วันเวลาปัจจุบัน 20 ก.ค. 2025, 23:14  



เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง




กลับไปยังกระทู้  [ 53 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1, 2, 3, 4  ต่อไป  Bookmark and Share
เจ้าของ ข้อความ
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 08 ก.พ. 2013, 10:46 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 25 เม.ย. 2009, 02:43
โพสต์: 12232


 ข้อมูลส่วนตัว


ต้องโอปนยิโก..นะ..

ตรงไหน..ส่วนไหนก็ได้ในปฏิจจะ...น้อมมาที่ตัวเรา...ประสบการณ์ของเราแล้ว...เห็นได้ง่าย

ตรงนั้นแหละ....ที่ทำงานของเรา..จริง ๆ

แต่ทั้งหมดก็ต้องรู้ใว้บ้าง...

แต่การรู้แล้ว....ไม่น้อมเข้า...เอาแต่ไปแตกว่ามันคืออะไร...ตรงกับอะไร...เรียกว่าอะไร...ในตำรานั้นตำรานี้...มันก็เป็นสัญญาไปเรื่อยอีก

แต่ก็ดี.....แม่น้ำกว้าง ๆ ...คน..สัตว์...กุ้งหอยปูปลา...อาศัยได้มากดี....แม้จะต้องนานไปนิด


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 08 ก.พ. 2013, 12:02 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-1
Moderators-1
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 พ.ค. 2011, 14:20
โพสต์: 8585


 ข้อมูลส่วนตัว


asoka เขียน:
:b8: อนุโมทนาสาธุกับความรอบรู้และลึกซึ้งในธรรมของคุณSOAMUSA
:b27: :b27: ขอความกรุณาคุณSOAMUSAช่วยอธิบายให้ทราบด้วยว่า ในปฏิจจสมุปบาททั้ง 12 พูดแต่เรื่อง ปัจจัยให้เกิด
:b38: "ปัจจัย" นั้น มักทำงานคู่กับ "เหตุ" จึงจะเกิดเป็น ...."ผล"...ตามมา
:b10:
อะไรหรือที่เป็น....เหตุ....ให้ปัจจัยทั้งหลายกระทบแล้วเกิดเป็น....ผล?
:b16:
คำว่าเหตุปัจจัยในปัฎฐาน
เหตุ มีความหมายแคบกว่า เพราะหมายถึงเอาเหตุ ๖ ที่มีอยู่ในเหตุปัจจัยเท่านั้น มี โลภเหตุ เป็นต้น
ปัจจัย มีความหมายกว้างกว่า เพราะหมายถึงเอาธรรมที่ช่วยอุปการะ จึงเป็นได้ทั้ง ๒๔ ปัจจัย
แต่ถ้ากล่าวโดยทั่วไป คำว่า เหตุ และ ปัจจัย ก็แปลว่าสิ่งที่ทำให้ผลเกิดขึ้น หรืออุปการะให้ผลเกิดขึ้นนั่นเอง
ความหมายของเหตุและผลในปัจจัย ๒๔ นี้ หมายถึงธรรมที่เป็นปัจจัยเนื่องกัน หรืออิงอาศัยกันในธรรม
อันเดียวกัน ซึ่งธรรมที่เป็นเหตุ ธรรมที่เป็นผลและธรรมที่นอกจากผล ดังนั้นเหตุและผลนี้จึงไม่จำเป็นที่จะต้องให้ผลตรงกันเสมอไป เหมือนการหว่านข้าวเปลือกเป็นเหตุผลที่ตรงกันก็จะต้องเป็นข้าวเปลือกเหมือนกัน แต่เหตุผลในปัจจัย ๒๔ หมายเอาเป็นเหตุเป็นผลเพราะอิงอาศัยกัน หรืออุปการะกัน ให้ผลอีกอย่างหนึ่งเกิดขึ้น เช่น หว่านข้าวเปลือกเป็นเหตุ ทำให้เกิดต้นข้าว ใบข้าว เป็นผลก็ได้
อวิชชาเป็นเหตุเป็นปัจจัยให้เกิดสังขาร

