
สถานะของนิพพาน

แม้ชาวพุทธทั่วไปจะมีความเชื่อว่า นิพพานมีอยู่จริง สามารถบรรลุได้จริง แต่ก็มักจะคำถามเสมอ ว่า "นิพพานอยู่ไหน" นั่นเพราะการสอนธรรมะแบบ บุคลาธิษฐาน ทำให้คิดกันว่า นิพพานเป็นอีกโลกหนึ่ง ที่มิใช่โลก มนุษย์ และอยู่สูงกว่าโลกและสวรรค์ เช่นการสอนเรื่องวิบากแห่งกุศลกรรม การได้มาซึ่งมนุษยสมบัติ สวรรคสมบัติ และนิพพานสมบัติ การสอนว่ามนุษย์เป็นโลกๆหนึ่ง สวรรค์เป็นโลกแห่งความสุขอยู่เหนือโลกมนุษย์ และมีถึง 6 ชั้น การสอนเช่นนี้ทำให้เชื่อกันว่า นิพพานอยู่เหนือโลกมนุษย์และสวรรค์ขึ้นไปอีก จนนิพพานกลายเป็นสิ่งที่ไม่อาจจะ บรรลุได้ ไปถึงได้ในชาตินี้ เมื่อทำบุญก็ปรารถนานิพพานเพราะเชื่อว่าเป็นดินแดนบรมสุข อธิษฐานเพียงขอให้นิพพาน ในกาลเบื้องหน้า
นิพพานจึงเป็นสิ่งไกลเกินฝัน คำสอนเรื่องนิพพานกลายเป็นเป็นสิ่งสูงส่ง เข้าใจยาก บุคคลทั่วไปไม่ คู่ควร เรื่องของนิพพานแทบจะหมดความหมาย และสิ้นหวัง กลายเป็นเรื่องเลื่อนลอยเพ้อฝัน เพราะคำสอนผิดๆ นั่นเอง
ที่ทำให้เกิดความเข้าใจเช่นนั้นในประดาชาวพุทธทั้งหลาย
คำสอนเรื่องนิพพานไม่ใช่คำสอนที่สูงส่งกว่าที่คนธรรมดาจะเข้าใจ นิพพานไม่ใช่สภาวะที่คนทั่วไป ไม่อาจจะเข้าถึง นิพานมิใช่เมืองแก้ว มิใช่มหานฤพาน แต่อย่างใดเลย นิพพานเป็นคำสอนสำหรับคนธรรมดาสามัญ ทั่วๆไป เป็นคำสอนของพระพุทธเจ้า ที่ทรงสอนไว้เพื่อเป็นการแก้ไขปํญหาของมนุษย์ และสังคม ดังที่พระองค์ได้ ตรัสถึงเรื่อง ปรมัตถธรรม4 จิต เจตสิก รูป นิพพาน ทั้งหมดล้วนเป็นเรื่องที่เกี่ยวกับมนุษย์ทั้งสิ้น กล่าวคือ จิตและ เจตสิกเป็นนามธรรม รูปเป็นรูปธรรม ส่วนนิพพานนั้นเป็นเป้าหมายของการปฎิบัติธรรม
ในสังคมเราทุกวันนี้ หากมนุษย์ส่วนใหญ่สามารถละกิเลสได้แม้เพียงแค่บางส่วน สังคมก็จะน่าอยู่ ขึ้นอีกไม่น้อยเลย ถ้าหากมนุษย์สามารถเอาชนะกิเลสของตนเองได้หมด ไม่ตกเป็นทาสของกิเลส สังคมก็จะยิ่งน่าอยู่ ถึงขนานที่เรียกได้ว่าเป็น สังคมอริยะเลยทีเดียว คือเป็นสังคมอุดมคติของพุทธศาสนาแท้ๆ ดังคำสอนของพระพุทธองค์ ที่ว่า
" นิพพานอันผู้บรรลุเห็นได้เอง ไม่ขึ้นแก่กาล เรียกมาให้ดูได้ ควรน้อมเข้ามาไว้ในตน อันวิญญูชน พึงรู้เฉพาะตน "
" นิพพาน คือความสิ้นราคะ สิ้นโทสะ สิ้นโมหะ "
" นิพพาน คือความสิ้นตัณหา "
" ยังอิงอยู่จึงมีการสั่นไหว เมื่อไม่อิงแล้วก็ไม่มีการสั่นไหว เมื่อไม่มีการสั่นไหวก็นิ่งสนิท เมื่อนิ่งสนิท ก็ไม่มีการโอนเอน เมื่อไม่มีการโอนเอนก็ไม่มีการมาการไป เมื่อไม่มีการมาการไปก็ไม่มีการจุติและอุบัติ เมื่อไม่มี การจุติและอุบัติก็ไม่มีภพนี้ ภพหน้า ไม่มีในระหว่างทั้งสองภพ นั่นแหละคือที่สุดแห่งทุกข์ "
ประเภทของนิพพาน

ประเภทของนิพพานมีการแสดงไว้หลายนัยด้วยกัน คือ
นัยที่1
นิพพานโดยสภาวะลักษณะ
คือ สันติลักษณะ มีความสงบกิเลสและขันธ์5 เป็นหลัก ซึ่งพระอรหันต์ทั้งหลายเมื่อเข้าสู่นิพพานแล้ว ย่อมพบกับสันติสุขด้วนกันทั้งสิ้น คือ ความสิ้นไปแห่งตัณหา พ้นจากความเกิดและความตาย
นัยที่2
นิพพานโดยปริยาย
คือการดับกิเลส อันได้แก่ ราคะ โทสะ โมหะ ได้เป็นครั้งเป็นคราว หรือดับได้เพียงบางส่วน
นิพพานโดยนิปปริยาย
คือการดับกิเลสได้ โดยประการทั้งปวงอย่างเด็ดขาด
นัยที่3
สอุปาทิเสสนิพพาน
ได้แก่ นิพพานของพระอรหันต์ที่ยังมีชีวิตอยู่ และได้ทำลายกิเลสหมดสิ้นไปแล้ว ความทุกข์อันเกิดจาก อำนาจแห่งกิเลสนั้น จึงไม่เกิดกับท่าน เว้นเสียแต่ว่า ความทุกข์ที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติของชีวิต คือทุกข์เพราะการ บริหารขันธ์5 เข่นปวดปัสสาวะ ปวดอุจาระ หรือทุกข์เพราะร้อนหนาว และเจ็บป่วยโดยทั่วไป ตลอดจนชราภาพ
อนุปาทิเสสนิพพาน
ได้แก่ นิพพานของผู้ที่ไม่มีขันธ์หรือ อุปาทิ เหลืออยู่ คือนิพพานของพระอรหันต์ที่สิ้นชีวิตไปแล้ว
นัยที่4
อนิมิตตนิพพาน
ได้แก่ ภาวะของนิพพานนั้นไม่มีนิมิตเครื่องหมาย ไม่มีรูปร่าง ไม่มีสัญฐานและสีสรรวรรณะใดๆ ซึ่งหมายถึง ผู้เจริญวิปัสสนาที่เน้นหนักไปทาง อนิจลักษณะ คือ พิจารณาเห็นสังขารว่าเป็นของไม่เที่ยงแท้
อปณิหิตนิพพาน
ได้แก่ ภาวะของนิพพานนั้นไม่มีอารมณ์ อันเป็นที่น่าปรารถนา และไม่มีตัณหาอันเป็นตัวให้เกิด ความต้องการในอารมณ์นั้น หมายถึงผู้ที่เจริญวิปัสสนาที่เน้นหนักไปทาง ทุกข์ลักษณะ คือ พิจารณาเห็นว่าสังขาร เป็นสิ่งที่ทนได้ยากและทนอยู่ไม่ได้ ต้องเสื่อมไป
สุญญตนิพพาน
ได้แก่ ภาวะของนิพพานนั้นสูญสิ้นจากกิเลสและขันธ์5 ไม่มีอะไรเหลืออยู่ให้เห็นเป็นสิ่งผูกมัดกังวล หมายถึงผู้ที่เจริญวิปัสสนาที่เน้นหนักไปทาง อนัตตลักษณะ คือพิจารณาเห็นว่าสังขารเป็นสิ่งไม่มีตัวตน ไม่มีส่วนใดที่ เป็นเรา หรือเป็นของเรา เพราะไม่อยู่ในอำนาจที่จะบังคับบัญชาได้

ภาวะของผู้บรรลุนิพพาน

ภาวะทางปัญญา ผู้บรรลุนิพพาน มองเห็นทั้งหลายตามที่มันเป็น เห็นตามความจริง ตั้งแต่การ รับรู้อารมณ์ด้วยจิตใจที่เป็นกลาง และมีสติ ไม่หวั่นไหว หรือถูกชักจูงไปตามความชอบใจไม่ชอบใจ สามารถตามดูรู้ เห็นอารมณ์นั้นๆ ไปตามสภาวะของมันตั้งแต่ตันจนตลอดสาย ไม่ถูกความติดพัน ความข้องขัดขุ่นมัว หรือความกระทบ กระแทกอันเนื่องมาจากอารมณ์นั้นๆ มาฉุดรั้งหรือสะดดุเอาไว้ให้เขวไปเสียก่อน
ที่ลึกลงไปอีกคือ ปัญญาที่รู้เท่าทันสังขาร รู้สามัญลักษณะที่เป็นอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา รู้เท่าทัน สมมุติบัญญัติ ไม่ถูกหลอกลวงให้หลงไปตามรูปลักษณะภายนอก ของสิ่งทั้งหลาย และยอมรับความจริงทุกด้าน มิใช่ติด อยู่เพี่ยงแง่ใดแง่หนึ่ง
ภาวะทางจิต ผู้บรรลุนิพพาน จะมีความเป็นอิสระหรือที่เรียกว่า หลุดพ้น อันมีผลสืบเนื่องมา จากปัญญา คือเห็นตามความเป็นจริง รู้เท่าทันสังขารแล้ว จิตจึงหลุดพ้นจากอำนาจการครอบงำของกิเลส
เมื่อไม่ถูกกิเลสครอบงำ ไม่ตกเป็นทาสของอารมณ์ที่เย้ายวน ยั่วยุ อารมณ์ไม่เป็นที่ตั้งของราคะ โลภะ โมสะ โมหะ นอกจากไม่มีเหตุที่จะทำให้ความชั่วหรือเสียหายในทางที่ร้ายแรงแล้ว ยังมีหลักประกันความสุจริต ในการงานด้วย เป็นผู้ที่มีสติควบคุมตัวเองได้ เป็นผู้ที่ฝึกฝนมาดีแล้ว ผู้ชนะตนเองได้ ถือว่าเป็นที่สุดแห่งชัยชนะทั้งปวง
ภาวะทางความประพฤติและการดำเนินชีวิต ผู้บรรลุนิพพานนั้นจะมีพฤติกรรมหรือดำเนิน ชีวิตในลักษณะที่จะไม่ถูกชักจูงได้โดยอวิชชา ตัณหา และอุปาทาน คือไม่ทำการด้วยความยึดมั่นในความดีความชั่ว ที่เกี่ยวกับตัวเองและของตัวเอง หรือผลประโยชน์ของตัวเอง ไม่มีความปรารถนา เพื่อตัวตนแฝงอยู่ ไม่ว่าจะอยู่ในรูป หยาบหรือละเอียด คือทำไปตามวัตถุประสงค์ของกิจการนั้นๆ ตามเหตุผลของเรื่องนั้นๆ ตามที่มันควรจะเป็นของมัน ล้วนๆ เป็นการกระทำถึงขั้นที่ลอยพ้นเหนือกรรมดีขึ้นไปอีก ส่วนกรรมชั่วนั้นเป็นอันไม่ต้องกล่าวถึง เพราะหมดสิ้น โลภะ โทสะ โมหะ ที่จะเป็นเหตุปัจจัยให้ทำความชั่วเสียแล้ว.
(คัดมาจากอาจารย์กูเกิ้ล)
:b11:

