วันเวลาปัจจุบัน 27 เม.ย. 2024, 00:41  



เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง




กลับไปยังกระทู้  [ 223 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1 ... 9, 10, 11, 12, 13, 14, 15  ต่อไป  Bookmark and Share
เจ้าของ ข้อความ
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 29 พ.ค. 2013, 08:53 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
ลุงหมาน เขียน:
กรัชกาย เขียน:
ในตัวลุงสมานเนี่ย มีธาตุ ดิน น้ำ ไฟ ลม มั้ย :b1:

มีครบ


ถ้ายังงั้น พึงจำแนกธาตุทั้ง 4 หรือมหาภูตรูป 4 ในตัวลุงหมาน แต่อย่างๆ มีอะไรบ้าง ?

ธาตุดิน มี ...ว่าไป
ธาตุ น้ำ มี ...
ธาตุไฟ มี...
ธาตุลม มี...


:b1: ลุงหมานหนีไปตั้งกระทู้ใหม่แระ เรื่องตำตาตำใจอยู่นี่ไม่ตอบ หลบไปตั้งกระทู้นิพพงนิพพานเพื่อเพ้อฝันอยู่นั่น ปัดโถ่ เรื่องเห็นๆแท้ๆ ยังทำสะยับเยินเละเทะ ยังไปเอาเรื่องที่ไกลสุดลูกหูลูกตา หรือยอมรับความจริงไม่ได้ :b10: :b32: ว่าชีวิตตนนี้เป็นติลักขณะ คิกๆๆ ลุงหมานนะลุงหมาน :b1:

http://www.youtube.com/watch?v=ndBMxm_fZfE

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 29 พ.ค. 2013, 10:04 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 20 มี.ค. 2010, 19:57
โพสต์: 1014

โฮมเพจ: http://www.vitwong.blogspot.com
อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว www


บาลีฉบับสยามรัฐ ซึ่งถือว่าเป็นฉบับถูกต้องที่สุดของเถรวาท

อยากให้พวกเราเชื่อความคิด ท่านเช่นนั้น ต้องส่งลิ้งค์มาครับ จะได้ช่วยกันตรวจสอบบาลี

.....................................................
ยังงมงาย...
เมื่อเห็นว่าพระไตรปิฏก มีส่วนถูก มีส่วนจริงแค่ 20 ถึง 30 เปอร์เซนต์ เท่านั้น

เลิกงมงาย..
เมื่อเห็นว่า พระไตรปิฏก มีส่วนถูก ส่วนจริง เกินกว่า 80 ถึง กว่า 90 เปอร์เซนต์

http://www.youtube.com/user/govit2554#g/u


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 29 พ.ค. 2013, 10:35 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 13 ก.พ. 2010, 17:53
โพสต์: 4999

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


โฮฮับ เขียน:
เช่นนั้น เขียน:
Quote Tipitaka:
ตีณิ สงฺขตสฺส สงฺขตลกฺขณานีติ
ตีณิ อสงฺขตสฺส อสงฺขตลกฺขณานีติ

เช่นนั้นตั้งสติดูธรรมให้ดี อย่าดูแต่ตัวหนังสือ มีสมาธิหน่อย ในประโยคนี้...
ตีณิ.... สงฺขตสฺส สงฺขต... ลกฺขณา.....นีติ

เช่นนั้นไปเอาคำศัพท์โยงกันมั่ว ในประโยคนี้มันมีธรรมอยู่สองธรรม
นั้นคือ......สังขารธรรม เป็นนาม
และอีกตัวก็คือ.......สังขาร เป็นกิริยา

ตีณิ.... สงฺขตสฺส มันก็เป็นเรื่องหนึ่ง มันเป็นสังขารธรรม

สงฺขต... ลกฺขณา.....นีติ นี่ก็เป็นอีกเรื่อง มันเป็นสังขาร


ตั้งสติให้ดีก็จะรู้ว่า ท่านหมายถึง ตัวธรรม(สงฺขตสฺส) กับ กิริยาของธรรม(สงฺขต)

ตีณิ.... สงฺขตสฺส เป็นเหตุ ตีณิหมายถึงอะไร ตีณิมันมีรากศัพท์มาจาก..ไตรลิงค์
ไม่ใช่ไตรลักษณ์
มันจึงแปลความหมายว่า ความเกิดขึ้นปรากฏ ความเสื่อมปรากฏ เมื่อตั้งอยู่ความแปรปรวนปรากฏ
ซึ่งมันก็คือ การเกิดขึ้น ตั้งอยู่ ดับไปนั้นเอง


ส่วน สงฺขต... ลกฺขณา.....นีติ มันเป็นผลมาจาก....ตีณิ
สงฺขต... ลกฺขณา.....นีติ มาจากคำบาลีว่า....เตเนว

เต...แปลว่า สาม
เนว...มีความหมายว่า จะใช่หรือไม่ใช่ก็ได้
ดังนั้น "เตเนว" จึงมีความหมายว่า จะใช่สามหรือไม่ใช่สามก็ไม่เชิง มันก็คือ ไตรลักษณ์นั้นเอง
อนิจจัง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา
ทุกข์เป็น อนิจจัง เป็นอนัตตา
อนัตตาเป็นอนิจจัง เป็นทุกข์
เช่นนั้น เขียน:
แล้วก็หัดมีสติหน่อยว่า ไตรลักษณ์ที่อรรถาจารย์บัญญัติขึ้นมา
ว่าเป็นสามัญลักษณะของธรรมชาติ นั้นใช้ไม่ได้

เพราะ อนิจจัง และทุกขัง เป็นลักขณะสัจจ์
แต่ อนัตตา เป็นสังขารขันธ์

เข้าใจไว้ด้วยโฮฮับ

ที่ผมบอกว่า บัญญัติขึ้นมาน่ะ เข้าใจไว้ซะด้วยว่า บัญญัติก็คือแปลมาจากพุทธพจน์
ซึ่งพุทธพจน์ก็คือ เตเนว อรรถกถามาแปลหรือบัญญัติใหม่ว่า..ไตรลักษณ์

และจะเรียก เตเนวหรือไตรลักษณ์ก็ตาม มันก็คือ อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา
สรุปคนที่เข้าใจมันเป็นผม คนที่ไม่เข้าใจเป็นเช่นนั้น