สังขารก็มีสังขาร ๓ นั้นได้แก่ ปุญญาภิสังขาร อปุญญาภิสังขาร อเนญชาภิสังขาร

อวิชาเป็นปัจจัยช่วยอุปาระแก่ปุญญาภิสังขารนั้นได้อำนาจปัจจัย ๒ ปัจจัย คือ
๑. อารัมมณปัจจัย ๒. ปกตูนิสสยปัจจัย

อวิชชาเป็นปัจจัยช่วยอุปการะแก่อปุญญาภิสังขารนั้นได้อำนาจปัจจัย ๑๕ ปัจจัย คือ
๑. เหตุปจฺจโย ๒. อารมฺมณปจฺจโย ๓. อธิปติปจฺจโย ๔.อนนฺตรปจฺจโย ๕.สมนนฺตรปจฺจโย
๖. สหชาตปจฺจโย ๗. อญฺญมญฺญปจฺจโย ๘.นิสฺสยปจฺจโย ๙.อุปนิสฺสยปจฺจโย ๑๐.อาเสวนปจฺจโย
๑๑.สมฺปยุตฺตปจฺจโย ๑๒.อตฺถิปจฺจโย ๑๓.นตฺถิปจฺจโย ๑๔ วิคตปจฺจโย ๑๕.อวิคตปจฺจโย

อวิชชาเป็นปัจจัยช่วยอุปการะแก่อาเนญชาภิสังขารนั้นได้อำนาจปัจจัย ๑ คือ
๑. ปกตูปนิสสยปัจจัย

การที่จะเข้าใจเรื่องปัจจัยนั้นควรจะต้องค่อยๆศึกษากันต่อไป

.....................................................
พระธรรมคำสอน บัญญัติ ตรัส ไว้ดีแล้ว ไม่ต้องลด ไม่ต้องเพิ่ม ไม่ต้องแก้ไข ใดๆ ทั้งสิ้น


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 08 ก.พ. 2013, 13:07 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-1
Moderators-1
ลงทะเบียนเมื่อ: 01 ก.พ. 2011, 08:23
โพสต์: 1328


 ข้อมูลส่วนตัว


กบนอกกะลา เขียน:
ต้องโอปนยิโก..นะ..

ตรงไหน..ส่วนไหนก็ได้ในปฏิจจะ...น้อมมาที่ตัวเรา...ประสบการณ์ของเราแล้ว...เห็นได้ง่าย

ตรงนั้นแหละ....ที่ทำงานของเรา..จริง ๆ

แต่ทั้งหมดก็ต้องรู้ใว้บ้าง...

แต่การรู้แล้ว....ไม่น้อมเข้า...เอาแต่ไปแตกว่ามันคืออะไร...ตรงกับอะไร...เรียกว่าอะไร...ในตำรานั้นตำรานี้...มันก็เป็นสัญญาไปเรื่อยอีก

แต่ก็ดี.....แม่น้ำกว้าง ๆ ...คน..สัตว์...กุ้งหอยปูปลา...อาศัยได้มากดี....แม้จะต้องนานไปนิด


อืม นี่แหล่ะ จะเอาปัญญาไปรู้เรื่องปฏิจจสมุปบาท จะเอาปัญญามาจากไหน
ถ้าไม่สนใจให้รู้ จะใช้ปัญญาของตนมาเข้าใจนั้นไม่ใช่ง่ายๆ นะคะ อวิิชชามันปกปิดหมด
ต้องอาศัยพระปัญญาของพระพุทธองค์ที่ตรัสสอนไว้ ต้องสุตตะ ถึงจะเข้าถึงภาวนาได้
หากคิดว่า รู้แบบนิดหน่อยพอ ไม่ต้องไปรู้ให้มากให้ยุ่งยาก แล้วเอาตัวรอดได้
คิดว่าญาณได้กันง่ายๆ ก็ลองดูนะคะ