คุณอโศกะ. ท่านคิดว่าท่านบรรลุนิพพานแล้วหรือยังครับ

s004
เป็นคำถามที่ตอบยากครับ ดูไปเรื่อยๆก็แล้วกัน
:b44:
ต้องอาจหาญร่าเริงซิครับ

s004
คุณศิริพงษ์ ไปหาหลวงพ่อหลวงตา ครูบาอาจารย์ต่างๆ คุณจะไปถามท่านก่อนไหมว่า หลวงพ่อหลวงตาเป็นโสดาบัน....อรหันต์หรือยัง เพื่อจะได้แน่ใจว่าควรกราบเคารพนับถือหรือไม่

โดยมรรยาทเรื่องอย่างนี้เขาจะถามกันตัวต่อตัวไม่เป็นเรื่องควรถามหรือตอบในที่สาธารณะนะครับ

พระพุทธเจ้าทรงห้ามภิกษุทั้งหลายไว้มิให้กล่าวอวดคุณธรรมในตน เพราะถ้าคุณธรรมนั้นมีอยู่ในตนจริงแล้วกล่าวบอกไปก็ต้องอาบัติปาจิตตีย์ แต่ถ้าคุณธรรมนั้นไม่มีในตนก็ถึงต้องอาบัติปาราชิกเลยเชียว

ครูบาอาจารย์ส่วนมากถ้าถูกถามเรื่องอย่างนี้ท่านมักจะเลี่ยงตอบเป็นการแสดงธรรมให้ฟังแทนแล้วให้คนถามไปคิดพิจารณาเอาเอง

อยากรู้ใครเป็นอริยเจ้าชั้นไหนไม่ควรถาม ควรพิจารณาเอาจากธรรมะที่ถามที่คุยที่โต้ตอบสนทนากันโดยให้สังเกตระดับของอัตตาและมานะทิฏฐิที่แสดงออกมาในคำพูดหรือทิศทางของคำพูดว่าชี้ไปในเรื่อใดเป็นส่วนใหญ่ ก็อาจพอคืบลามรู้ได้

ข้อสังเกตง่ายๆที่จะเห็นได้ง่ายอันที่ 1 คือ พระอริยเจ้าตั้งแต่พระโสดาบันขึ้นไปท่านจะมีพรหมวิหารธรรมสูงและสูงยิ่งๆขึ้นไปตามลำดับ

อันที่ 2 ความอ่อนน้อมถ่อมตนมีมากยิ่งๆขึ้นไปตามลำดับ

อันที่ 3 คำพูดข้อเขียนจะเป็นกลางมากขึ้นๆมากยิ่งๆขึ้นไปตามลำดับชั้นจนถึงระดับที่ไม่พูดร้ายว่าร้ายใครเลย มีแต่วาจาอันเป็นสุภาษิต สัจจะ

อันที่ 4 เรื่องที่พูดจะชี้ตรงไปที่ความหลุดพ้นเพียงอย่างเดียว

ดังนี้เป็นต้น
:b38:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 15 ก.ย. 2015, 17:04 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 4
สมาชิก ระดับ 4
ลงทะเบียนเมื่อ: 13 ก.ค. 2009, 22:19
โพสต์: 271

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


asoka เขียน:
ศิริพงศ์ เขียน:
asoka เขียน:
ศิริพงศ์ เขียน:
asoka เขียน:
ศิริพงศ์ เขียน:
asoka เขียน:
:b16:
อ้างคำพูด:
นิพพาน. เป็นอย่างไร. ท่านอโสกะพูดเหมือนรู้จักจริง

:b12:
ถามอย่างนี้มันเหมือนกับคนที่ไปพยายามถามว่า เค็ม เป็นอย่างไร?
s006
ใครอธิบายความเค็มด้วยภาษามนุษย์ให้เข้าใจได้บ้าง เพราะยังไม่เคยเห็นมีใครอธิบายได้

แต่วิธีที่จะได้สัมผัสรู้ความเค็มนั้นอธิบายกันได้แน่นอนสำหรับคนที่เคยสัมผัสและรู้รสความเค็มมาแล้ว

ดั้งนั้นนิพพานก็เช่นกัน ผมบอกวิธีไปสัมผัสนิพพานได้ แต่อธิบายนิพพานให้ผู้ฟังรู้ชัดจริงๆไม่ได้ ต้องไปสัมผัสจริงกันเอาเองครับ
:b53:
แล้วสิ่งที่เจอจะเชื่อได้เหรอว่านั้นคือนิพพาน.

:b39:
นิพพาน
นิพพาน เป็นสภาวะของจิตที่ปราศจากกิเลส อันเป็นเครื่องมือร้อยรัดจิตใจให้ห่วง กังวล วุ่นวาย สับสน รุ่มร้อน เมื่อจิตใจปราศจากกิเลสเสียแล้วก็ไม่วุ่นวาย สับสน หรือรุ่มร้อนใดๆอีก จิตก็สงบ ร่มเย็น และเป็นสุข ซึ่งเป็น ความสุขอันสูงสุด เป็นเป้าหมายของการปฎิบัติธรรม ตามหลักคำสอน ของพระพุทธศาสนา ความสุขแบบนิพพานนั้นไม่ใช่ความสุขปกติธรรมดาทั่วไปอันเกิดจากการ ได้รับอารมณ์ที่น่าปรารถนา น่าพอใจ โดยผ่านทางประสาทสัมผัสต่างๆ ที่เรียกว่า สุขเวทนา แต่จะเป็นความสุขที่อยู่นอกเหนือการรับรู้ทางประสาท สัมผัสเหล่านั้น เป็นสภาวะแห่งความสุข ที่ผู้บรรลุแล้วเท่านั้น จึงจะประจักษ์ได้ด้วยตนเอง

ลักษณะของนิพพาน
นิพพานมีลักษณะ 4 ประการ คือ
1. อัจจุตะ สภาวะที่ไม่ตาย คือนิพพานเป็นสภาวะมี่ไม่มีการเกิดและไม่มีการตาย เป็นสภาวะธรรมที่ ไม่ตกอยู่ภายใต้เงื่อนไขแห่งการเวลา หรือที่เรียกว่า กาลวิมุตติ
2. อัจจันตะ สภาวะที่เที่ยงแท้แน่นอน ไม่มีการแปรผันเป็นอื่น คือ ผู้บรรลุนิพพานแล้ว จะกลับเสื่อม จากนิพพานเป็นไม่มี
3. อสังขตะ สภาวะที่ไม่ถูกปรุงแต่งด้วยปัจจัย4 คือ กรรม จิต อุตุ และอาหาร นิพพานไม่ใช่จิต เจตสิก หรือรูปที่เกิดขึ้นโดยอาศัยปัจจัยปรุงแต่ง เป็นสภาวะที่พ้นจากขันธ์ 5 คือ ขันธวิมุตติ
4. อนุตระ สภาวะที่ประเสริฐสูงสุด ไม่มีสิ่งใดยิ่งกว่า เป็นโลกุตรธรรม
สถานะของนิพพาน

แม้ชาวพุทธทั่วไปจะมีความเชื่อว่า นิพพานมีอยู่จริง สามารถบรรลุได้จริง แต่ก็มักจะคำถามเสมอ ว่า "นิพพานอยู่ไหน" นั่นเพราะการสอนธรรมะแบบ บุคลาธิษฐาน ทำให้คิดกันว่า นิพพานเป็นอีกโลกหนึ่ง ที่มิใช่โลก มนุษย์ และอยู่สูงกว่าโลกและสวรรค์ เช่นการสอนเรื่องวิบากแห่งกุศลกรรม การได้มาซึ่งมนุษยสมบัติ สวรรคสมบัติ และนิพพานสมบัติ การสอนว่ามนุษย์เป็นโลกๆหนึ่ง สวรรค์เป็นโลกแห่งความสุขอยู่เหนือโลกมนุษย์ และมีถึง 6 ชั้น การสอนเช่นนี้ทำให้เชื่อกันว่า นิพพานอยู่เหนือโลกมนุษย์และสวรรค์ขึ้นไปอีก จนนิพพานกลายเป็นสิ่งที่ไม่อาจจะ บรรลุได้ ไปถึงได้ในชาตินี้ เมื่อทำบุญก็ปรารถนานิพพานเพราะเชื่อว่าเป็นดินแดนบรมสุข อธิษฐานเพียงขอให้นิพพาน ในกาลเบื้องหน้า
นิพพานจึงเป็นสิ่งไกลเกินฝัน คำสอนเรื่องนิพพานกลายเป็นเป็นสิ่งสูงส่ง เข้าใจยาก บุคคลทั่วไปไม่ คู่ควร เรื่องของนิพพานแทบจะหมดความหมาย และสิ้นหวัง กลายเป็นเรื่องเลื่อนลอยเพ้อฝัน เพราะคำสอนผิดๆ นั่นเอง
ที่ทำให้เกิดความเข้าใจเช่นนั้นในประดาชาวพุทธทั้งหลาย
คำสอนเรื่องนิพพานไม่ใช่คำสอนที่สูงส่งกว่าที่คนธรรมดาจะเข้าใจ นิพพานไม่ใช่สภาวะที่คนทั่วไป ไม่อาจจะเข้าถึง นิพานมิใช่เมืองแก้ว มิใช่มหานฤพาน แต่อย่างใดเลย นิพพานเป็นคำสอนสำหรับคนธรรมดาสามัญ ทั่วๆไป เป็นคำสอนของพระพุทธเจ้า ที่ทรงสอนไว้เพื่อเป็นการแก้ไขปํญหาของมนุษย์ และสังคม ดังที่พระองค์ได้ ตรัสถึงเรื่อง ปรมัตถธรรม4 จิต เจตสิก รูป นิพพาน ทั้งหมดล้วนเป็นเรื่องที่เกี่ยวกับมนุษย์ทั้งสิ้น กล่าวคือ จิตและ เจตสิกเป็นนามธรรม รูปเป็นรูปธรรม ส่วนนิพพานนั้นเป็นเป้าหมายของการปฎิบัติธรรม
ในสังคมเราทุกวันนี้ หากมนุษย์ส่วนใหญ่สามารถละกิเลสได้แม้เพียงแค่บางส่วน สังคมก็จะน่าอยู่ ขึ้นอีกไม่น้อยเลย ถ้าหากมนุษย์สามารถเอาชนะกิเลสของตนเองได้หมด ไม่ตกเป็นทาสของกิเลส สังคมก็จะยิ่งน่าอยู่ ถึงขนานที่เรียกได้ว่าเป็น สังคมอริยะเลยทีเดียว คือเป็นสังคมอุดมคติของพุทธศาสนาแท้ๆ ดังคำสอนของพระพุทธองค์ ที่ว่า
" นิพพานอันผู้บรรลุเห็นได้เอง ไม่ขึ้นแก่กาล เรียกมาให้ดูได้ ควรน้อมเข้ามาไว้ในตน อันวิญญูชน พึงรู้เฉพาะตน "
" นิพพาน คือความสิ้นราคะ สิ้นโทสะ สิ้นโมหะ "
" นิพพาน คือความสิ้นตัณหา "
" ยังอิงอยู่จึงมีการสั่นไหว เมื่อไม่อิงแล้วก็ไม่มีการสั่นไหว เมื่อไม่มีการสั่นไหวก็นิ่งสนิท เมื่อนิ่งสนิท ก็ไม่มีการโอนเอน เมื่อไม่มีการโอนเอนก็ไม่มีการมาการไป เมื่อไม่มีการมาการไปก็ไม่มีการจุติและอุบัติ เมื่อไม่มี การจุติและอุบัติก็ไม่มีภพนี้ ภพหน้า ไม่มีในระหว่างทั้งสองภพ นั่นแหละคือที่สุดแห่งทุกข์ "
ประเภทของนิพพาน