เพื่อความต่อเนื่อง ขอดึงความเห็นนี้มาหน้าใหม่ครับ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 29 พ.ค. 2013, 10:48 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 13 ก.พ. 2010, 17:53
โพสต์: 4999

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


วิริยะ เขียน:
[๑๕๗] ดูกรอานนท์ มรรคปฏิปทาที่เป็นไปเพื่อละโอรัมภาคิยสังโยชน์ ๕ เป็นไฉน?
ดูกรอานนท์ ภิกษุในธรรมวินัยนี้ สงัดจากกาม สงัดจากอกุศลธรรมเพราะอุปธิวิเวก เพราะละ
กุศลธรรมได้ เพราะระงับความคร้านกายได้โดยประการทั้งปวง บรรลุปฐมฌาน มีวิตก มีวิจาร
มีปีติและสุขเกิดแต่วิเวกอยู่ เธอพิจารณาเห็นธรรมทั้งหลาย คือ รูป เวทนา สัญญา สังขาร
วิญญาณ ซึ่งมีอยู่ในกาย ในสมาบัตินั้น โดยความเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์
เป็นโรค เป็น
ดังหัวฝี เป็นดังลูกศร เป็นความลำบาก เป็นไข้ เป็นอื่น เป็นของทรุดโทรม เป็นของสูญ
เป็นของมิใช่ตัวตน. เธอย่อมเปลื้องจิตจากธรรมเหล่านั้น ครั้นเธอเปลื้องจิตจากธรรมเหล่านั้นแล้ว
ย่อมน้อมจิตไปในอมตธาตุว่า ธรรมชาตินี้สงบ ธรรมชาตินี้ประณีต คือ ธรรมเป็นที่สงบสังขาร
ทั้งปวง เป็นที่สละคืนอุปธิทั้งปวง เป็นที่สิ้นไปแห่งตัณหา เป็นที่สิ้นกำหนัด เป็นที่ดับสนิท
เป็นที่ดับกิเลส และกองทุกข์ดังนี้. เธอตั้งอยู่ในวิปัสสนา อันมีไตรลักษณ์เป็นอารมณ์นั้น ย่อม
บรรลุธรรมเป็นที่สิ้นไปแห่งอาสวะทั้งหลาย ถ้ายังไม่บรรลุธรรมเป็นที่สิ้นไปแห่งอาสวะทั้งหลาย

http://www.84000.org/tipitaka/pitaka_it ... 814&Z=2961
:b1:

ผมเอาพระไตรปิฎก ฉบับแปลบาลีสยามรัฐมาเทียบเคียง แล้วจะเอาบาลีมาอีกทีครับ...

พระไตรปิฎก ฉบับบาลีสยามรัฐ (ภาษาไทย) เล่มที่ ๑๓
พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๕ มัชฌิมนิกาย มัชฌิมปัณณาสก์


รูปฌาน ๔
[๑๕๗] ดูกรอานนท์ มัคคปฏิปทาที่เป็นไปเพื่อละโอรัมภาคิยสังโยชน์ ๕ เป็นไฉน?
ดูกรอานนท์ ภิกษุในธรรมวินัยนี้ สงัดจากกาม สงัดจากอกุศลธรรมเพราะอุปธิวิเวก เพราะละ
กุศลธรรมได้ เพราะระงับความคร้านกายได้โดยประการทั้งปวง บรรลุปฐมฌาน มีวิตก มีวิจาร
มีปีติและสุขเกิดแต่วิเวกอยู่ เธอพิจารณาเห็นธรรมทั้งหลาย คือ รูป เวทนา สัญญา สังขาร
วิญญาณ ซึ่งมีอยู่ในกาย ในสมาบัตินั้น โดยความเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นโรค เป็น
ดังหัวฝี เป็นดังลูกศร เป็นความลำบาก เป็นไข้ เป็นอื่น เป็นของทรุดโทรม เป็นของสูญ
เป็นของมิใช่ตัวตน. เธอย่อมเปลื้องจิตจากธรรมเหล่านั้น ครั้นเธอเปลื้องจิตจากธรรมเหล่านั้นแล้ว
ย่อมน้อมจิตไปในอมตธาตุว่า ธรรมชาตินี้สงบ ธรรมชาตินี้ประณีต คือ ธรรมเป็นที่สงบสังขาร
ทั้งปวง เป็นที่สละคืนอุปธิทั้งปวง เป็นที่สิ้นไปแห่งตัณหา เป็นที่สิ้นกำหนัด เป็นที่ดับสนิท
เป็นที่ดับกิเลส และกองทุกข์ดังนี้. เธอตั้งอยู่ในวิปัสสนา อันมีไตรลักษณ์เป็นอารมณ์นั้น ย่อม
บรรลุธรรมเป็นที่สิ้นไปแห่งอาสวะทั้งหลาย ถ้ายังไม่บรรลุธรรมเป็นที่สิ้นไปแห่งอาสวะทั้งหลาย
ย่อมเป็นโอปปาติกะ จักปรินิพพานในภพนั้น มีอันไม่กลับจากโลกนั้นเป็นธรรมดา เพราะ
ความยินดี ความเพลิดเพลินในธรรมนั้น และเพราะสิ้นไปแห่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ทั้ง ๕ ดูกร
อานนท์ มรรคแม้นี้แล ปฏิปทาแม้นี้แล ย่อมเป็นไปเพื่อละโอรัมภาคิยสังโยชน์ ๕.
ดูกรอานนท์ อีกประการหนึ่ง ภิกษุบรรลุทุติยฌาน มีความผ่องใสแห่งจิตในภายใน
เป็นธรรมเอกผุดขึ้น ไม่มีวิตก ไม่มีวิจาร เพราะวิตกวิจารสงบไป มีปีติและสุขเกิดแต่สมาธิอยู่.
ดูกรอานนท์ อีกประการหนึ่ง ภิกษุมีอุเบกขา มีสติสัมปชัญญะอยู่ และเสวยสุข
ด้วยนามกาย เพราะปีติสิ้นไป บรรลุตติยฌานที่พระอริยะทั้งหลายสรรเสริญว่า ผู้ได้ฌานนี้
เป็นผู้มีอุเบกขา มีสติ อยู่เป็นสุข.
ดูกรอานนท์ อีกประการหนึ่ง ภิกษุบรรลุจตุตถฌาน ไม่มีทุกข์ ไม่มีสุข เพราะละสุข
ละทุกข์ และดับโสมนัสโทมนัสก่อนๆ ได้ มีอุเบกขาเป็นเหตุให้สติบริสุทธิ์อยู่. เธอพิจารณา
เห็นธรรมทั้งหลาย คือ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ ซึ่งมีอยู่ในภายในสมาบัตินั้น ฯลฯ
เพื่อละสังโยชน์