จะเอาตัวเองให้รอด ต้องทำงานหนักนะ ไม่มีอะไรง่ายๆ แน่นอน

ที่คุณโพสท์มานั้น อยากจะบอกว่า "ตรงนั้นแหละ....ที่ทำงานของเรา....จริงๆ" ที่คุณกล่าวมานี้แหล่ะ
เค้าจะต้องศึกษาให้เข้าใจจริงๆ ก่อนนะคะ ไม่ใช่ง่ายๆ นะคะ จะได้ถึงที่ทำงานได้จริง

เคยอ่านพระพุทธเจ้าตรัสกับพระอานนท์ บ้างหรือเปล่าหระ ในเรื่องปฏิจจสมุปบาท

.....................................................
พระพุทธศาสนามี ๒ นัย ดังนี้...นัยที่ ๑ คือคำสอนของพระพุทธองค์มี ๓ ประการ...เพื่อประโยชน์ในภพนี้ ในภพหน้า เพื่อเข้าถึงความสุขโดยส่วนเดียวคือพระนิพพาน...นัยที่ ๒ คือแก่นแท้ของพระพุทธศาสนาคืออริยสัจจ ๔ ซึ่งเป็นสภาวะธรรมที่ทำให้ผู้เห็นแจ้ง พ้นทุกข์ทั้งปวงได้ การศึกษาพระอภิธรรมว่าด้วยสภาวะธรรมทั้งสิ้น ผู้เห็นประโยชน์ย่อมได้รับประโยชน์ค่ะ
(เกิดมาไม่ได้เป็นผู้สร้าง ก็จงเป็นผู้ที่รักษา แต่จงอย่าเป็นผู้ที่ทำลาย)


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 08 ก.พ. 2013, 13:21 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-1
Moderators-1
ลงทะเบียนเมื่อ: 01 ก.พ. 2011, 08:23
โพสต์: 1328


 ข้อมูลส่วนตัว


asoka เขียน:
:b8: SOAMUSA เขียน:
หาความเข้าใจปฏิจจสมุปบาทให้ได้ก่อน
แล้วแต่ละองค์ปฏิจจทั้ง 12 องค์นั้น กล่าวไว้แค่ไหนมีธรรมที่เกี่ยวข้องด้วยมีอะไรบ้าง
หากจะว่าตำราเป็นแค่สัญญา ก็อ่านแล้วพิจารณาตามให้เข้าใจก็จะมีปัญญาประกอบไปด้วยค่ะ


:b8:
อนุโมทนาสาธุกับความรอบรู้และลึกซึ้งในธรรมของคุณSOAMUSA
:b27: :b27:
ขอความกรุณาคุณSOAMUSAช่วยอธิบายให้ทราบด้วยว่า ในปฏิจจสมุปบาททั้ง 12 พูดแต่เรื่อง ปัจจัยให้เกิด
:b38:
"ปัจจัย" นั้น มักทำงานคู่กับ "เหตุ" จึงจะเกิดเป็น ...."ผล"...ตามมา
:b10:
อะไรหรือที่เป็น....เหตุ....ให้ปัจจัยทั้งหลายกระทบแล้วเกิดเป็น....ผล?
:b16:


ขอบคุณค่ะ
ดิฉันยังไม่ได้เป็นผู้รู้ลึกซึ้งอะไรเลยค่ะ ที่ตอบไปบ้างนั้น ก็แค่เท่าที่รู้และพอเข้าใจได้บ้างนิดหน่อยค่ะ
อย่างที่บอกไว้แต่แรกค่ะว่า ดิฉันพูดได้แค่เท่าที่เข้าใจได้บ้างเท่านั้นแหล่ะค่ะ ดิฉันยังต้องศึกษา
อีกค่ะในเรื่องปฏิจจสมุปบาท ปัฏฐาน คนที่ศึกษาบางท่านนะคะ เค้าศึกษาซ้ำๆ อยู่อย่างนั้นใช้
เวลาหลายปีพร้อมทั้งปฏิบัติไปด้วย ไม่ใช่เรื่องง่ายนะคะ แค่คำว่าพอให้ตนเองทำได้เท่านั้น

รอลุงหมานตอบนะคะ ลุงเข้าใจได้ดีกว่าดิฉันนะคะ ดิฉันเองก็ยังเป็นผู้ถามคำถามลุงหมาน
อยู่เป็นประจำค่ะ