ประเภทของนิพพานมีการแสดงไว้หลายนัยด้วยกัน คือ
นัยที่1
นิพพานโดยสภาวะลักษณะ
คือ สันติลักษณะ มีความสงบกิเลสและขันธ์5 เป็นหลัก ซึ่งพระอรหันต์ทั้งหลายเมื่อเข้าสู่นิพพานแล้ว ย่อมพบกับสันติสุขด้วนกันทั้งสิ้น คือ ความสิ้นไปแห่งตัณหา พ้นจากความเกิดและความตาย
นัยที่2
นิพพานโดยปริยาย
คือการดับกิเลส อันได้แก่ ราคะ โทสะ โมหะ ได้เป็นครั้งเป็นคราว หรือดับได้เพียงบางส่วน
นิพพานโดยนิปปริยาย
คือการดับกิเลสได้ โดยประการทั้งปวงอย่างเด็ดขาด
นัยที่3
สอุปาทิเสสนิพพาน
ได้แก่ นิพพานของพระอรหันต์ที่ยังมีชีวิตอยู่ และได้ทำลายกิเลสหมดสิ้นไปแล้ว ความทุกข์อันเกิดจาก อำนาจแห่งกิเลสนั้น จึงไม่เกิดกับท่าน เว้นเสียแต่ว่า ความทุกข์ที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติของชีวิต คือทุกข์เพราะการ บริหารขันธ์5 เข่นปวดปัสสาวะ ปวดอุจาระ หรือทุกข์เพราะร้อนหนาว และเจ็บป่วยโดยทั่วไป ตลอดจนชราภาพ
อนุปาทิเสสนิพพาน
ได้แก่ นิพพานของผู้ที่ไม่มีขันธ์หรือ อุปาทิ เหลืออยู่ คือนิพพานของพระอรหันต์ที่สิ้นชีวิตไปแล้ว
นัยที่4
อนิมิตตนิพพาน
ได้แก่ ภาวะของนิพพานนั้นไม่มีนิมิตเครื่องหมาย ไม่มีรูปร่าง ไม่มีสัญฐานและสีสรรวรรณะใดๆ ซึ่งหมายถึง ผู้เจริญวิปัสสนาที่เน้นหนักไปทาง อนิจลักษณะ คือ พิจารณาเห็นสังขารว่าเป็นของไม่เที่ยงแท้
อปณิหิตนิพพาน
ได้แก่ ภาวะของนิพพานนั้นไม่มีอารมณ์ อันเป็นที่น่าปรารถนา และไม่มีตัณหาอันเป็นตัวให้เกิด ความต้องการในอารมณ์นั้น หมายถึงผู้ที่เจริญวิปัสสนาที่เน้นหนักไปทาง ทุกข์ลักษณะ คือ พิจารณาเห็นว่าสังขาร เป็นสิ่งที่ทนได้ยากและทนอยู่ไม่ได้ ต้องเสื่อมไป
สุญญตนิพพาน
ได้แก่ ภาวะของนิพพานนั้นสูญสิ้นจากกิเลสและขันธ์5 ไม่มีอะไรเหลืออยู่ให้เห็นเป็นสิ่งผูกมัดกังวล หมายถึงผู้ที่เจริญวิปัสสนาที่เน้นหนักไปทาง อนัตตลักษณะ คือพิจารณาเห็นว่าสังขารเป็นสิ่งไม่มีตัวตน ไม่มีส่วนใดที่ เป็นเรา หรือเป็นของเรา เพราะไม่อยู่ในอำนาจที่จะบังคับบัญชาได้

ภาวะของผู้บรรลุนิพพาน

ภาวะทางปัญญา ผู้บรรลุนิพพาน มองเห็นทั้งหลายตามที่มันเป็น เห็นตามความจริง ตั้งแต่การ รับรู้อารมณ์ด้วยจิตใจที่เป็นกลาง และมีสติ ไม่หวั่นไหว หรือถูกชักจูงไปตามความชอบใจไม่ชอบใจ สามารถตามดูรู้ เห็นอารมณ์นั้นๆ ไปตามสภาวะของมันตั้งแต่ตันจนตลอดสาย ไม่ถูกความติดพัน ความข้องขัดขุ่นมัว หรือความกระทบ กระแทกอันเนื่องมาจากอารมณ์นั้นๆ มาฉุดรั้งหรือสะดดุเอาไว้ให้เขวไปเสียก่อน
ที่ลึกลงไปอีกคือ ปัญญาที่รู้เท่าทันสังขาร รู้สามัญลักษณะที่เป็นอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา รู้เท่าทัน สมมุติบัญญัติ ไม่ถูกหลอกลวงให้หลงไปตามรูปลักษณะภายนอก ของสิ่งทั้งหลาย และยอมรับความจริงทุกด้าน มิใช่ติด อยู่เพี่ยงแง่ใดแง่หนึ่ง
ภาวะทางจิต ผู้บรรลุนิพพาน จะมีความเป็นอิสระหรือที่เรียกว่า หลุดพ้น อันมีผลสืบเนื่องมา จากปัญญา คือเห็นตามความเป็นจริง รู้เท่าทันสังขารแล้ว จิตจึงหลุดพ้นจากอำนาจการครอบงำของกิเลส
เมื่อไม่ถูกกิเลสครอบงำ ไม่ตกเป็นทาสของอารมณ์ที่เย้ายวน ยั่วยุ อารมณ์ไม่เป็นที่ตั้งของราคะ โลภะ โมสะ โมหะ นอกจากไม่มีเหตุที่จะทำให้ความชั่วหรือเสียหายในทางที่ร้ายแรงแล้ว ยังมีหลักประกันความสุจริต ในการงานด้วย เป็นผู้ที่มีสติควบคุมตัวเองได้ เป็นผู้ที่ฝึกฝนมาดีแล้ว ผู้ชนะตนเองได้ ถือว่าเป็นที่สุดแห่งชัยชนะทั้งปวง
ภาวะทางความประพฤติและการดำเนินชีวิต ผู้บรรลุนิพพานนั้นจะมีพฤติกรรมหรือดำเนิน ชีวิตในลักษณะที่จะไม่ถูกชักจูงได้โดยอวิชชา ตัณหา และอุปาทาน คือไม่ทำการด้วยความยึดมั่นในความดีความชั่ว ที่เกี่ยวกับตัวเองและของตัวเอง หรือผลประโยชน์ของตัวเอง ไม่มีความปรารถนา เพื่อตัวตนแฝงอยู่ ไม่ว่าจะอยู่ในรูป หยาบหรือละเอียด คือทำไปตามวัตถุประสงค์ของกิจการนั้นๆ ตามเหตุผลของเรื่องนั้นๆ ตามที่มันควรจะเป็นของมัน ล้วนๆ เป็นการกระทำถึงขั้นที่ลอยพ้นเหนือกรรมดีขึ้นไปอีก ส่วนกรรมชั่วนั้นเป็นอันไม่ต้องกล่าวถึง เพราะหมดสิ้น โลภะ โทสะ โมหะ ที่จะเป็นเหตุปัจจัยให้ทำความชั่วเสียแล้ว.
(คัดมาจากอาจารย์กูเกิ้ล)
:b11:

คุณอโศกะ. ท่านคิดว่าท่านบรรลุนิพพานแล้วหรือยังครับ

s004
เป็นคำถามที่ตอบยากครับ ดูไปเรื่อยๆก็แล้วกัน
:b44:
ต้องอาจหาญร่าเริงซิครับ

s004
คุณศิริพงษ์ ไปหาหลวงพ่อหลวงตา ครูบาอาจารย์ต่างๆ คุณจะไปถามท่านก่อนไหมว่า หลวงพ่อหลวงตาเป็นโสดาบัน....อรหันต์หรือยัง เพื่อจะได้แน่ใจว่าควรกราบเคารพนับถือหรือไม่

โดยมรรยาทเรื่องอย่างนี้เขาจะถามกันตัวต่อตัวไม่เป็นเรื่องควรถามหรือตอบในที่สาธารณะนะครับ

พระพุทธเจ้าทรงห้ามภิกษุทั้งหลายไว้มิให้กล่าวอวดคุณธรรมในตน เพราะถ้าคุณธรรมนั้นมีอยู่ในตนจริงแล้วกล่าวบอกไปก็ต้องอาบัติปาจิตตีย์ แต่ถ้าคุณธรรมนั้นไม่มีในตนก็ถึงต้องอาบัติปาราชิกเลยเชียว

ครูบาอาจารย์ส่วนมากถ้าถูกถามเรื่องอย่างนี้ท่านมักจะเลี่ยงตอบเป็นการแสดงธรรมให้ฟังแทนแล้วให้คนถามไปคิดพิจารณาเอาเอง

อยากรู้ใครเป็นอริยเจ้าชั้นไหนไม่ควรถาม ควรพิจารณาเอาจากธรรมะที่ถามที่คุยที่โต้ตอบสนทนากันโดยให้สังเกตระดับของอัตตาและมานะทิฏฐิที่แสดงออกมาในคำพูดหรือทิศทางของคำพูดว่าชี้ไปในเรื่อใดเป็นส่วนใหญ่ ก็อาจพอคืบลามรู้ได้

ข้อสังเกตง่ายๆที่จะเห็นได้ง่ายอันที่ 1 คือ พระอริยเจ้าตั้งแต่พระโสดาบันขึ้นไปท่านจะมีพรหมวิหารธรรมสูงและสูงยิ่งๆขึ้นไปตามลำดับ

อันที่ 2 ความอ่อนน้อมถ่อมตนมีมากยิ่งๆขึ้นไปตามลำดับ

อันที่ 3 คำพูดข้อเขียนจะเป็นกลางมากขึ้นๆมากยิ่งๆขึ้นไปตามลำดับชั้นจนถึงระดับที่ไม่พูดร้ายว่าร้ายใครเลย มีแต่วาจาอันเป็นสุภาษิต สัจจะ

อันที่ 4 เรื่องที่พูดจะชี้ตรงไปที่ความหลุดพ้นเพียงอย่างเดียว

ดังนี้เป็นต้น
:b38:
ยากรู้ นึกว่าท่านเป็นแล้วซะอีก.