ไม่มีลิ้งนะครับ ต้องมีโปรมแกรมของ บาลีสยามรัฐถึงจะดูได้ครับ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 29 พ.ค. 2013, 10:56 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 14 ก.ค. 2008, 21:56
โพสต์: 3925

ชื่อเล่น: เช่นนั้น
อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


โฮฮับ เขียน:
ผมเอาพระไตรปิฎก ฉบับแปลบาลีสยามรัฐมาเทียบเคียง แล้วจะเอาบาลีมาอีกทีครับ...


อนุโมทนา :b8:

.....................................................
ธรรมะอันยิ่งใหญ่ ไม่อาจเอื้อนเอ่ย
บัญญัติ เป็นเพียงสิ่งต่ำต้อยแบกรับความยิ่งใหญ่


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 29 พ.ค. 2013, 11:06 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 20 มี.ค. 2010, 19:57
โพสต์: 1014

โฮมเพจ: http://www.vitwong.blogspot.com
อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว www


ท่านเช่นนั้น ดูสิครับ ว่า เขาแปลเกิน ตรงไหน ผมยังไม่เก่งถึงขนาดนั้น ชี้ไม่ถูก
Quote Tipitaka:
[๑๕๗] กตโม จ ๑ อานนฺท มคฺโค กตมา จ ปฏิปทา
ปญฺจนฺนํ โอรมฺภาคิยานํ สญฺโญชนานํ ปหานาย ฯ อิธานนฺท
ภิกฺขุ อุปธิวิเวกา อกุสลานํ ธมฺมานํ ปหานา สพฺพโส กายทุฏฺฐุลฺลานํ
ปฏิปฺปสฺสทฺธิยา วิวิจฺเจว กาเมหิ วิวิจฺจ อกุสเลหิ
ธมฺเมหิ สวิตกฺกํ สวิจารํ วิเวกชํ ปีติสุขํ ปฐมํ ฌานํ อุปสมฺปชฺช
วิหรติ ฯ โส ยเทว ตตฺถ โหติ รูปคตํ เวทนาคตํ สญฺญาคตํ
สงฺขารคตํ วิญฺญาณคตํ เต ธมฺเม อนิจฺจโต ทุกฺขโต โรคโต
คณฺฑโต สลฺลโต อฆโต อาพาธโต ปรโต ปโลกโต สุญฺญโต
อนตฺตโต สมนุปสฺสติ ฯ โส เตหิ ธมฺเมหิ จิตฺตํ ปฏิปาเปติ ๒
โส เตหิ ธมฺเมหิ จิตฺตํ ปฏิปาเปตฺวา ๓ อมตาย ธาตุยา จิตฺตํ
อุปสํหรติ เอตํ สนฺตํ เอตํ ปณีตํ ยทิทํ สพฺพสงฺขารสมโถ
#๑ ยุ. กตโม จานนฺท มคฺโค กตมา ปฏิปทาติ ทิสฺสติ ฯ ๒ สี. ยุ. ปฏิวาเปติ ฯ
#ม. ปติฏฺฐาเปติ ฯ ๓ สี. ยุ. ปฏิวาเปตฺวา ฯ ม. ปติฏฺฐาเปตฺวา ฯ
สพฺพูปธิปฏินิสฺสคฺโค ตณฺหกฺขโย วิราโค นิโรโธ นิพฺพานนฺติ ฯ
โส ตตฺถฏฺฐิโต อาสวานํ ขยํ ปาปุณาติ โน เจ อาสวานํ
ขยํ ปาปุณาติ เตเนว ธมฺมราเคน ตาย ธมฺมนนฺทิยา ปญฺจนฺนํ
โอรมฺภาคิยานํ สญฺโญชนานํ ปริกฺขยา โอปปาติโก โหติ ตตฺถ
ปรินิพฺพายี อนาวตฺติธมฺโม ตสฺมา โลกา ฯ อยมฺปิ โข อานนฺท
มคฺโค อยํ ปฏิปทา ปญฺจนฺนํ โอรมฺภาคิยานํ สญฺโญชนานํ ปหานาย ฯ
ปุน จปรํ อานนฺท ภิกฺขุ วิตกฺกวิจารานํ วูปสมา ฯเปฯ
ทุติยํ ฌานํ อุปสมฺปชฺช วิหรติ ฯเปฯ ตติยํ ฌานํ ฯเปฯ
จตุตฺถํ ฌานํ อุปสมฺปชฺช วิหรติ ฯ โส ยเทว ตตฺถ โหติ
รูปคตํ เวทนาคตํ สญฺญาคตํ สงฺขารคตํ วิญฺญาณคตํ ฯเปฯ
สญฺโญชนานํ ปหานาย ฯ
[๑๕๘] ปุน จปรํ อานนฺท ภิกฺขุ สพฺพโส รูปสญฺญานํ

.....................................................
ยังงมงาย...
เมื่อเห็นว่าพระไตรปิฏก มีส่วนถูก มีส่วนจริงแค่ 20 ถึง 30 เปอร์เซนต์ เท่านั้น

เลิกงมงาย..
เมื่อเห็นว่า พระไตรปิฏก มีส่วนถูก ส่วนจริง เกินกว่า 80 ถึง กว่า 90 เปอร์เซนต์

http://www.youtube.com/user/govit2554#g/u


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 29 พ.ค. 2013, 11:15 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 13 ก.พ. 2010, 17:53
โพสต์: 4999