.....................................................
พระพุทธศาสนามี ๒ นัย ดังนี้...นัยที่ ๑ คือคำสอนของพระพุทธองค์มี ๓ ประการ...เพื่อประโยชน์ในภพนี้ ในภพหน้า เพื่อเข้าถึงความสุขโดยส่วนเดียวคือพระนิพพาน...นัยที่ ๒ คือแก่นแท้ของพระพุทธศาสนาคืออริยสัจจ ๔ ซึ่งเป็นสภาวะธรรมที่ทำให้ผู้เห็นแจ้ง พ้นทุกข์ทั้งปวงได้ การศึกษาพระอภิธรรมว่าด้วยสภาวะธรรมทั้งสิ้น ผู้เห็นประโยชน์ย่อมได้รับประโยชน์ค่ะ
(เกิดมาไม่ได้เป็นผู้สร้าง ก็จงเป็นผู้ที่รักษา แต่จงอย่าเป็นผู้ที่ทำลาย)


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 08 ก.พ. 2013, 13:56 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 25 เม.ย. 2009, 02:43
โพสต์: 12232


 ข้อมูลส่วนตัว


SOAMUSA เขียน:

อืม นี่แหล่ะ จะเอาปัญญาไปรู้เรื่องปฏิจจสมุปบาท จะเอาปัญญามาจากไหน
ถ้าไม่สนใจให้รู้ จะใช้ปัญญาของตนมาเข้าใจนั้นไม่ใช่ง่ายๆ นะคะ อวิิชชามันปกปิดหมด
ต้องอาศัยพระปัญญาของพระพุทธองค์ที่ตรัสสอนไว้ ต้องสุตตะ ถึงจะเข้าถึงภาวนาได้
หากคิดว่า รู้แบบนิดหน่อยพอ ไม่ต้องไปรู้ให้มากให้ยุ่งยาก แล้วเอาตัวรอดได้
คิดว่าญาณได้กันง่ายๆ ก็ลองดูนะคะ

จะเอาตัวเองให้รอด ต้องทำงานหนักนะ ไม่มีอะไรง่ายๆ แน่นอน

ที่คุณโพสท์มานั้น อยากจะบอกว่า "ตรงนั้นแหละ....ที่ทำงานของเรา....จริงๆ" ที่คุณกล่าวมานี้แหล่ะ
เค้าจะต้องศึกษาให้เข้าใจจริงๆ ก่อนนะคะ ไม่ใช่ง่ายๆ นะคะ จะได้ถึงที่ทำงานได้จริง

เคยอ่านพระพุทธเจ้าตรัสกับพระอานนท์ บ้างหรือเปล่าหระ ในเรื่องปฏิจจสมุปบาท


จะเอาปัญญามาจากไหน.....!!!
ที่เราไปหยิบจากที่อื่น....ยังไม่น่าจะเรียกปัญญา...นะ....เอาละ..สุตตะ...จินตะ...เราสาวกไม่มีใครไม่ผ่าน

ท่านพาหิยะ.....แม้จะสำเร็จเร็ว...ยังต้องฟังก่อน

แต่...ฟังเท่าไรจึงจะพอ?...แบบท่านพาหิยะ...ฟังแล้วก็พิจารณาตามเลย...หรือ...แบบท่านโปฐิละผู้ทรงพระไตรปิฎกมาถึง7 พระพุทธเจ้า...???....

ไม่ผิดสักแบบหรอก....หากถือเอาว่า...ที่สุดก็พ้นทุกข์ได้เหมือนกัน....
ในเมื่อเหมือนกัน.....พ้นทุกข์เร็ว ๆ จะดีกว่ามั้ย?....

แต่ง่าย ๆ สบาย ๆ...นั้น....ไม่มีหรอก
มีก็แต่ของกิเลส...