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 15 ก.ย. 2015, 17:08 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 4
สมาชิก ระดับ 4
ลงทะเบียนเมื่อ: 13 ก.ค. 2009, 22:19
โพสต์: 271

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


Rosarin เขียน:
ศิริพงศ์ เขียน:
บางครั้งตัวตนที่แท้จริง. มันก็ปรากฎยามภูกขอความช่วยเหลือนะโดยเฉพาะเรื่องเงินๆทอง

:b32:
ตัวตนของคนขอน่ะเหรอ
พ่อแม่ญาติพี่ร้องไม่ช่วย
แสดงว่าไม่ใช่คนดีน่ะสิ
คนที่ทำบุญร่วมชาติมา
เขาให้ตามยถากรรมไง
:b17:
:b22: :b22:
คนให้โดยไม่ถามอะไรนี้. สุดยอดเลยนะหายากจัง. ใครกัน


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 15 ก.ย. 2015, 19:36 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 27 ก.พ. 2012, 12:27
โพสต์: 2372

แนวปฏิบัติ: ปฏิจจสมุปบาท และกรรมฐาน
งานอดิเรก: สวดมนต์รภาวนา
อายุ: 27

 ข้อมูลส่วนตัว


ศิริพงศ์ เขียน:
Rosarin เขียน:
ศิริพงศ์ เขียน:
บางครั้งตัวตนที่แท้จริง. มันก็ปรากฎยามภูกขอความช่วยเหลือนะโดยเฉพาะเรื่องเงินๆทอง

:b32:
ตัวตนของคนขอน่ะเหรอ
พ่อแม่ญาติพี่ร้องไม่ช่วย
แสดงว่าไม่ใช่คนดีน่ะสิ
คนที่ทำบุญร่วมชาติมา
เขาให้ตามยถากรรมไง
:b17:
:b22: :b22:
คนให้โดยไม่ถามอะไรนี้. สุดยอดเลยนะหายากจัง. ใครกัน

พี่ eragon_joe ก็สุดยอดค่ะ ให้ตังค์คนจรจัดหลงทางทั้งที่เข้าไม่ได้เอ่ยปากขอ แต่เห็นคุ้ยขยะหาเศษอาหารกิน แถมยังให้ตังค์เป็นค่ารถกลับบ้าน แถมบริจาคตังค์ช่วยชาวเนปาล :b13: :b13:
โอ้ยจิตใจงดงามยังกับนางฟ้า สุดยอดดด :b20:
ปล. มีอีกคนที่เป็นผู้ให้ที่ประเสริฐ เกิดมาเพื่ออนุเคราห์สรรพสัตว์ผู้มีกรรมอันน่าเวทนา นั่นคือ
คุน บิล บันลือฤทธิ์ ค่ะ พระโพธิสัตว์ชัวร์ Kiss


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 17 ก.ย. 2015, 04:23 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 18 ก.ย. 2011, 21:51
โพสต์: 4941


 ข้อมูลส่วนตัว


ศิริพงศ์ เขียน:
asoka เขียน:
ศิริพงศ์ เขียน:
asoka เขียน:
ศิริพงศ์ เขียน:
asoka เขียน:
ศิริพงศ์ เขียน:
asoka เขียน:
:b16:
อ้างคำพูด:
นิพพาน. เป็นอย่างไร. ท่านอโสกะพูดเหมือนรู้จักจริง

:b12:
ถามอย่างนี้มันเหมือนกับคนที่ไปพยายามถามว่า เค็ม เป็นอย่างไร?
s006
ใครอธิบายความเค็มด้วยภาษามนุษย์ให้เข้าใจได้บ้าง เพราะยังไม่เคยเห็นมีใครอธิบายได้

แต่วิธีที่จะได้สัมผัสรู้ความเค็มนั้นอธิบายกันได้แน่นอนสำหรับคนที่เคยสัมผัสและรู้รสความเค็มมาแล้ว

ดั้งนั้นนิพพานก็เช่นกัน ผมบอกวิธีไปสัมผัสนิพพานได้ แต่อธิบายนิพพานให้ผู้ฟังรู้ชัดจริงๆไม่ได้ ต้องไปสัมผัสจริงกันเอาเองครับ
:b53:
แล้วสิ่งที่เจอจะเชื่อได้เหรอว่านั้นคือนิพพาน.

:b39:
นิพพาน
นิพพาน เป็นสภาวะของจิตที่ปราศจากกิเลส อันเป็นเครื่องมือร้อยรัดจิตใจให้ห่วง กังวล วุ่นวาย สับสน รุ่มร้อน เมื่อจิตใจปราศจากกิเลสเสียแล้วก็ไม่วุ่นวาย สับสน หรือรุ่มร้อนใดๆอีก จิตก็สงบ ร่มเย็น และเป็นสุข ซึ่งเป็น ความสุขอันสูงสุด เป็นเป้าหมายของการปฎิบัติธรรม ตามหลักคำสอน ของพระพุทธศาสนา ความสุขแบบนิพพานนั้นไม่ใช่ความสุขปกติธรรมดาทั่วไปอันเกิดจากการ ได้รับอารมณ์ที่น่าปรารถนา น่าพอใจ โดยผ่านทางประสาทสัมผัสต่างๆ ที่เรียกว่า สุขเวทนา แต่จะเป็นความสุขที่อยู่นอกเหนือการรับรู้ทางประสาท สัมผัสเหล่านั้น เป็นสภาวะแห่งความสุข ที่ผู้บรรลุแล้วเท่านั้น จึงจะประจักษ์ได้ด้วยตนเอง

ลักษณะของนิพพาน
นิพพานมีลักษณะ 4 ประการ คือ
1. อัจจุตะ สภาวะที่ไม่ตาย คือนิพพานเป็นสภาวะมี่ไม่มีการเกิดและไม่มีการตาย เป็นสภาวะธรรมที่ ไม่ตกอยู่ภายใต้เงื่อนไขแห่งการเวลา หรือที่เรียกว่า กาลวิมุตติ
2. อัจจันตะ สภาวะที่เที่ยงแท้แน่นอน ไม่มีการแปรผันเป็นอื่น คือ ผู้บรรลุนิพพานแล้ว จะกลับเสื่อม จากนิพพานเป็นไม่มี
3. อสังขตะ สภาวะที่ไม่ถูกปรุงแต่งด้วยปัจจัย4 คือ กรรม จิต อุตุ และอาหาร นิพพานไม่ใช่จิต เจตสิก หรือรูปที่เกิดขึ้นโดยอาศัยปัจจัยปรุงแต่ง เป็นสภาวะที่พ้นจากขันธ์ 5 คือ ขันธวิมุตติ
4. อนุตระ สภาวะที่ประเสริฐสูงสุด ไม่มีสิ่งใดยิ่งกว่า เป็นโลกุตรธรรม
สถานะของนิพพาน

แม้ชาวพุทธทั่วไปจะมีความเชื่อว่า นิพพานมีอยู่จริง สามารถบรรลุได้จริง แต่ก็มักจะคำถามเสมอ ว่า "นิพพานอยู่ไหน" นั่นเพราะการสอนธรรมะแบบ บุคลาธิษฐาน ทำให้คิดกันว่า นิพพานเป็นอีกโลกหนึ่ง ที่มิใช่โลก มนุษย์ และอยู่สูงกว่าโลกและสวรรค์ เช่นการสอนเรื่องวิบากแห่งกุศลกรรม การได้มาซึ่งมนุษยสมบัติ สวรรคสมบัติ และนิพพานสมบัติ การสอนว่ามนุษย์เป็นโลกๆหนึ่ง สวรรค์เป็นโลกแห่งความสุขอยู่เหนือโลกมนุษย์ และมีถึง 6 ชั้น การสอนเช่นนี้ทำให้เชื่อกันว่า นิพพานอยู่เหนือโลกมนุษย์และสวรรค์ขึ้นไปอีก จนนิพพานกลายเป็นสิ่งที่ไม่อาจจะ บรรลุได้ ไปถึงได้ในชาตินี้ เมื่อทำบุญก็ปรารถนานิพพานเพราะเชื่อว่าเป็นดินแดนบรมสุข อธิษฐานเพียงขอให้นิพพาน ในกาลเบื้องหน้า
นิพพานจึงเป็นสิ่งไกลเกินฝัน คำสอนเรื่องนิพพานกลายเป็นเป็นสิ่งสูงส่ง เข้าใจยาก บุคคลทั่วไปไม่ คู่ควร เรื่องของนิพพานแทบจะหมดความหมาย และสิ้นหวัง กลายเป็นเรื่องเลื่อนลอยเพ้อฝัน เพราะคำสอนผิดๆ นั่นเอง
ที่ทำให้เกิดความเข้าใจเช่นนั้นในประดาชาวพุทธทั้งหลาย
คำสอนเรื่องนิพพานไม่ใช่คำสอนที่สูงส่งกว่าที่คนธรรมดาจะเข้าใจ นิพพานไม่ใช่สภาวะที่คนทั่วไป ไม่อาจจะเข้าถึง นิพานมิใช่เมืองแก้ว มิใช่มหานฤพาน แต่อย่างใดเลย นิพพานเป็นคำสอนสำหรับคนธรรมดาสามัญ ทั่วๆไป เป็นคำสอนของพระพุทธเจ้า ที่ทรงสอนไว้เพื่อเป็นการแก้ไขปํญหาของมนุษย์ และสังคม ดังที่พระองค์ได้ ตรัสถึงเรื่อง ปรมัตถธรรม4 จิต เจตสิก รูป นิพพาน ทั้งหมดล้วนเป็นเรื่องที่เกี่ยวกับมนุษย์ทั้งสิ้น กล่าวคือ จิตและ เจตสิกเป็นนามธรรม รูปเป็นรูปธรรม ส่วนนิพพานนั้นเป็นเป้าหมายของการปฎิบัติธรรม
ในสังคมเราทุกวันนี้ หากมนุษย์ส่วนใหญ่สามารถละกิเลสได้แม้เพียงแค่บางส่วน สังคมก็จะน่าอยู่ ขึ้นอีกไม่น้อยเลย ถ้าหากมนุษย์สามารถเอาชนะกิเลสของตนเองได้หมด ไม่ตกเป็นทาสของกิเลส สังคมก็จะยิ่งน่าอยู่ ถึงขนานที่เรียกได้ว่าเป็น สังคมอริยะเลยทีเดียว คือเป็นสังคมอุดมคติของพุทธศาสนาแท้ๆ ดังคำสอนของพระพุทธองค์ ที่ว่า
" นิพพานอันผู้บรรลุเห็นได้เอง ไม่ขึ้นแก่กาล เรียกมาให้ดูได้ ควรน้อมเข้ามาไว้ในตน อันวิญญูชน พึงรู้เฉพาะตน "
" นิพพาน คือความสิ้นราคะ สิ้นโทสะ สิ้นโมหะ "
" นิพพาน คือความสิ้นตัณหา "
" ยังอิงอยู่จึงมีการสั่นไหว เมื่อไม่อิงแล้วก็ไม่มีการสั่นไหว เมื่อไม่มีการสั่นไหวก็นิ่งสนิท เมื่อนิ่งสนิท ก็ไม่มีการโอนเอน เมื่อไม่มีการโอนเอนก็ไม่มีการมาการไป เมื่อไม่มีการมาการไปก็ไม่มีการจุติและอุบัติ เมื่อไม่มี การจุติและอุบัติก็ไม่มีภพนี้ ภพหน้า ไม่มีในระหว่างทั้งสองภพ นั่นแหละคือที่สุดแห่งทุกข์ "
ประเภทของนิพพาน