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


govit2552 เขียน:
ท่านเช่นนั้น ดูสิครับ ว่า เขาแปลเกิน ตรงไหน ผมยังไม่เก่งถึงขนาดนั้น ชี้ไม่ถูก
Quote Tipitaka:
[๑๕๗] กตโม จ ๑ อานนฺท มคฺโค กตมา จ ปฏิปทา
ปญฺจนฺนํ โอรมฺภาคิยานํ สญฺโญชนานํ ปหานาย ฯ อิธานนฺท
ภิกฺขุ อุปธิวิเวกา อกุสลานํ ธมฺมานํ ปหานา สพฺพโส กายทุฏฺฐุลฺลานํ
ปฏิปฺปสฺสทฺธิยา วิวิจฺเจว กาเมหิ วิวิจฺจ อกุสเลหิ
ธมฺเมหิ สวิตกฺกํ สวิจารํ วิเวกชํ ปีติสุขํ ปฐมํ ฌานํ อุปสมฺปชฺช
วิหรติ ฯ โส ยเทว ตตฺถ โหติ รูปคตํ เวทนาคตํ สญฺญาคตํ
สงฺขารคตํ วิญฺญาณคตํ เต ธมฺเม อนิจฺจโต ทุกฺขโต โรคโต
คณฺฑโต สลฺลโต อฆโต อาพาธโต ปรโต ปโลกโต สุญฺญโต
อนตฺตโต สมนุปสฺสติ ฯ โส เตหิ ธมฺเมหิ จิตฺตํ ปฏิปาเปติ ๒
โส เตหิ ธมฺเมหิ จิตฺตํ ปฏิปาเปตฺวา ๓ อมตาย ธาตุยา จิตฺตํ
อุปสํหรติ เอตํ สนฺตํ เอตํ ปณีตํ ยทิทํ สพฺพสงฺขารสมโถ
#๑ ยุ. กตโม จานนฺท มคฺโค กตมา ปฏิปทาติ ทิสฺสติ ฯ ๒ สี. ยุ. ปฏิวาเปติ ฯ
#ม. ปติฏฺฐาเปติ ฯ ๓ สี. ยุ. ปฏิวาเปตฺวา ฯ ม. ปติฏฺฐาเปตฺวา ฯ
สพฺพูปธิปฏินิสฺสคฺโค ตณฺหกฺขโย วิราโค นิโรโธ นิพฺพานนฺติ ฯ
โส ตตฺถฏฺฐิโต อาสวานํ ขยํ ปาปุณาติ โน เจ อาสวานํ
ขยํ ปาปุณาติ เตเนว ธมฺมราเคน ตาย ธมฺมนนฺทิยา ปญฺจนฺนํ
โอรมฺภาคิยานํ สญฺโญชนานํ ปริกฺขยา โอปปาติโก โหติ ตตฺถ
ปรินิพฺพายี อนาวตฺติธมฺโม ตสฺมา โลกา ฯ อยมฺปิ โข อานนฺท
มคฺโค อยํ ปฏิปทา ปญฺจนฺนํ โอรมฺภาคิยานํ สญฺโญชนานํ ปหานาย ฯ
ปุน จปรํ อานนฺท ภิกฺขุ วิตกฺกวิจารานํ วูปสมา ฯเปฯ
ทุติยํ ฌานํ อุปสมฺปชฺช วิหรติ ฯเปฯ ตติยํ ฌานํ ฯเปฯ
จตุตฺถํ ฌานํ อุปสมฺปชฺช วิหรติ ฯ โส ยเทว ตตฺถ โหติ
รูปคตํ เวทนาคตํ สญฺญาคตํ สงฺขารคตํ วิญฺญาณคตํ ฯเปฯ
สญฺโญชนานํ ปหานาย ฯ
[๑๕๘] ปุน จปรํ อานนฺท ภิกฺขุ สพฺพโส รูปสญฺญานํ

เน้นให้ดูเลยครับว่า ตรงไหนที่หมายถึง......ไตรลักษณ์
เตเนวก็คือไตรลักษณ์ :b13:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 29 พ.ค. 2013, 11:28 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 14 ก.ค. 2008, 21:56
โพสต์: 3925

ชื่อเล่น: เช่นนั้น
อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


โฮฮับ เขียน:
govit2552 เขียน:
ท่านเช่นนั้น ดูสิครับ ว่า เขาแปลเกิน ตรงไหน ผมยังไม่เก่งถึงขนาดนั้น ชี้ไม่ถูก
Quote Tipitaka:
[๑๕๗] กตโม จ ๑ อานนฺท มคฺโค กตมา จ ปฏิปทา
ปญฺจนฺนํ โอรมฺภาคิยานํ สญฺโญชนานํ ปหานาย ฯ อิธานนฺท
ภิกฺขุ อุปธิวิเวกา อกุสลานํ ธมฺมานํ ปหานา สพฺพโส กายทุฏฺฐุลฺลานํ
ปฏิปฺปสฺสทฺธิยา วิวิจฺเจว กาเมหิ วิวิจฺจ อกุสเลหิ
ธมฺเมหิ สวิตกฺกํ สวิจารํ วิเวกชํ ปีติสุขํ ปฐมํ ฌานํ อุปสมฺปชฺช
วิหรติ ฯ โส ยเทว ตตฺถ โหติ รูปคตํ เวทนาคตํ สญฺญาคตํ
สงฺขารคตํ วิญฺญาณคตํ เต ธมฺเม อนิจฺจโต ทุกฺขโต โรคโต
คณฺฑโต สลฺลโต อฆโต อาพาธโต ปรโต ปโลกโต สุญฺญโต
อนตฺตโต สมนุปสฺสติ ฯ โส เตหิ ธมฺเมหิ จิตฺตํ ปฏิปาเปติ ๒
โส เตหิ ธมฺเมหิ จิตฺตํ ปฏิปาเปตฺวา ๓ อมตาย ธาตุยา จิตฺตํ
อุปสํหรติ เอตํ สนฺตํ เอตํ ปณีตํ ยทิทํ สพฺพสงฺขารสมโถ
#๑ ยุ. กตโม จานนฺท มคฺโค กตมา ปฏิปทาติ ทิสฺสติ ฯ ๒ สี. ยุ. ปฏิวาเปติ ฯ
#ม. ปติฏฺฐาเปติ ฯ ๓ สี. ยุ. ปฏิวาเปตฺวา ฯ ม. ปติฏฺฐาเปตฺวา ฯ
สพฺพูปธิปฏินิสฺสคฺโค ตณฺหกฺขโย วิราโค นิโรโธ นิพฺพานนฺติ ฯ
โส ตตฺถฏฺฐิโต อาสวานํ ขยํ ปาปุณาติ โน เจ อาสวานํ
ขยํ ปาปุณาติ เตเนว ธมฺมราเคน ตาย ธมฺมนนฺทิยา ปญฺจนฺนํ
โอรมฺภาคิยานํ สญฺโญชนานํ ปริกฺขยา โอปปาติโก โหติ ตตฺถ
ปรินิพฺพายี อนาวตฺติธมฺโม ตสฺมา โลกา ฯ อยมฺปิ โข อานนฺท
มคฺโค อยํ ปฏิปทา ปญฺจนฺนํ โอรมฺภาคิยานํ สญฺโญชนานํ ปหานาย ฯ
ปุน จปรํ อานนฺท ภิกฺขุ วิตกฺกวิจารานํ วูปสมา ฯเปฯ
ทุติยํ ฌานํ อุปสมฺปชฺช วิหรติ ฯเปฯ ตติยํ ฌานํ ฯเปฯ
จตุตฺถํ ฌานํ อุปสมฺปชฺช วิหรติ ฯ โส ยเทว ตตฺถ โหติ
รูปคตํ เวทนาคตํ สญฺญาคตํ สงฺขารคตํ วิญฺญาณคตํ ฯเปฯ
สญฺโญชนานํ ปหานาย ฯ
[๑๕๘] ปุน จปรํ อานนฺท ภิกฺขุ สพฺพโส รูปสญฺญานํ