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 08 ก.พ. 2013, 16:09 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 04 ธ.ค. 2012, 15:49
โพสต์: 932


 ข้อมูลส่วนตัว


:b8:
กบนอกกะลา เขียน:
SOAMUSA เขียน:

อืม นี่แหล่ะ จะเอาปัญญาไปรู้เรื่องปฏิจจสมุปบาท จะเอาปัญญามาจากไหน
ถ้าไม่สนใจให้รู้ จะใช้ปัญญาของตนมาเข้าใจนั้นไม่ใช่ง่ายๆ นะคะ อวิิชชามันปกปิดหมด
ต้องอาศัยพระปัญญาของพระพุทธองค์ที่ตรัสสอนไว้ ต้องสุตตะ ถึงจะเข้าถึงภาวนาได้
หากคิดว่า รู้แบบนิดหน่อยพอ ไม่ต้องไปรู้ให้มากให้ยุ่งยาก แล้วเอาตัวรอดได้
คิดว่าญาณได้กันง่ายๆ ก็ลองดูนะคะ

จะเอาตัวเองให้รอด ต้องทำงานหนักนะ ไม่มีอะไรง่ายๆ แน่นอน

ที่คุณโพสท์มานั้น อยากจะบอกว่า "ตรงนั้นแหละ....ที่ทำงานของเรา....จริงๆ" ที่คุณกล่าวมานี้แหล่ะ
เค้าจะต้องศึกษาให้เข้าใจจริงๆ ก่อนนะคะ ไม่ใช่ง่ายๆ นะคะ จะได้ถึงที่ทำงานได้จริง

เคยอ่านพระพุทธเจ้าตรัสกับพระอานนท์ บ้างหรือเปล่าหระ ในเรื่องปฏิจจสมุปบาท


จะเอาปัญญามาจากไหน.....!!!
ที่เราไปหยิบจากที่อื่น....ยังไม่น่าจะเรียกปัญญา...นะ....เอาละ..สุตตะ...จินตะ...เราสาวกไม่มีใครไม่ผ่าน

ท่านพาหิยะ.....แม้จะสำเร็จเร็ว...ยังต้องฟังก่อน

แต่...ฟังเท่าไรจึงจะพอ?...แบบท่านพาหิยะ...ฟังแล้วก็พิจารณาตามเลย...หรือ...แบบท่านโปฐิละผู้ทรงพระไตรปิฎกมาถึง7 พระพุทธเจ้า...???....

ไม่ผิดสักแบบหรอก....หากถือเอาว่า...ที่สุดก็พ้นทุกข์ได้เหมือนกัน....
ในเมื่อเหมือนกัน.....พ้นทุกข์เร็ว ๆ จะดีกว่ามั้ย?....

แต่ง่าย ๆ สบาย ๆ...นั้น....ไม่มีหรอก
มีก็แต่ของกิเลส...
:b8:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 08 ก.พ. 2013, 17:47 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-1
Moderators-1
ลงทะเบียนเมื่อ: 01 ก.พ. 2011, 08:23
โพสต์: 1328


 ข้อมูลส่วนตัว


กบนอกกะลา เขียน:
SOAMUSA เขียน:

อืม นี่แหล่ะ จะเอาปัญญาไปรู้เรื่องปฏิจจสมุปบาท จะเอาปัญญามาจากไหน
ถ้าไม่สนใจให้รู้ จะใช้ปัญญาของตนมาเข้าใจนั้นไม่ใช่ง่ายๆ นะคะ อวิิชชามันปกปิดหมด
ต้องอาศัยพระปัญญาของพระพุทธองค์ที่ตรัสสอนไว้ ต้องสุตตะ ถึงจะเข้าถึงภาวนาได้
หากคิดว่า รู้แบบนิดหน่อยพอ ไม่ต้องไปรู้ให้มากให้ยุ่งยาก แล้วเอาตัวรอดได้
คิดว่าญาณได้กันง่ายๆ ก็ลองดูนะคะ

จะเอาตัวเองให้รอด ต้องทำงานหนักนะ ไม่มีอะไรง่ายๆ แน่นอน

ที่คุณโพสท์มานั้น อยากจะบอกว่า "ตรงนั้นแหละ....ที่ทำงานของเรา....จริงๆ" ที่คุณกล่าวมานี้แหล่ะ
เค้าจะต้องศึกษาให้เข้าใจจริงๆ ก่อนนะคะ ไม่ใช่ง่ายๆ นะคะ จะได้ถึงที่ทำงานได้จริง