ประเภทของนิพพานมีการแสดงไว้หลายนัยด้วยกัน คือ
นัยที่1
นิพพานโดยสภาวะลักษณะ
คือ สันติลักษณะ มีความสงบกิเลสและขันธ์5 เป็นหลัก ซึ่งพระอรหันต์ทั้งหลายเมื่อเข้าสู่นิพพานแล้ว ย่อมพบกับสันติสุขด้วนกันทั้งสิ้น คือ ความสิ้นไปแห่งตัณหา พ้นจากความเกิดและความตาย
นัยที่2
นิพพานโดยปริยาย
คือการดับกิเลส อันได้แก่ ราคะ โทสะ โมหะ ได้เป็นครั้งเป็นคราว หรือดับได้เพียงบางส่วน
นิพพานโดยนิปปริยาย
คือการดับกิเลสได้ โดยประการทั้งปวงอย่างเด็ดขาด
นัยที่3
สอุปาทิเสสนิพพาน
ได้แก่ นิพพานของพระอรหันต์ที่ยังมีชีวิตอยู่ และได้ทำลายกิเลสหมดสิ้นไปแล้ว ความทุกข์อันเกิดจาก อำนาจแห่งกิเลสนั้น จึงไม่เกิดกับท่าน เว้นเสียแต่ว่า ความทุกข์ที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติของชีวิต คือทุกข์เพราะการ บริหารขันธ์5 เข่นปวดปัสสาวะ ปวดอุจาระ หรือทุกข์เพราะร้อนหนาว และเจ็บป่วยโดยทั่วไป ตลอดจนชราภาพ
อนุปาทิเสสนิพพาน
ได้แก่ นิพพานของผู้ที่ไม่มีขันธ์หรือ อุปาทิ เหลืออยู่ คือนิพพานของพระอรหันต์ที่สิ้นชีวิตไปแล้ว
นัยที่4
อนิมิตตนิพพาน
ได้แก่ ภาวะของนิพพานนั้นไม่มีนิมิตเครื่องหมาย ไม่มีรูปร่าง ไม่มีสัญฐานและสีสรรวรรณะใดๆ ซึ่งหมายถึง ผู้เจริญวิปัสสนาที่เน้นหนักไปทาง อนิจลักษณะ คือ พิจารณาเห็นสังขารว่าเป็นของไม่เที่ยงแท้
อปณิหิตนิพพาน
ได้แก่ ภาวะของนิพพานนั้นไม่มีอารมณ์ อันเป็นที่น่าปรารถนา และไม่มีตัณหาอันเป็นตัวให้เกิด ความต้องการในอารมณ์นั้น หมายถึงผู้ที่เจริญวิปัสสนาที่เน้นหนักไปทาง ทุกข์ลักษณะ คือ พิจารณาเห็นว่าสังขาร เป็นสิ่งที่ทนได้ยากและทนอยู่ไม่ได้ ต้องเสื่อมไป
สุญญตนิพพาน
ได้แก่ ภาวะของนิพพานนั้นสูญสิ้นจากกิเลสและขันธ์5 ไม่มีอะไรเหลืออยู่ให้เห็นเป็นสิ่งผูกมัดกังวล หมายถึงผู้ที่เจริญวิปัสสนาที่เน้นหนักไปทาง อนัตตลักษณะ คือพิจารณาเห็นว่าสังขารเป็นสิ่งไม่มีตัวตน ไม่มีส่วนใดที่ เป็นเรา หรือเป็นของเรา เพราะไม่อยู่ในอำนาจที่จะบังคับบัญชาได้

ภาวะของผู้บรรลุนิพพาน

ภาวะทางปัญญา ผู้บรรลุนิพพาน มองเห็นทั้งหลายตามที่มันเป็น เห็นตามความจริง ตั้งแต่การ รับรู้อารมณ์ด้วยจิตใจที่เป็นกลาง และมีสติ ไม่หวั่นไหว หรือถูกชักจูงไปตามความชอบใจไม่ชอบใจ สามารถตามดูรู้ เห็นอารมณ์นั้นๆ ไปตามสภาวะของมันตั้งแต่ตันจนตลอดสาย ไม่ถูกความติดพัน ความข้องขัดขุ่นมัว หรือความกระทบ กระแทกอันเนื่องมาจากอารมณ์นั้นๆ มาฉุดรั้งหรือสะดดุเอาไว้ให้เขวไปเสียก่อน
ที่ลึกลงไปอีกคือ ปัญญาที่รู้เท่าทันสังขาร รู้สามัญลักษณะที่เป็นอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา รู้เท่าทัน สมมุติบัญญัติ ไม่ถูกหลอกลวงให้หลงไปตามรูปลักษณะภายนอก ของสิ่งทั้งหลาย และยอมรับความจริงทุกด้าน มิใช่ติด อยู่เพี่ยงแง่ใดแง่หนึ่ง
ภาวะทางจิต ผู้บรรลุนิพพาน จะมีความเป็นอิสระหรือที่เรียกว่า หลุดพ้น อันมีผลสืบเนื่องมา จากปัญญา คือเห็นตามความเป็นจริง รู้เท่าทันสังขารแล้ว จิตจึงหลุดพ้นจากอำนาจการครอบงำของกิเลส
เมื่อไม่ถูกกิเลสครอบงำ ไม่ตกเป็นทาสของอารมณ์ที่เย้ายวน ยั่วยุ อารมณ์ไม่เป็นที่ตั้งของราคะ โลภะ โมสะ โมหะ นอกจากไม่มีเหตุที่จะทำให้ความชั่วหรือเสียหายในทางที่ร้ายแรงแล้ว ยังมีหลักประกันความสุจริต ในการงานด้วย เป็นผู้ที่มีสติควบคุมตัวเองได้ เป็นผู้ที่ฝึกฝนมาดีแล้ว ผู้ชนะตนเองได้ ถือว่าเป็นที่สุดแห่งชัยชนะทั้งปวง
ภาวะทางความประพฤติและการดำเนินชีวิต ผู้บรรลุนิพพานนั้นจะมีพฤติกรรมหรือดำเนิน ชีวิตในลักษณะที่จะไม่ถูกชักจูงได้โดยอวิชชา ตัณหา และอุปาทาน คือไม่ทำการด้วยความยึดมั่นในความดีความชั่ว ที่เกี่ยวกับตัวเองและของตัวเอง หรือผลประโยชน์ของตัวเอง ไม่มีความปรารถนา เพื่อตัวตนแฝงอยู่ ไม่ว่าจะอยู่ในรูป หยาบหรือละเอียด คือทำไปตามวัตถุประสงค์ของกิจการนั้นๆ ตามเหตุผลของเรื่องนั้นๆ ตามที่มันควรจะเป็นของมัน ล้วนๆ เป็นการกระทำถึงขั้นที่ลอยพ้นเหนือกรรมดีขึ้นไปอีก ส่วนกรรมชั่วนั้นเป็นอันไม่ต้องกล่าวถึง เพราะหมดสิ้น โลภะ โทสะ โมหะ ที่จะเป็นเหตุปัจจัยให้ทำความชั่วเสียแล้ว.
(คัดมาจากอาจารย์กูเกิ้ล)
:b11:

คุณอโศกะ. ท่านคิดว่าท่านบรรลุนิพพานแล้วหรือยังครับ

s004
เป็นคำถามที่ตอบยากครับ ดูไปเรื่อยๆก็แล้วกัน
:b44:
ต้องอาจหาญร่าเริงซิครับ

s004
คุณศิริพงษ์ ไปหาหลวงพ่อหลวงตา ครูบาอาจารย์ต่างๆ คุณจะไปถามท่านก่อนไหมว่า หลวงพ่อหลวงตาเป็นโสดาบัน....อรหันต์หรือยัง เพื่อจะได้แน่ใจว่าควรกราบเคารพนับถือหรือไม่

โดยมรรยาทเรื่องอย่างนี้เขาจะถามกันตัวต่อตัวไม่เป็นเรื่องควรถามหรือตอบในที่สาธารณะนะครับ

พระพุทธเจ้าทรงห้ามภิกษุทั้งหลายไว้มิให้กล่าวอวดคุณธรรมในตน เพราะถ้าคุณธรรมนั้นมีอยู่ในตนจริงแล้วกล่าวบอกไปก็ต้องอาบัติปาจิตตีย์ แต่ถ้าคุณธรรมนั้นไม่มีในตนก็ถึงต้องอาบัติปาราชิกเลยเชียว

ครูบาอาจารย์ส่วนมากถ้าถูกถามเรื่องอย่างนี้ท่านมักจะเลี่ยงตอบเป็นการแสดงธรรมให้ฟังแทนแล้วให้คนถามไปคิดพิจารณาเอาเอง

อยากรู้ใครเป็นอริยเจ้าชั้นไหนไม่ควรถาม ควรพิจารณาเอาจากธรรมะที่ถามที่คุยที่โต้ตอบสนทนากันโดยให้สังเกตระดับของอัตตาและมานะทิฏฐิที่แสดงออกมาในคำพูดหรือทิศทางของคำพูดว่าชี้ไปในเรื่อใดเป็นส่วนใหญ่ ก็อาจพอคืบลามรู้ได้

ข้อสังเกตง่ายๆที่จะเห็นได้ง่ายอันที่ 1 คือ พระอริยเจ้าตั้งแต่พระโสดาบันขึ้นไปท่านจะมีพรหมวิหารธรรมสูงและสูงยิ่งๆขึ้นไปตามลำดับ

อันที่ 2 ความอ่อนน้อมถ่อมตนมีมากยิ่งๆขึ้นไปตามลำดับ

อันที่ 3 คำพูดข้อเขียนจะเป็นกลางมากขึ้นๆมากยิ่งๆขึ้นไปตามลำดับชั้นจนถึงระดับที่ไม่พูดร้ายว่าร้ายใครเลย มีแต่วาจาอันเป็นสุภาษิต สัจจะ

อันที่ 4 เรื่องที่พูดจะชี้ตรงไปที่ความหลุดพ้นเพียงอย่างเดียว

ดังนี้เป็นต้น
:b38:
ยากรู้ นึกว่าท่านเป็นแล้วซะอีก.

:b12: :b12: :b13:
"แล้วคุณศิริพงษ์เป็นโสดาบันหรือยังครับ"
s006
s006
:b10:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 17 ก.ย. 2015, 06:11 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 4
สมาชิก ระดับ 4
ลงทะเบียนเมื่อ: 13 ก.ค. 2009, 22:19
โพสต์: 271

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


asoka เขียน:
ศิริพงศ์ เขียน:
asoka เขียน:
ศิริพงศ์ เขียน:
asoka เขียน:
ศิริพงศ์ เขียน:
asoka เขียน:
ศิริพงศ์ เขียน:
asoka เขียน:
:b16:
อ้างคำพูด:
นิพพาน. เป็นอย่างไร. ท่านอโสกะพูดเหมือนรู้จักจริง

:b12:
ถามอย่างนี้มันเหมือนกับคนที่ไปพยายามถามว่า เค็ม เป็นอย่างไร?
s006
ใครอธิบายความเค็มด้วยภาษามนุษย์ให้เข้าใจได้บ้าง เพราะยังไม่เคยเห็นมีใครอธิบายได้

แต่วิธีที่จะได้สัมผัสรู้ความเค็มนั้นอธิบายกันได้แน่นอนสำหรับคนที่เคยสัมผัสและรู้รสความเค็มมาแล้ว

ดั้งนั้นนิพพานก็เช่นกัน ผมบอกวิธีไปสัมผัสนิพพานได้ แต่อธิบายนิพพานให้ผู้ฟังรู้ชัดจริงๆไม่ได้ ต้องไปสัมผัสจริงกันเอาเองครับ
:b53:
แล้วสิ่งที่เจอจะเชื่อได้เหรอว่านั้นคือนิพพาน.