เน้นให้ดูเลยครับว่า ตรงไหนที่หมายถึง......ไตรลักษณ์
เตเนวก็คือไตรลักษณ์ :b13:




ปาปุณาติ เตเนว ธมฺมราเคน
บาลี เตน+เอว
เตนะ แปลว่า นั้น
เอวะ แปลว่า นั่นเทียว
ปาปุณาติ เตเนว ธมฺมราเคน แปลว่า ย่อมยินดีในธรรมที่บรรลุตรงนั้นนั่นเทียว
(ธรรมในขณะนั้นคือปฐมฌาน) .........

โฮฮับ ต้องสอบทานกับภิกษุสงฆ์ที่เรียนบาลี ด้วยนะครับ
ท่านจะมีความกรุณามาก ในการอธิบายศัพท์บาลีอย่างถูกต้อง

.....................................................
ธรรมะอันยิ่งใหญ่ ไม่อาจเอื้อนเอ่ย
บัญญัติ เป็นเพียงสิ่งต่ำต้อยแบกรับความยิ่งใหญ่


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 29 พ.ค. 2013, 11:40 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 14 ก.ค. 2008, 21:56
โพสต์: 3925

ชื่อเล่น: เช่นนั้น
อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


ในฉบับแปลของมหาจุฬาฯ(ภาษาไทย) จึงแปลดังนี้
Quote Tipitaka:
พระสุตตันตปิฎก มัชฌิมนิกาย มัชฌิมปัณณาสก์ [๒. ภิกขุวรรค]
๔. มหามาลุงกยสูตร

รูปฌาน ๔
[๑๓๓] มรรคและปฏิปทาที่เป็นไปเพื่อละโอรัมภาคิยสังโยชน์ ๕ ประการ
เป็นอย่างไร
คือ ภิกษุในธรรมวินัยนี้ เพราะละอกุศลธรรมทั้งหลายด้วยอุปธิวิเวก เพราะ
ระงับความเกียจคร้านทางกายได้โดยประการทั้งปวง จึงสงัดจากกามและอกุศลธรรม
ทั้งหลายแล้วบรรลุปฐมฌานที่มีวิตก วิจาร ปีติ และสุขอันเกิดจากวิเวกอยู่ เธอย่อม
พิจารณาเห็นธรรมทั้งหลาย คือ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ ที่มีอยู่ใน
ปฐมฌานนั้นโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นดุจโรค เป็นดุจหัวฝี เป็นดุจลูกศร
เป็นสิ่งคอยก่อความเดือดร้อน เป็นที่ทำให้ขัดข้อง เป็นดุจคนฝ่ายอื่น เป็นสิ่งที่ต้อง
แตกสลาย เป็นของว่างเปล่า เป็นอนัตตา เธอย่อมทำจิตให้กลับจากธรรมเหล่านั้น
ครั้นแล้ว จึงน้อมจิตไปเพื่ออมตธาตุว่า ‘ภาวะที่สงบ ประณีต คือ ความระงับสังขาร
ทั้งปวง ความสละคืนอุปธิกิเลสทั้งปวง ความสิ้นไปแห่งตัณหา ความคลายกำหนัด
ความดับ นิพพาน’ เธอดำรงอยู่ในปฐมฌานนั้น ย่อมบรรลุความสิ้นไปแห่งอาสวะ
ทั้งหลาย หากยังไม่บรรลุความสิ้นไปแห่งอาสวะทั้งหลาย ก็จะเป็นโอปปาติกะ๓
เพราะโอรัมภาคิยสังโยชน์ ๕ ประการสิ้นไป ด้วยความยินดีเพลิดเพลินในธรรมนั้น
จักปรินิพพานในภพนั้น ไม่หวนกลับมาจากโลกนั้นอีก๔

.....................................................
ธรรมะอันยิ่งใหญ่ ไม่อาจเอื้อนเอ่ย
บัญญัติ เป็นเพียงสิ่งต่ำต้อยแบกรับความยิ่งใหญ่


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 29 พ.ค. 2013, 11:49 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 14 ก.ค. 2008, 21:56
โพสต์: 3925