เคยอ่านพระพุทธเจ้าตรัสกับพระอานนท์ บ้างหรือเปล่าหระ ในเรื่องปฏิจจสมุปบาท


จะเอาปัญญามาจากไหน.....!!!
ที่เราไปหยิบจากที่อื่น....ยังไม่น่าจะเรียกปัญญา...นะ....เอาละ..สุตตะ...จินตะ...เราสาวกไม่มีใครไม่ผ่าน

ท่านพาหิยะ.....แม้จะสำเร็จเร็ว...ยังต้องฟังก่อน

แต่...ฟังเท่าไรจึงจะพอ?...แบบท่านพาหิยะ...ฟังแล้วก็พิจารณาตามเลย...หรือ...แบบท่านโปฐิละผู้ทรงพระไตรปิฎกมาถึง7 พระพุทธเจ้า...???....

ไม่ผิดสักแบบหรอก....หากถือเอาว่า...ที่สุดก็พ้นทุกข์ได้เหมือนกัน....
ในเมื่อเหมือนกัน.....พ้นทุกข์เร็ว ๆ จะดีกว่ามั้ย?....

แต่ง่าย ๆ สบาย ๆ...นั้น....ไม่มีหรอก
มีก็แต่ของกิเลส...


พูดมาแบบนี้ ก็เดิมๆ แหล่ะค่ะ หากจะคุยกันก็คงไม่จบง่ายๆ
ดิฉันก็คงไม่ว่าไรหรอกค่ะ แล้วแต่จะคิดกันนะคะ

.....................................................
พระพุทธศาสนามี ๒ นัย ดังนี้...นัยที่ ๑ คือคำสอนของพระพุทธองค์มี ๓ ประการ...เพื่อประโยชน์ในภพนี้ ในภพหน้า เพื่อเข้าถึงความสุขโดยส่วนเดียวคือพระนิพพาน...นัยที่ ๒ คือแก่นแท้ของพระพุทธศาสนาคืออริยสัจจ ๔ ซึ่งเป็นสภาวะธรรมที่ทำให้ผู้เห็นแจ้ง พ้นทุกข์ทั้งปวงได้ การศึกษาพระอภิธรรมว่าด้วยสภาวะธรรมทั้งสิ้น ผู้เห็นประโยชน์ย่อมได้รับประโยชน์ค่ะ
(เกิดมาไม่ได้เป็นผู้สร้าง ก็จงเป็นผู้ที่รักษา แต่จงอย่าเป็นผู้ที่ทำลาย)


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 08 ก.พ. 2013, 17:51 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-1
Moderators-1
ลงทะเบียนเมื่อ: 01 ก.พ. 2011, 08:23
โพสต์: 1328


 ข้อมูลส่วนตัว


กบนอกกะลา เขียน:
SOAMUSA เขียน:

อืม นี่แหล่ะ จะเอาปัญญาไปรู้เรื่องปฏิจจสมุปบาท จะเอาปัญญามาจากไหน
ถ้าไม่สนใจให้รู้ จะใช้ปัญญาของตนมาเข้าใจนั้นไม่ใช่ง่ายๆ นะคะ อวิิชชามันปกปิดหมด
ต้องอาศัยพระปัญญาของพระพุทธองค์ที่ตรัสสอนไว้ ต้องสุตตะ ถึงจะเข้าถึงภาวนาได้
หากคิดว่า รู้แบบนิดหน่อยพอ ไม่ต้องไปรู้ให้มากให้ยุ่งยาก แล้วเอาตัวรอดได้
คิดว่าญาณได้กันง่ายๆ ก็ลองดูนะคะ

จะเอาตัวเองให้รอด ต้องทำงานหนักนะ ไม่มีอะไรง่ายๆ แน่นอน

ที่คุณโพสท์มานั้น อยากจะบอกว่า "ตรงนั้นแหละ....ที่ทำงานของเรา....จริงๆ" ที่คุณกล่าวมานี้แหล่ะ
เค้าจะต้องศึกษาให้เข้าใจจริงๆ ก่อนนะคะ ไม่ใช่ง่ายๆ นะคะ จะได้ถึงที่ทำงานได้จริง