:b39:
นิพพาน
นิพพาน เป็นสภาวะของจิตที่ปราศจากกิเลส อันเป็นเครื่องมือร้อยรัดจิตใจให้ห่วง กังวล วุ่นวาย สับสน รุ่มร้อน เมื่อจิตใจปราศจากกิเลสเสียแล้วก็ไม่วุ่นวาย สับสน หรือรุ่มร้อนใดๆอีก จิตก็สงบ ร่มเย็น และเป็นสุข ซึ่งเป็น ความสุขอันสูงสุด เป็นเป้าหมายของการปฎิบัติธรรม ตามหลักคำสอน ของพระพุทธศาสนา ความสุขแบบนิพพานนั้นไม่ใช่ความสุขปกติธรรมดาทั่วไปอันเกิดจากการ ได้รับอารมณ์ที่น่าปรารถนา น่าพอใจ โดยผ่านทางประสาทสัมผัสต่างๆ ที่เรียกว่า สุขเวทนา แต่จะเป็นความสุขที่อยู่นอกเหนือการรับรู้ทางประสาท สัมผัสเหล่านั้น เป็นสภาวะแห่งความสุข ที่ผู้บรรลุแล้วเท่านั้น จึงจะประจักษ์ได้ด้วยตนเอง

ลักษณะของนิพพาน
นิพพานมีลักษณะ 4 ประการ คือ
1. อัจจุตะ สภาวะที่ไม่ตาย คือนิพพานเป็นสภาวะมี่ไม่มีการเกิดและไม่มีการตาย เป็นสภาวะธรรมที่ ไม่ตกอยู่ภายใต้เงื่อนไขแห่งการเวลา หรือที่เรียกว่า กาลวิมุตติ
2. อัจจันตะ สภาวะที่เที่ยงแท้แน่นอน ไม่มีการแปรผันเป็นอื่น คือ ผู้บรรลุนิพพานแล้ว จะกลับเสื่อม จากนิพพานเป็นไม่มี
3. อสังขตะ สภาวะที่ไม่ถูกปรุงแต่งด้วยปัจจัย4 คือ กรรม จิต อุตุ และอาหาร นิพพานไม่ใช่จิต เจตสิก หรือรูปที่เกิดขึ้นโดยอาศัยปัจจัยปรุงแต่ง เป็นสภาวะที่พ้นจากขันธ์ 5 คือ ขันธวิมุตติ
4. อนุตระ สภาวะที่ประเสริฐสูงสุด ไม่มีสิ่งใดยิ่งกว่า เป็นโลกุตรธรรม
สถานะของนิพพาน

แม้ชาวพุทธทั่วไปจะมีความเชื่อว่า นิพพานมีอยู่จริง สามารถบรรลุได้จริง แต่ก็มักจะคำถามเสมอ ว่า "นิพพานอยู่ไหน" นั่นเพราะการสอนธรรมะแบบ บุคลาธิษฐาน ทำให้คิดกันว่า นิพพานเป็นอีกโลกหนึ่ง ที่มิใช่โลก มนุษย์ และอยู่สูงกว่าโลกและสวรรค์ เช่นการสอนเรื่องวิบากแห่งกุศลกรรม การได้มาซึ่งมนุษยสมบัติ สวรรคสมบัติ และนิพพานสมบัติ การสอนว่ามนุษย์เป็นโลกๆหนึ่ง สวรรค์เป็นโลกแห่งความสุขอยู่เหนือโลกมนุษย์ และมีถึง 6 ชั้น การสอนเช่นนี้ทำให้เชื่อกันว่า นิพพานอยู่เหนือโลกมนุษย์และสวรรค์ขึ้นไปอีก จนนิพพานกลายเป็นสิ่งที่ไม่อาจจะ บรรลุได้ ไปถึงได้ในชาตินี้ เมื่อทำบุญก็ปรารถนานิพพานเพราะเชื่อว่าเป็นดินแดนบรมสุข อธิษฐานเพียงขอให้นิพพาน ในกาลเบื้องหน้า
นิพพานจึงเป็นสิ่งไกลเกินฝัน คำสอนเรื่องนิพพานกลายเป็นเป็นสิ่งสูงส่ง เข้าใจยาก บุคคลทั่วไปไม่ คู่ควร เรื่องของนิพพานแทบจะหมดความหมาย และสิ้นหวัง กลายเป็นเรื่องเลื่อนลอยเพ้อฝัน เพราะคำสอนผิดๆ นั่นเอง
ที่ทำให้เกิดความเข้าใจเช่นนั้นในประดาชาวพุทธทั้งหลาย
คำสอนเรื่องนิพพานไม่ใช่คำสอนที่สูงส่งกว่าที่คนธรรมดาจะเข้าใจ นิพพานไม่ใช่สภาวะที่คนทั่วไป ไม่อาจจะเข้าถึง นิพานมิใช่เมืองแก้ว มิใช่มหานฤพาน แต่อย่างใดเลย นิพพานเป็นคำสอนสำหรับคนธรรมดาสามัญ ทั่วๆไป เป็นคำสอนของพระพุทธเจ้า ที่ทรงสอนไว้เพื่อเป็นการแก้ไขปํญหาของมนุษย์ และสังคม ดังที่พระองค์ได้ ตรัสถึงเรื่อง ปรมัตถธรรม4 จิต เจตสิก รูป นิพพาน ทั้งหมดล้วนเป็นเรื่องที่เกี่ยวกับมนุษย์ทั้งสิ้น กล่าวคือ จิตและ เจตสิกเป็นนามธรรม รูปเป็นรูปธรรม ส่วนนิพพานนั้นเป็นเป้าหมายของการปฎิบัติธรรม
ในสังคมเราทุกวันนี้ หากมนุษย์ส่วนใหญ่สามารถละกิเลสได้แม้เพียงแค่บางส่วน สังคมก็จะน่าอยู่ ขึ้นอีกไม่น้อยเลย ถ้าหากมนุษย์สามารถเอาชนะกิเลสของตนเองได้หมด ไม่ตกเป็นทาสของกิเลส สังคมก็จะยิ่งน่าอยู่ ถึงขนานที่เรียกได้ว่าเป็น สังคมอริยะเลยทีเดียว คือเป็นสังคมอุดมคติของพุทธศาสนาแท้ๆ ดังคำสอนของพระพุทธองค์ ที่ว่า
" นิพพานอันผู้บรรลุเห็นได้เอง ไม่ขึ้นแก่กาล เรียกมาให้ดูได้ ควรน้อมเข้ามาไว้ในตน อันวิญญูชน พึงรู้เฉพาะตน "
" นิพพาน คือความสิ้นราคะ สิ้นโทสะ สิ้นโมหะ "
" นิพพาน คือความสิ้นตัณหา "
" ยังอิงอยู่จึงมีการสั่นไหว เมื่อไม่อิงแล้วก็ไม่มีการสั่นไหว เมื่อไม่มีการสั่นไหวก็นิ่งสนิท เมื่อนิ่งสนิท ก็ไม่มีการโอนเอน เมื่อไม่มีการโอนเอนก็ไม่มีการมาการไป เมื่อไม่มีการมาการไปก็ไม่มีการจุติและอุบัติ เมื่อไม่มี การจุติและอุบัติก็ไม่มีภพนี้ ภพหน้า ไม่มีในระหว่างทั้งสองภพ นั่นแหละคือที่สุดแห่งทุกข์ "
ประเภทของนิพพาน

ประเภทของนิพพานมีการแสดงไว้หลายนัยด้วยกัน คือ
นัยที่1
นิพพานโดยสภาวะลักษณะ
คือ สันติลักษณะ มีความสงบกิเลสและขันธ์5 เป็นหลัก ซึ่งพระอรหันต์ทั้งหลายเมื่อเข้าสู่นิพพานแล้ว ย่อมพบกับสันติสุขด้วนกันทั้งสิ้น คือ ความสิ้นไปแห่งตัณหา พ้นจากความเกิดและความตาย
นัยที่2
นิพพานโดยปริยาย
คือการดับกิเลส อันได้แก่ ราคะ โทสะ โมหะ ได้เป็นครั้งเป็นคราว หรือดับได้เพียงบางส่วน
นิพพานโดยนิปปริยาย
คือการดับกิเลสได้ โดยประการทั้งปวงอย่างเด็ดขาด
นัยที่3
สอุปาทิเสสนิพพาน
ได้แก่ นิพพานของพระอรหันต์ที่ยังมีชีวิตอยู่ และได้ทำลายกิเลสหมดสิ้นไปแล้ว ความทุกข์อันเกิดจาก อำนาจแห่งกิเลสนั้น จึงไม่เกิดกับท่าน เว้นเสียแต่ว่า ความทุกข์ที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติของชีวิต คือทุกข์เพราะการ บริหารขันธ์5 เข่นปวดปัสสาวะ ปวดอุจาระ หรือทุกข์เพราะร้อนหนาว และเจ็บป่วยโดยทั่วไป ตลอดจนชราภาพ
อนุปาทิเสสนิพพาน
ได้แก่ นิพพานของผู้ที่ไม่มีขันธ์หรือ อุปาทิ เหลืออยู่ คือนิพพานของพระอรหันต์ที่สิ้นชีวิตไปแล้ว
นัยที่4
อนิมิตตนิพพาน
ได้แก่ ภาวะของนิพพานนั้นไม่มีนิมิตเครื่องหมาย ไม่มีรูปร่าง ไม่มีสัญฐานและสีสรรวรรณะใดๆ ซึ่งหมายถึง ผู้เจริญวิปัสสนาที่เน้นหนักไปทาง อนิจลักษณะ คือ พิจารณาเห็นสังขารว่าเป็นของไม่เที่ยงแท้
อปณิหิตนิพพาน
ได้แก่ ภาวะของนิพพานนั้นไม่มีอารมณ์ อันเป็นที่น่าปรารถนา และไม่มีตัณหาอันเป็นตัวให้เกิด ความต้องการในอารมณ์นั้น หมายถึงผู้ที่เจริญวิปัสสนาที่เน้นหนักไปทาง ทุกข์ลักษณะ คือ พิจารณาเห็นว่าสังขาร เป็นสิ่งที่ทนได้ยากและทนอยู่ไม่ได้ ต้องเสื่อมไป
สุญญตนิพพาน
ได้แก่ ภาวะของนิพพานนั้นสูญสิ้นจากกิเลสและขันธ์5 ไม่มีอะไรเหลืออยู่ให้เห็นเป็นสิ่งผูกมัดกังวล หมายถึงผู้ที่เจริญวิปัสสนาที่เน้นหนักไปทาง อนัตตลักษณะ คือพิจารณาเห็นว่าสังขารเป็นสิ่งไม่มีตัวตน ไม่มีส่วนใดที่ เป็นเรา หรือเป็นของเรา เพราะไม่อยู่ในอำนาจที่จะบังคับบัญชาได้

ภาวะของผู้บรรลุนิพพาน

ภาวะทางปัญญา ผู้บรรลุนิพพาน มองเห็นทั้งหลายตามที่มันเป็น เห็นตามความจริง ตั้งแต่การ รับรู้อารมณ์ด้วยจิตใจที่เป็นกลาง และมีสติ ไม่หวั่นไหว หรือถูกชักจูงไปตามความชอบใจไม่ชอบใจ สามารถตามดูรู้ เห็นอารมณ์นั้นๆ ไปตามสภาวะของมันตั้งแต่ตันจนตลอดสาย ไม่ถูกความติดพัน ความข้องขัดขุ่นมัว หรือความกระทบ กระแทกอันเนื่องมาจากอารมณ์นั้นๆ มาฉุดรั้งหรือสะดดุเอาไว้ให้เขวไปเสียก่อน
ที่ลึกลงไปอีกคือ ปัญญาที่รู้เท่าทันสังขาร รู้สามัญลักษณะที่เป็นอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา รู้เท่าทัน สมมุติบัญญัติ ไม่ถูกหลอกลวงให้หลงไปตามรูปลักษณะภายนอก ของสิ่งทั้งหลาย และยอมรับความจริงทุกด้าน มิใช่ติด อยู่เพี่ยงแง่ใดแง่หนึ่ง
ภาวะทางจิต ผู้บรรลุนิพพาน จะมีความเป็นอิสระหรือที่เรียกว่า หลุดพ้น อันมีผลสืบเนื่องมา จากปัญญา คือเห็นตามความเป็นจริง รู้เท่าทันสังขารแล้ว จิตจึงหลุดพ้นจากอำนาจการครอบงำของกิเลส
เมื่อไม่ถูกกิเลสครอบงำ ไม่ตกเป็นทาสของอารมณ์ที่เย้ายวน ยั่วยุ อารมณ์ไม่เป็นที่ตั้งของราคะ โลภะ โมสะ โมหะ นอกจากไม่มีเหตุที่จะทำให้ความชั่วหรือเสียหายในทางที่ร้ายแรงแล้ว ยังมีหลักประกันความสุจริต ในการงานด้วย เป็นผู้ที่มีสติควบคุมตัวเองได้ เป็นผู้ที่ฝึกฝนมาดีแล้ว ผู้ชนะตนเองได้ ถือว่าเป็นที่สุดแห่งชัยชนะทั้งปวง
ภาวะทางความประพฤติและการดำเนินชีวิต ผู้บรรลุนิพพานนั้นจะมีพฤติกรรมหรือดำเนิน ชีวิตในลักษณะที่จะไม่ถูกชักจูงได้โดยอวิชชา ตัณหา และอุปาทาน คือไม่ทำการด้วยความยึดมั่นในความดีความชั่ว ที่เกี่ยวกับตัวเองและของตัวเอง หรือผลประโยชน์ของตัวเอง ไม่มีความปรารถนา เพื่อตัวตนแฝงอยู่ ไม่ว่าจะอยู่ในรูป หยาบหรือละเอียด คือทำไปตามวัตถุประสงค์ของกิจการนั้นๆ ตามเหตุผลของเรื่องนั้นๆ ตามที่มันควรจะเป็นของมัน ล้วนๆ เป็นการกระทำถึงขั้นที่ลอยพ้นเหนือกรรมดีขึ้นไปอีก ส่วนกรรมชั่วนั้นเป็นอันไม่ต้องกล่าวถึง เพราะหมดสิ้น โลภะ โทสะ โมหะ ที่จะเป็นเหตุปัจจัยให้ทำความชั่วเสียแล้ว.
(คัดมาจากอาจารย์กูเกิ้ล)
:b11:

คุณอโศกะ. ท่านคิดว่าท่านบรรลุนิพพานแล้วหรือยังครับ

s004
เป็นคำถามที่ตอบยากครับ ดูไปเรื่อยๆก็แล้วกัน
:b44:
ต้องอาจหาญร่าเริงซิครับ

s004
คุณศิริพงษ์ ไปหาหลวงพ่อหลวงตา ครูบาอาจารย์ต่างๆ คุณจะไปถามท่านก่อนไหมว่า หลวงพ่อหลวงตาเป็นโสดาบัน....อรหันต์หรือยัง เพื่อจะได้แน่ใจว่าควรกราบเคารพนับถือหรือไม่

โดยมรรยาทเรื่องอย่างนี้เขาจะถามกันตัวต่อตัวไม่เป็นเรื่องควรถามหรือตอบในที่สาธารณะนะครับ

พระพุทธเจ้าทรงห้ามภิกษุทั้งหลายไว้มิให้กล่าวอวดคุณธรรมในตน เพราะถ้าคุณธรรมนั้นมีอยู่ในตนจริงแล้วกล่าวบอกไปก็ต้องอาบัติปาจิตตีย์ แต่ถ้าคุณธรรมนั้นไม่มีในตนก็ถึงต้องอาบัติปาราชิกเลยเชียว

ครูบาอาจารย์ส่วนมากถ้าถูกถามเรื่องอย่างนี้ท่านมักจะเลี่ยงตอบเป็นการแสดงธรรมให้ฟังแทนแล้วให้คนถามไปคิดพิจารณาเอาเอง

อยากรู้ใครเป็นอริยเจ้าชั้นไหนไม่ควรถาม ควรพิจารณาเอาจากธรรมะที่ถามที่คุยที่โต้ตอบสนทนากันโดยให้สังเกตระดับของอัตตาและมานะทิฏฐิที่แสดงออกมาในคำพูดหรือทิศทางของคำพูดว่าชี้ไปในเรื่อใดเป็นส่วนใหญ่ ก็อาจพอคืบลามรู้ได้

ข้อสังเกตง่ายๆที่จะเห็นได้ง่ายอันที่ 1 คือ พระอริยเจ้าตั้งแต่พระโสดาบันขึ้นไปท่านจะมีพรหมวิหารธรรมสูงและสูงยิ่งๆขึ้นไปตามลำดับ

อันที่ 2 ความอ่อนน้อมถ่อมตนมีมากยิ่งๆขึ้นไปตามลำดับ

อันที่ 3 คำพูดข้อเขียนจะเป็นกลางมากขึ้นๆมากยิ่งๆขึ้นไปตามลำดับชั้นจนถึงระดับที่ไม่พูดร้ายว่าร้ายใครเลย มีแต่วาจาอันเป็นสุภาษิต สัจจะ

อันที่ 4 เรื่องที่พูดจะชี้ตรงไปที่ความหลุดพ้นเพียงอย่างเดียว

ดังนี้เป็นต้น
:b38:
ยากรู้ นึกว่าท่านเป็นแล้วซะอีก.

:b12: :b12: :b13:
"แล้วคุณศิริพงษ์เป็นโสดาบันหรือยังครับ"
s006
s006
:b10:
ไม่บอกหรอกครับ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 17 ก.ย. 2015, 06:26 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 25 เม.ย. 2009, 02:43
โพสต์: 12232


 ข้อมูลส่วนตัว


ศิริพงศ์ เขียน:
ยากรู้ นึกว่าท่านเป็นแล้วซะอีก.

:b12: :b12: :b13:

asoka เขียน:
"แล้วคุณศิริพงษ์เป็นโสดาบันหรือยังครับ"
s006
s006
:b10:


:b32: :b32:
เอาละ..เอาละ....อย่าเสียดสีกัน... :b32:

เป็นกันได้ทุกคน....ไม่ต้องแย่งกัน

ตรวจสอบได้ด้วยตัวเอง...แล้วก็พยากรณ์ตัวเองได้อีกด้วย..ดังพระสูตรนี้
(ต้องขอบคุณ คุณปลีกวิเวก...อีกครั้ง :b8: :b8: :b8: )
viewtopic.php?f=1&t=50983

ปลีกวิเวก เขียน:
พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๖ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๘

สังยุตตนิกาย นิทานวรรค

คหบดีวรรคที่ ๕

๑. ปัญจเวรภยสูตรที่ ๑


[๑๕๑] พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ ณ พระเชตวัน อารามของท่านอนาถ-
*บิณฑิกเศรษฐี เขตพระนครสาวัตถี ... ครั้งนั้นแล ท่านอนาถบิณฑิกคฤหบดีเข้าไปเฝ้า
พระผู้มีพระภาคถึงที่ประทับ ถวายอภิวาท แล้วนั่งอยู่ ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง ครั้น
นั่งเรียบร้อยแล้ว พระผู้มีพระภาคได้ตรัสกะท่านอนาถบิณฑิกคฤหบดีว่า ดูกร
คฤหบดี เมื่อใดแล ภัยเวร ๕ ประการ ของอริยสาวกสงบแล้ว เมื่อนั้นอริยสาวก
ย่อมประกอบด้วยธรรมเป็นองค์แห่งโสดาปัตติ ๔ อย่าง และญายธรรมอย่าง
ประเสริฐ อริยสาวกเห็นดีแล้ว แทงตลอดด้วยปัญญา อริยสาวกนั้นหวังอยู่
พึงพยากรณ์ตนด้วยตนเองได้ว่า เราเป็นผู้มีนรกสิ้นแล้ว มีกำเนิดสัตว์ดิรัจฉาน
สิ้นแล้ว มีปิตติวิสัยสิ้นแล้ว มีอบาย ทุคติ วินิบาตสิ้นแล้ว เราเป็นโสดาบัน
มีอันไม่ตกต่ำเป็นธรรมดา เป็นผู้เที่ยงจะตรัสรู้ในภายหน้า ฯ

[๑๕๒] ภัยเวร ๕ ประการสงบแล้วเป็นไฉน ดูกรคฤหบดี บุคคลผู้
ฆ่าสัตว์ ย่อมประสพภัยเวรใด อันมีในชาตินี้บ้าง อันมีในชาติหน้าบ้าง ย่อม
เสวยเจตสิกทุกข์คือโทมนัสบ้าง เพราะปาณาติบาตเป็นเหตุ ภัยเวรของอริยสาวก
ผู้เว้นขาดจากปาณาติบาตสงบแล้วด้วยอาการอย่างนี้ บุคคลผู้ลักทรัพย์ย่อมประสพ
ภัยเวรใด อันมีในชาตินี้บ้าง อันมีในชาติหน้าบ้าง ย่อมเสวยเจตสิกทุกข์คือโทมนัส
บ้าง เพราะอทินนาทานเป็นเหตุ ภัยเวรของอริยสาวกผู้เว้นขาดจากอทินนาทาน
สงบแล้วด้วยอาการอย่างนี้ บุคคลผู้ประพฤติผิดในกาม ย่อมประสพภัยเวรใด
อันมีในชาตินี้บ้าง อันมีในชาติหน้าบ้าง ย่อมเสวยเจตสิกทุกข์คือโทมนัส
บ้าง เพราะกาเมสุมิจฉาจารเป็นเหตุ ภัยเวรของอริยสาวกผู้เว้นขาดจากกาเม-
*สุมิจฉาจารสงบแล้วด้วยอาการอย่างนี้ บุคคลผู้พูดเท็จ ย่อมประสพภัยเวรใด
อันมีในชาตินี้บ้าง อันมีในชาติหน้าบ้าง ย่อมเสวยเจตสิกทุกข์คือโทมนัสบ้าง
เพราะมุสาวาทเป็นเหตุ ภัยเวรของอริยสาวกผู้เว้นขาดจากมุสาวาทสงบแล้วด้วย
อาการอย่างนี้ บุคคลผู้ตั้งอยู่ในความประมาท เพราะดื่มน้ำเมาคือสุราและเมรัย
ย่อมประสพภัยเวรใด อันมีในชาตินี้บ้าง อันมีในชาติหน้าบ้าง ย่อมเสวยเจตสิก
ทุกข์คือโทมนัสบ้าง เพราะการดื่มน้ำเมาคือสุราและเมรัย อันเป็นที่ตั้งแห่งความ
ประมาทเป็นเหตุ ภัยเวรของอริยสาวกผู้เว้นขาดจากการดื่มน้ำเมาคือสุราและเมรัย
อันเป็นที่ตั้งแห่งความประมาทสงบแล้วด้วยอาการอย่างนี้ ภัยเวร ๕ ประการนี้
สงบแล้ว ฯ
[๑๕๓] อริยสาวกย่อมประกอบด้วยธรรมเป็นองค์แห่งโสดาปัตติ ๔ อย่าง
เป็นไฉน ดูกรคฤหบดี อริยสาวกในธรรมวินัยนี้ ย่อมประกอบด้วยความเลื่อมใส
อันไม่หวั่นไหวในพระพุทธเจ้าว่า แม้เพราะเหตุนี้ๆ พระผู้มีพระภาคพระองค์นั้น
เป็นพระอรหันต์ ตรัสรู้เองโดยชอบ ถึงพร้อมแล้วด้วยวิชชาและจรณะ เสด็จไป
ดีแล้ว ทรงรู้แจ้งโลก เป็นสารถีฝึกบุรุษที่ควรฝึก ไม่มีผู้อื่นยิ่งกว่า เป็นศาสดา
ของเทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย เป็นผู้เบิกบานแล้ว เป็นผู้จำแนกพระธรรม ดังนี้
ย่อมประกอบด้วยความเลื่อมใสอันไม่หวั่นไหวในพระธรรมว่า พระธรรมอันพระผู้มี
พระภาคตรัสดีแล้ว อันผู้ได้บรรลุจะพึงเห็นเอง ไม่ประกอบด้วยกาล ควรเรียก
ให้มาดู ควรน้อมเข้ามา อันวิญญูพึงรู้เฉพาะตน ดังนี้ ย่อมประกอบด้วยความ
เลื่อมใสอันไม่หวั่นไหวในพระสงฆ์ว่า พระสงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเป็นผู้
ปฏิบัติดีแล้ว เป็นผู้ปฏิบัติตรง เป็นผู้ปฏิบัติเป็นธรรม เป็นผู้ปฏิบัติสมควร คือ
คู่แห่งบุรุษ ๔ บุรุษบุคคล ๘ นี่พระสงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาค เป็นผู้ควรของ
คำนับ เป็นผู้ควรของต้อนรับ เป็นผู้ควรของทำบุญ เป็นผู้ควรทำอัญชลี เป็น
นาบุญของโลก ไม่มีนาบุญอื่นยิ่งกว่า ดังนี้ ย่อมประกอบด้วยศีลที่พระอริยเจ้า
ปรารถนา อันไม่ขาด ไม่ทะลุ ไม่ด่าง ไม่พร้อย เป็นไทย อันวิญญูชนสรรเสริญ
อันตัณหาและทิฐิไม่ครอบงำได้ เป็นไปเพื่อสมาธิ อริยสาวกย่อมประกอบด้วยธรรม
เป็นองค์แห่งโสดาปัตติ ๔ อย่างนี้ ฯ