ชื่อเล่น: เช่นนั้น
อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
โฮฮับ เขียน:
เช่นนั้น เขียน:
อย่าเอา มามั่วอีกต่อไปเลยโฮฮับ
พระสูตรที่พระพุทธองค์ระบุตรงๆ ว่าลักขณะ ๓ มีอยู่
ไม่ใช่สิ่งที่โฮฮับ พยายามแถออกมา
บอกกีหนแล้วว่า ให้หาบาลี ยืนยันออกมาว่า
พระพุทธองค์ แสดงลักษณะ ๓ คือ อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา เอาแบบบัญญัติตรงๆ เลยนะ
รู้สึกให้หามาเกือบปีแล้วมั้ง โฮฮับ

ยังไงแล้วตีณิของเช่นนั้น มันหมายถึงไตรลักษณ์หรือ แปลเองหรือเปล่า
จะถกธรรมกัน มันต้องเอาเนื้อที่อธิบาย ไม่ใช่เล่นคำศัพท์ นี่เล่นทั้งๆที่ตัวเองก็ไม่มี
ที่อ้างอิงว่า ตีณิแปลว่าไตรลักษณ์

ไอ้คำว่าตีณิหมายถึง ความเกิดขึ้นปรากฏ ความเสื่อมปรากฏ เมื่อตั้งอยู่ความแปรปรวนปรากฏ
แต่มันไม่ใช่ อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา เข้าใจมั้ย
ไอ้ตีณิมันเป็นเหตุให้เกิดไตรลักษณ์ แต่มันไม่ใช่ไตรลักษณ์

หัดมีสติอ่านความเห็นผมหน่อยนะ ผมก็บอกอยู่ว่า ไตรลักษณ์เป็นคำที่บัญญัติขึ้นภายหลัง
แต่มันไม่สำคํญเท่า เขากล่าวถึง อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา ทั้งสามคำนี้เป็นพุทธพจน์



อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา ภาษาของเขา เรียก "ติลักขณะ" ลักษณะ 3

ไตรลักษณ์ ก็แปลว่า ลักษณะ 3 ไตร ก็แปลว่า 3

ติ ก็แปลว่า 3

อันนั้น อรรถาจารย์เรียก บัญญัติขึ้นเอง
แต่พระพุทธองค์ บัญญัติ ติลักขณะ 3 แก่ สังขตะธรรม และอสังขตะธรรม

.....................................................
ธรรมะอันยิ่งใหญ่ ไม่อาจเอื้อนเอ่ย
บัญญัติ เป็นเพียงสิ่งต่ำต้อยแบกรับความยิ่งใหญ่


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 29 พ.ค. 2013, 12:20 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 27 ก.พ. 2012, 12:27
โพสต์: 2372

แนวปฏิบัติ: ปฏิจจสมุปบาท และกรรมฐาน
งานอดิเรก: สวดมนต์รภาวนา
อายุ: 27

 ข้อมูลส่วนตัว


เช่นนั้น เขียน:
ลุงหมาน เขียน:
เช่นนั้น เขียน:
ถ้าสภาวปรมัตถ์ คือเป็นของจริงไม่เปลี่ยนแปลง
คือเป็นอยู่อย่างไร ก็เป็นอยู่อย่างนั้น
จะยกเว้นเกิดดับไม่ได้
ถ้ายกเว้นเกิดดับ
ก็แสดงว่า ต้นเป็นอย่างหนึ่ง ปลายเป็นอย่างหนึ่ง
สภาวปรมัตถ์ที่ว่า จึงไม่จริง......

จิต เจตสิก รูป ไม่ใช่สภาวะปรมัตถ์

นิพพาน เป็นสภาวะปรมัตถ์
เพราะมีสถาพแน่นอนไม่เปลี่ยนแปลง

มีแต่ สภาวะธรรม และสมมติ
สมมตินั้น เปลี่ยนแปลงไปตามคนกลุ่มหนึ่ง ที่ยอมรับโดยสมมติ
ส่วนสภาวะธรรมนั้น เป็นสากล ชนชาติใดก็ตามจะมีสภาวะธรรมเหมือนกันหมดไม่เปลี่ยนแปลง


จิต เจตสิก รูป เป็นปรมัตถ์ ที่ตกอยู่ภายใต้ กฎไตรลักษณ์
นิพพาน เป็นปรมัตถ์ แต่พ้นสภาพ ไตรลักษณ์

อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา ไม่ใช่กฏไตรลักษณ์ ตามพุทธพจน์
พระพุทธเจ้าไม่เคยสอนครับ

พระพุทธองค์สอนแบบนี้
ไตรลักษณ์ ของ สังขตะ
ไตรลักษณ์ ของ อสังขตะ
ไม่ปรากฏคำว่า อนัตตา

ไตรลักษณ์ของ สังขตะ คือ
ความเกิดขึ้นปรากฏ
ความเสื่อมปรากฏ
เมื่อตั้งอยู่ความแปรปรวนปรากฏ

ไตรลักษณ์ของ อสังขตะ คือ
ไม่ปรากฏความเกิด
ไม่ปรากฏความเสื่อม
เมื่อตั้งอยู่ไม่ปรากฏความแปรปรวน


จิต เจตสิก รูป เป็นสังขตะ
นิพพาน เป็นอสังขตะ


ปรมัตถ์ มีอรรถว่า สูงสุด ที่สุด
พระพุทธองค์ เคยตรัสว่า นิพพาน เป็นปรมสุข คือสุขที่สูงสุด ที่สุด
ดังนั้น นิพพานจึงเป็นสภาวะปรมัตถ์ตามพุทธพจน์ครับ

คุนน้องก็เห็นอย่างนั้นเช่นกันค่ะ :b8:
นิพพาน มันไม่มีเกิด ไม่มีดับหรอกนะค่ะ เพราะนิพพานอยู่เหนือไตรลักษณ์ เห็นการเกิดขึ้น การดับลงของสังขารขันธ์แล้วไง ไม่ค่อยเข้าใจความหมายอันมีไตรลักษณ์เป็นอารมณ์ :b32: มันก็แค่คนที่เห็นแสงสว่างอยู่ปลายอุโมงค์ ใช่นิพพานซะเมื่อไหร่ :b6: นิพพานอยู่เหนือกว่ากว่านั้น นิพพานเป็นความสงบ เป็นความว่างที่ไม่ได้เชื่อมต่อกับโลก ละได้แล้วซึ่งตัณหา อุปทานทั้งหลายทั้งปวง ไม่ปรากฏการเกิด ไม่ปรากฏความเสื่อม ไม่ปรากฏความแปรปรวน ไม่ใช่ อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา :b39:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 29 พ.ค. 2013, 12:57 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 2
สมาชิก ระดับ 2
ลงทะเบียนเมื่อ: 13 มิ.ย. 2009, 07:11
โพสต์: 93