เคยอ่านพระพุทธเจ้าตรัสกับพระอานนท์ บ้างหรือเปล่าหระ ในเรื่องปฏิจจสมุปบาท


จะเอาปัญญามาจากไหน.....!!!
ที่เราไปหยิบจากที่อื่น....ยังไม่น่าจะเรียกปัญญา...นะ....เอาละ..สุตตะ...จินตะ...เราสาวกไม่มีใครไม่ผ่าน

ท่านพาหิยะ.....แม้จะสำเร็จเร็ว...ยังต้องฟังก่อน

แต่...ฟังเท่าไรจึงจะพอ?...แบบท่านพาหิยะ...ฟังแล้วก็พิจารณาตามเลย...หรือ...แบบท่านโปฐิละผู้ทรงพระไตรปิฎกมาถึง7 พระพุทธเจ้า...???....

ไม่ผิดสักแบบหรอก....หากถือเอาว่า...ที่สุดก็พ้นทุกข์ได้เหมือนกัน....
ในเมื่อเหมือนกัน.....พ้นทุกข์เร็ว ๆ จะดีกว่ามั้ย?....

แต่ง่าย ๆ สบาย ๆ...นั้น....ไม่มีหรอก
มีก็แต่ของกิเลส...


ก็คงแบบเดิมๆ นะคะ
ก็สุดแต่จะเข้าใจเถอะค่ะ

.....................................................
พระพุทธศาสนามี ๒ นัย ดังนี้...นัยที่ ๑ คือคำสอนของพระพุทธองค์มี ๓ ประการ...เพื่อประโยชน์ในภพนี้ ในภพหน้า เพื่อเข้าถึงความสุขโดยส่วนเดียวคือพระนิพพาน...นัยที่ ๒ คือแก่นแท้ของพระพุทธศาสนาคืออริยสัจจ ๔ ซึ่งเป็นสภาวะธรรมที่ทำให้ผู้เห็นแจ้ง พ้นทุกข์ทั้งปวงได้ การศึกษาพระอภิธรรมว่าด้วยสภาวะธรรมทั้งสิ้น ผู้เห็นประโยชน์ย่อมได้รับประโยชน์ค่ะ
(เกิดมาไม่ได้เป็นผู้สร้าง ก็จงเป็นผู้ที่รักษา แต่จงอย่าเป็นผู้ที่ทำลาย)


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 08 ก.พ. 2013, 20:42 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 25 เม.ย. 2009, 02:43
โพสต์: 12232


 ข้อมูลส่วนตัว


สังขารเกิดได้เพราะอวิชชา...

ทีนี้...ความไม่พอใจเกิดแล้ว....ความขุ่นข้องหมองใจเกิดแล้ว

เราจะอยู่เฉย...ปล่อยให้มันผ่านไป....จะท่องมันใว้ว่า..เกิดแล้วเดียวมันก็ดับ...พรุ้งนี้มะรืนนี้...มันจะเกิดอีก..ก็ค่อยว่ากัน...หรือ..จะใช้ขันติอดทนข่มมันใว้.??..เดินหนีไปซะ???...หรือจะเอายังงัยดีละ...ลูกตถาคตทั้งหลาย

ทำให้นึกถึง...เรื่องลูกศรปักอก...เรื่องที่ต้องทำก่อนควรจะเป็นเรื่องอะไร?...จะหาว่าลูกดอกมาจากทิศไหน...ทำจากไม้อะไร...ใครเป็นคนยิง...คนยิงมีโคตรอย่างไร??...หรือ...ควรจะรีบรักษาบาดแผลโดยเร็ว??

สังขารเกิดแล้วเพราะอวิชชา....