[๑๕๔] ก็ญายธรรมอันประเสริฐ อันอริยสาวกเห็นดีแล้ว แทงตลอด
ดีแล้วด้วยปัญญา
เป็นไฉน ดูกรคฤหบดี อริยสาวกในธรรมวินัยนี้ กระทำไว้
ในใจโดยแยบคาย ถึงปฏิจจสมุปบาทเป็นอย่างดีว่า เมื่อสิ่งนี้มี สิ่งนี้จึงมี เพราะ
สิ่งนี้เกิดขึ้น สิ่งนี้จึงเกิดขึ้น เมื่อสิ่งนี้ไม่มี สิ่งนี้จึงไม่มี เพราะสิ่งนี้ดับ สิ่งนี้
จึงดับ ด้วยประการดังนี้ คือ เพราะอวิชชาเป็นปัจจัย จึงมีสังขาร เพราะ
สังขารเป็นปัจจัย จึงมีวิญญาณ เพราะวิญญาณเป็นปัจจัย จึงมีนามรูป เพราะ
นามรูปเป็นปัจจัย จึงมีสฬายตนะ เพราะสฬายตนะเป็นปัจจัย จึงมีผัสสะ
เพราะผัสสะเป็นปัจจัย จึงมีเวทนา เพราะเวทนาเป็นปัจจัย จึงมีตัณหา เพราะตัณหา
เป็นปัจจัย จึงมีอุปาทาน เพราะอุปาทานเป็นปัจจัย จึงมีภพ เพราะภพเป็นปัจจัย
จึงมีชาติ เพราะชาติเป็นปัจจัย จึงมีชราและมรณะ โสกปริเทวทุกขโทมนัสและ
อุปายาส ความเกิดแห่งกองทุกข์ทั้งมวลนี้ ย่อมมีด้วยประการอย่างนี้ ก็เพราะ
อวิชชาดับด้วยสำรอกโดยไม่เหลือ สังขารจึงดับ เพราะสังขารดับ วิญญาณจึงดับ
เพราะวิญญาณดับ นามรูปจึงดับ เพราะนามรูปดับ สฬายตนะจึงดับ เพราะสฬายตนะ
ดับ ผัสสะจึงดับ เพราะผัสสะดับ เวทนาจึงดับ เพราะเวทนาดับ ตัณหาจึงดับ
เพราะตัณหาดับ อุปาทานจึงดับ เพราะอุปาทานดับ ภพจึงดับ เพราะภพดับ
ชาติจึงดับ เพราะชาติดับ ชราและมรณะโสกปริเทวทุกขโทมนัสและอุปายาสจึงดับ
ความดับแห่งกองทุกข์ทั้งมวลนี้ ย่อมมีด้วยประการอย่างนี้ ญายธรรมอันประเสริฐ
นี้ อริยสาวกนั้นเห็นดีแล้ว แทงตลอดดีแล้ว ด้วยปัญญา ฯ

[๑๕๕] ดูกรคฤหบดี เมื่อใดแล ภัยเวร ๕ ประการนี้ของอริยสาวกสงบ
แล้ว เมื่อนั้น อริยสาวกย่อมประกอบด้วยธรรมเป็นองค์แห่งโสดาปัตติ ๔ อย่าง
และญายธรรมอย่างประเสริฐนี้ อันอริยสาวกนั้นเห็นดีแล้ว แทงตลอดดีแล้วด้วย
ปัญญา อริยสาวกนั้นหวังอยู่ พึงพยากรณ์ตนด้วยตนเองได้ว่า เราเป็นผู้มีนรกสิ้น
แล้ว มีกำเนิดสัตว์ดิรัจฉานสิ้นแล้ว มีปิตติวิสัยสิ้นแล้ว มีอบาย ทุคติ วินิบาตสิ้น
แล้ว เราเป็นโสดาบันมีอันไม่ตกต่ำเป็นธรรมดา เป็นผู้เที่ยงจะตรัสรู้ในภายหน้า ฯ


http://www.84000.org/tipitaka/pitaka2/v ... 812&Z=1883


ปลีกวิเวก เขียน:
พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๖ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๘

สังยุตตนิกาย นิทานวรรค

๒. ปัญจเวรภยสูตรที่ ๒


[๑๕๖] พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ ณ พระเชตวัน อารามของท่าน
อนาถบิณฑิกเศรษฐี เขตพระนครสาวัตถี ... พระผู้มีพระภาคได้ตรัสว่า ดูกรภิกษุ
ทั้งหลาย เมื่อใดแล ภัยเวร ๕ ประการของอริยสาวกสงบแล้ว เมื่อนั้น อริยสาวก
ย่อมประกอบด้วยธรรมเป็นองค์แห่งโสดาปัตติ ๔ อย่าง และญายธรรมอย่าง
ประเสริฐ อันอริยสาวกนั้นเห็นดีแล้ว แทงตลอดดีแล้วด้วยปัญญา อริยสาวกนั้น
หวังอยู่ พึงพยากรณ์ตนด้วยตนเองได้ว่า เราเป็นผู้มีนรกสิ้นแล้ว ฯลฯ มีอันไม่
ตกต่ำเป็นธรรมดา เป็นผู้เที่ยงจะตรัสรู้ในภายหน้า ฯ
[คำทั้งปวง เป็นต้นว่า "ภิกขเว" ควรให้พิสดาร]
[๑๕๗] ภัยเวร ๕ ประการสงบแล้วเป็นไฉน ดูกรภิกษุทั้งหลาย บุคคล
ผู้ฆ่าสัตว์ ย่อมประสพภัยเวรใด อันมีในชาตินี้บ้าง อันมีในชาติหน้าบ้าง ย่อม
เสวยเจตสิกทุกข์คือโทมนัสบ้าง เพราะปาณาติบาตเป็นเหตุ ภัยเวรของอริยสาวก
ผู้เว้นขาดจากปาณาติบาตสงบแล้วด้วยอาการอย่างนี้ บุคคลผู้ลักทรัพย์ ... บุคคล
ผู้ประพฤติผิดในกาม ... บุคคลผู้พูดเท็จ ... บุคคลผู้ตั้งอยู่ในความประมาท เพราะ
ดื่มน้ำเมาคือสุราและเมรัย ย่อมประสพภัยเวรใด อันมีในชาตินี้บ้าง อันมีในชาติ
หน้าบ้าง ย่อมเสวยเจตสิกทุกข์คือโทมนัสบ้าง เพราะดื่มน้ำเมาคือสุราและเมรัย
อันเป็นที่ตั้งแห่งความประมาท ภัยเวรของอริยสาวกผู้เว้นขาดจากการดื่มน้ำเมา
คือสุราและเมรัย อันเป็นที่ตั้งแห่งความประมาทสงบแล้วด้วยอาการอย่างนี้ ภัยเวร
๕ ประการนี้ สงบแล้ว
[๑๕๘] อริยสาวกย่อมประกอบด้วยธรรมอันเป็นองค์แห่งโสดาปัตติ ๔
อย่างเป็นไฉน ดูกรภิกษุทั้งหลาย อริยสาวกในธรรมวินัยนี้ ย่อมประกอบด้วย
ความเลื่อมใสอันไม่หวั่นไหวในพระพุทธเจ้า ... ในพระธรรม ... ในพระสงฆ์ ... และ
ประกอบด้วยศีลที่พระอริยเจ้าปรารถนา ... ย่อมประกอบด้วยธรรมเป็นองค์แห่ง
โสดาปัตติ ๔ อย่างนี้ ฯ
[๑๕๙] ก็ญายธรรมอันประเสริฐ อันอริยสาวกนั้นเห็นดีแล้ว แทงตลอด
ดีแล้วด้วยปัญญาเป็นไฉน ดูกรภิกษุทั้งหลาย อริยสาวกในธรรมวินัยนี้ กระทำ
ไว้ในใจโดยแยบคาย ถึงปฏิจจสมุปบาทเป็นอย่างดี ฯลฯ ญายธรรมอันประเสริฐนี้
อริยสาวกนั้นเห็นดีแล้ว แทงตลอดดีแล้วด้วยปัญญา ฯ
[๑๖๐] ดูกรภิกษุทั้งหลาย เมื่อใดแล ภัยเวร ๕ ประการนี้ ของอริยสาวก
สงบแล้ว เมื่อนั้นอริยสาวกย่อมประกอบด้วยธรรมอันเป็นองค์แห่งโสดาปัตติ ๔
อย่างนี้ และญายธรรมอันประเสริฐนี้ อันอริยสาวกนั้นเห็นดีแล้ว แทงตลอดดีแล้ว
ด้วยปัญญา อริยสาวกนั้นหวังอยู่ พึงพยากรณ์ตนด้วยตนเองได้ว่า เราย่อมเป็นผู้
มีนรกสิ้นแล้ว มีกำเนิดสัตว์ดิรัจฉานสิ้นแล้ว มีปิตติวิสัยสิ้นแล้ว มีอบาย ทุคติ
วินิบาตสิ้นแล้ว เราย่อมเป็นโสดาบัน มีอันไม่ตกต่ำเป็นธรรมดา เป็นผู้เที่ยง
จะตรัสรู้ในภายหน้า ฯ

http://www.84000.org/tipitaka/pitaka2/v ... 884&Z=1919


แก้ไขล่าสุดโดย กบนอกกะลา เมื่อ 17 ก.ย. 2015, 06:41, แก้ไขแล้ว 1 ครั้ง

โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 17 ก.ย. 2015, 06:30 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 25 เม.ย. 2009, 02:43
โพสต์: 12232


 ข้อมูลส่วนตัว


ญายธรรม..นะอโสกะ..

ญายธรรม..ปฏิจจสมุปบาท...ว่าสิ่งนี้มี..สิ่งนี้จึงมี

ต้องไม่เพี้ยนไปเป็นวงกลม...เป็นมรณะมี..จึงมีอวิชชา..น่า

ต้องเป็นที่พระองค์กล่าว..นะ

:b1: :b1: :b1:


แก้ไขล่าสุดโดย กบนอกกะลา เมื่อ 17 ก.ย. 2015, 06:42, แก้ไขแล้ว 1 ครั้ง

โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 17 ก.ย. 2015, 06:40 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 4
สมาชิก ระดับ 4
ลงทะเบียนเมื่อ: 13 ก.ค. 2009, 22:19
โพสต์: 271

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


ผมสงสัย. เห็นเขาชอบทำพิธีเปิดพระเนตร. บรวงทรวงเทวดา. แจกพระเครื่องและของขลัง. รดน้ำมนต์. แบบนี้คนที่เชื่อเรื่องแบบนี้จะพอเป็นโสดาบันได้ไม๊ครับ


แสดงโพสต์จาก:  เรียงตาม  
กระทู้นี้ถูกล็อก คุณไม่สามารถแก้ไขข้อความ หรือ ตอบกลับในกระทู้นี้  [ 117 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8  ต่อไป

เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


 ผู้ใช้งานขณะนี้

กำลังดูบอร์ดนี้: ไม่มีสมาชิก และ บุคคลทั่วไป 141 ท่าน


ท่าน ไม่สามารถ โพสต์กระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ตอบกระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แก้ไขโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ลบโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แนบไฟล์ในบอร์ดนี้ได้

ค้นหาสำหรับ:
ไปที่:  
Google
ทั่วไป เว็บธรรมจักร