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


พระพุทธเจ้าพระองค์ตรัสไว้ อย่าได้เชื่อเพราะอ้างตำราหรือคำภีร์ เชื่อเพราะเป็นครูบาอาจารย์ของตน ฯลฯ เพราะพระองค์คงเห็นว่า ตำราคำภีร์ทั้งหลายคงถูกตัดต่อเพิ่มเติมโดยผู้ที่ไม่ใช่พระอรหันต์ขั้นปฏิสัมภิทาญาณอย่างแน่นอน ท่านให้ใช้ปัญญาของตนพิจารณาพร้อมกันไป :b16:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 29 พ.ค. 2013, 13:29 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 20 มี.ค. 2010, 19:57
โพสต์: 1014

โฮมเพจ: http://www.vitwong.blogspot.com
อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว www


ในเมื่อ ไม่ให้เชื่อตำรา ...... งั้นไม่ศึกษาพระไตรปิฏก และไม่ฟังใครทั้งนั้น

ไม่ใช่อย่างนั้นครับ
ศึกษา ให้จบก่อน แล้วค่อยทิ้ง จะเชื่อหรือไม่เชื่อ ค่อยว่ากันอีกที
แต่ท่านนั้น ได้เรียนรู้สิ่งที่จะไม่เชื่อนั้นหรือยัง

.....................................................
ยังงมงาย...
เมื่อเห็นว่าพระไตรปิฏก มีส่วนถูก มีส่วนจริงแค่ 20 ถึง 30 เปอร์เซนต์ เท่านั้น

เลิกงมงาย..
เมื่อเห็นว่า พระไตรปิฏก มีส่วนถูก ส่วนจริง เกินกว่า 80 ถึง กว่า 90 เปอร์เซนต์

http://www.youtube.com/user/govit2554#g/u


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 29 พ.ค. 2013, 13:31 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


โฮฮับ เขียน:
โฮฮับ เขียน:
เช่นนั้น เขียน:
Quote Tipitaka:
ตีณิ สงฺขตสฺส สงฺขตลกฺขณานีติ
ตีณิ อสงฺขตสฺส อสงฺขตลกฺขณานีติ

เช่นนั้นตั้งสติดูธรรมให้ดี อย่าดูแต่ตัวหนังสือ มีสมาธิหน่อย ในประโยคนี้...
ตีณิ.... สงฺขตสฺส สงฺขต... ลกฺขณา.....นีติ

เช่นนั้นไปเอาคำศัพท์โยงกันมั่ว ในประโยคนี้มันมีธรรมอยู่สองธรรม
นั้นคือ......สังขารธรรม เป็นนาม
และอีกตัวก็คือ.......สังขาร เป็นกิริยา

ตีณิ.... สงฺขตสฺส มันก็เป็นเรื่องหนึ่ง มันเป็นสังขารธรรม

สงฺขต... ลกฺขณา.....นีติ นี่ก็เป็นอีกเรื่อง มันเป็นสังขาร


ตั้งสติให้ดีก็จะรู้ว่า ท่านหมายถึง ตัวธรรม(สงฺขตสฺส) กับ กิริยาของธรรม(สงฺขต)

ตีณิ.... สงฺขตสฺส เป็นเหตุ ตีณิหมายถึงอะไร ตีณิมันมีรากศัพท์มาจาก..ไตรลิงค์
ไม่ใช่ไตรลักษณ์
มันจึงแปลความหมายว่า ความเกิดขึ้นปรากฏ ความเสื่อมปรากฏ เมื่อตั้งอยู่ความแปรปรวนปรากฏ
ซึ่งมันก็คือ การเกิดขึ้น ตั้งอยู่ ดับไปนั้นเอง


ส่วน สงฺขต... ลกฺขณา.....นีติ มันเป็นผลมาจาก....ตีณิ
สงฺขต... ลกฺขณา.....นีติ มาจากคำบาลีว่า....เตเนว

เต...แปลว่า สาม
เนว...มีความหมายว่า จะใช่หรือไม่ใช่ก็ได้
ดังนั้น "เตเนว" จึงมีความหมายว่า จะใช่สามหรือไม่ใช่สามก็ไม่เชิง มันก็คือ ไตรลักษณ์นั้นเอง
อนิจจัง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา
ทุกข์เป็น อนิจจัง เป็นอนัตตา
อนัตตาเป็นอนิจจัง เป็นทุกข์
เช่นนั้น เขียน:
แล้วก็หัดมีสติหน่อยว่า ไตรลักษณ์ที่อรรถาจารย์บัญญัติขึ้นมา
ว่าเป็นสามัญลักษณะของธรรมชาติ นั้นใช้ไม่ได้

เพราะ อนิจจัง และทุกขัง เป็นลักขณะสัจจ์
แต่ อนัตตา เป็นสังขารขันธ์

เข้าใจไว้ด้วยโฮฮับ

ที่ผมบอกว่า บัญญัติขึ้นมาน่ะ เข้าใจไว้ซะด้วยว่า บัญญัติก็คือแปลมาจากพุทธพจน์
ซึ่งพุทธพจน์ก็คือ เตเนว อรรถกถามาแปลหรือบัญญัติใหม่ว่า..ไตรลักษณ์

และจะเรียก เตเนวหรือไตรลักษณ์ก็ตาม มันก็คือ อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา
สรุปคนที่เข้าใจมันเป็นผม คนที่ไม่เข้าใจเป็นเช่นนั้น

เพื่อความต่อเนื่อง ขอดึงความเห็นนี้มาหน้าใหม่ครับ



นึกตอนไส้ติ่งอักเสบ ถ้าเขาจัดหมอที่ชำนาญโรคตาหูคอจมูกมาผ่าตัดไส้ติ่งเรา คิดว่า ตายหาไปแล้ว คิกๆ

ฉันใดก็ฉันนั้น ผู้ไม่มีพื้นฐานทางบาลีมาวิแคะบาลีเค้า ได้ตายทั้งรัง :b32:

Quote Tipitaka:
ตีณิ.... สงฺขตสฺส เป็นเหตุ ตีณิหมายถึงอะไร ตีณิมันมีรากศัพท์มาจาก..ไตรลิงค์


ตีณิ ก็แปลว่า "สาม" เติมเป็น "ติ" ซึ่งแปลว่าสามนั่นเอง เป็นนปุง...เขานำไปแจกวิภัตติ จึงเปลี่ยนไปจากเดิม

อ้างคำพูด:
เต...แปลว่า สาม


ยังไม่เคยเห็นว่า เต แปลว่า สาม ไปเอามาจากไหน เต เป็นสัพพนาม แปลว่า นั้น ตัวอย่าง เต ปุริสา บุรุษเหล่านั้น (พหูพจน์) ไม่ใช่ ชายสามคน ถ้าชายสามคน ก็เป็น ตโย ปุริสา


หยุดเถอะครับ พอเถอะครับ "เท่าก็ตรม" นักหนา แล้วใยจะมา...

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 29 พ.ค. 2013, 13:44 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


โฮฮับ เขียน:
govit2552 เขียน:
ท่านเช่นนั้น ดูสิครับ ว่า เขาแปลเกิน ตรงไหน ผมยังไม่เก่งถึงขนาดนั้น ชี้ไม่ถูก
Quote Tipitaka:
[๑๕๗] กตโม จ ๑ อานนฺท มคฺโค กตมา จ ปฏิปทา
ปญฺจนฺนํ โอรมฺภาคิยานํ สญฺโญชนานํ ปหานาย ฯ อิธานนฺท
ภิกฺขุ อุปธิวิเวกา อกุสลานํ ธมฺมานํ ปหานา สพฺพโส กายทุฏฺฐุลฺลานํ
ปฏิปฺปสฺสทฺธิยา วิวิจฺเจว กาเมหิ วิวิจฺจ อกุสเลหิ
ธมฺเมหิ สวิตกฺกํ สวิจารํ วิเวกชํ ปีติสุขํ ปฐมํ ฌานํ อุปสมฺปชฺช
วิหรติ ฯ โส ยเทว ตตฺถ โหติ รูปคตํ เวทนาคตํ สญฺญาคตํ
สงฺขารคตํ วิญฺญาณคตํ เต ธมฺเม อนิจฺจโต ทุกฺขโต โรคโต
คณฺฑโต สลฺลโต อฆโต อาพาธโต ปรโต ปโลกโต สุญฺญโต
อนตฺตโต สมนุปสฺสติ ฯ โส เตหิ ธมฺเมหิ จิตฺตํ ปฏิปาเปติ ๒
โส เตหิ ธมฺเมหิ จิตฺตํ ปฏิปาเปตฺวา ๓ อมตาย ธาตุยา จิตฺตํ
อุปสํหรติ เอตํ สนฺตํ เอตํ ปณีตํ ยทิทํ สพฺพสงฺขารสมโถ
#๑ ยุ. กตโม จานนฺท มคฺโค กตมา ปฏิปทาติ ทิสฺสติ ฯ ๒ สี. ยุ. ปฏิวาเปติ ฯ
#ม. ปติฏฺฐาเปติ ฯ ๓ สี. ยุ. ปฏิวาเปตฺวา ฯ ม. ปติฏฺฐาเปตฺวา ฯ
สพฺพูปธิปฏินิสฺสคฺโค ตณฺหกฺขโย วิราโค นิโรโธ นิพฺพานนฺติ ฯ
โส ตตฺถฏฺฐิโต อาสวานํ ขยํ ปาปุณาติ โน เจ อาสวานํ
ขยํ ปาปุณาติ เตเนว ธมฺมราเคน ตาย ธมฺมนนฺทิยา ปญฺจนฺนํ
โอรมฺภาคิยานํ สญฺโญชนานํ ปริกฺขยา โอปปาติโก โหติ ตตฺถ
ปรินิพฺพายี อนาวตฺติธมฺโม ตสฺมา โลกา ฯ อยมฺปิ โข อานนฺท
มคฺโค อยํ ปฏิปทา ปญฺจนฺนํ โอรมฺภาคิยานํ สญฺโญชนานํ ปหานาย ฯ
ปุน จปรํ อานนฺท ภิกฺขุ วิตกฺกวิจารานํ วูปสมา ฯเปฯ
ทุติยํ ฌานํ อุปสมฺปชฺช วิหรติ ฯเปฯ ตติยํ ฌานํ ฯเปฯ
จตุตฺถํ ฌานํ อุปสมฺปชฺช วิหรติ ฯ โส ยเทว ตตฺถ โหติ
รูปคตํ เวทนาคตํ สญฺญาคตํ สงฺขารคตํ วิญฺญาณคตํ ฯเปฯ
สญฺโญชนานํ ปหานาย ฯ
[๑๕๘] ปุน จปรํ อานนฺท ภิกฺขุ สพฺพโส รูปสญฺญานํ

เน้นให้ดูเลยครับว่า ตรงไหนที่หมายถึง......ไตรลักษณ์
เตเนวก็คือไตรลักษณ์ :b13:


อ่าวๆๆๆ เตเนว คือไตรลักษณ์ เตเนว (แปลว่า นั้นนั่นเทียว) = เตน + เอว เป็น วิเสสนะ ของ ธมฺมราเคน เป็นตติยาวิภัตติ ...ด้วยธรรมราคะนั่นนั่นเทียว ไม่เห็นมีอะไร

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


แสดงโพสต์จาก:  เรียงตาม  
กลับไปยังกระทู้  [ 223 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1 ... 9, 10, 11, 12, 13, 14, 15  ต่อไป

เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


 ผู้ใช้งานขณะนี้

กำลังดูบอร์ดนี้: ไม่มีสมาชิก และ บุคคลทั่วไป 134 ท่าน


ท่าน ไม่สามารถ โพสต์กระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ตอบกระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แก้ไขโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ลบโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แนบไฟล์ในบอร์ดนี้ได้

ค้นหาสำหรับ:
ไปที่:  
Google
ทั่วไป เว็บธรรมจักร