เมื่อเป็นผู้ศึกษาธรรมอันประเสริฐ....ก็ควรไปขวนขวายหาวิชชาที่ร่ำเรียนมา...มาระงับดับสังขาร

อันดับแรก...กดข่มใว้ก่อน...นั้นถูกแล้ว...แต่อย่าหยุดแค่นั้น...ใช้ปัญญาต่อ..จะเป็นปัญญาหรือสัญญาก็ใช้ไปก่อน...เมื่อยังไม่ลงใจก็ทำไปเรื่อย ๆ ...อย่าหยุด..อย่าเลิก....อย่าคิดว่าเรื่องนี้แค่เล็กน้อย....ลงใจเมื่อไร...ใจจะโปรงโล่งสบายเอง...


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 08 ก.พ. 2013, 20:48 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 25 เม.ย. 2009, 02:43
โพสต์: 12232


 ข้อมูลส่วนตัว


ปัณหาของนักเรียนเก่ง ๆ ...คือ...ตอนลงมือทำ

ปัณหาของคนทำงาน..คือ...ตอนกลับไปเรียนอีกที
s002


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 08 ก.พ. 2013, 21:15 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 01 มี.ค. 2010, 16:12
โพสต์: 2298

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กบนอกกะลา เขียน:
อันดับแรก...กดข่มใว้ก่อน...นั้นถูกแล้ว...แต่อย่าหยุดแค่นั้น...ใช้ปัญญาต่อ..จะเป็นปัญญาหรือสัญญาก็ใช้ไปก่อน...เมื่อยังไม่ลงใจก็ทำไปเรื่อย ๆ ...อย่าหยุด..อย่าเลิก....อย่าคิดว่าเรื่องนี้แค่เล็กน้อย....ลงใจเมื่อไร...ใจจะโปรงโล่งสบายเอง...
:b4: :b8:

ทุกข์เกิดแลัวดับไปเป็นเรื่องธรรมดา ..
เพราะทุกสิ่งมีเกิดมีดับและไม่ใช่เป็นการ "ฝึกจิต ฝึกปัญญา"

แต่ทุกข์เกิดแล้วดับไปด้วย "ปัญญา" ..
นี่แหละ คือจุดประสงค์จุดมุ่งหมายอันสูงสุดของพระพุทธศาสนา ..


:b1:

.....................................................
"พุทโธ .. พุทโธ .. พุทโธ"
ภาวนาวันละนิด จิตแจ่มใส


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 08 ก.พ. 2013, 21:23 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 25 เม.ย. 2009, 02:43
โพสต์: 12232


 ข้อมูลส่วนตัว


สุภาษิตหนึ่งที่คุณตาผมพูดให้ฟังบ่อย ๆ
" รู้มาก....ยากนาน
รู้น้อย...พลอยรำคาญ"

ตอนนั้นงงนะ...รู้มาก ๆ ..มันน่าจะง่ายซิ...มันจะยากได้งัยหน่อ....แอบคัดค้านอยู่เงียบ ๆ ...ไม่เห็นด้วยเลย :b32:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 08 ก.พ. 2013, 23:17 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 18 ก.ย. 2011, 21:51
โพสต์: 4941


 ข้อมูลส่วนตัว


ลุงหมาน เขียน:
asoka เขียน:
:b8: อนุโมทนาสาธุกับความรอบรู้และลึกซึ้งในธรรมของคุณSOAMUSA
:b27: :b27: ขอความกรุณาคุณSOAMUSAช่วยอธิบายให้ทราบด้วยว่า ในปฏิจจสมุปบาททั้ง 12 พูดแต่เรื่อง ปัจจัยให้เกิด
:b38: "ปัจจัย" นั้น มักทำงานคู่กับ "เหตุ" จึงจะเกิดเป็น ...."ผล"...ตามมา
:b10:
อะไรหรือที่เป็น....เหตุ....ให้ปัจจัยทั้งหลายกระทบแล้วเกิดเป็น....ผล?
:b16:
คำว่าเหตุปัจจัยในปัฎฐาน
เหตุ มีความหมายแคบกว่า เพราะหมายถึงเอาเหตุ ๖ ที่มีอยู่ในเหตุปัจจัยเท่านั้น มี โลภเหตุ เป็นต้น
ปัจจัย มีความหมายกว้างกว่า เพราะหมายถึงเอาธรรมที่ช่วยอุปการะ จึงเป็นได้ทั้ง ๒๔ ปัจจัย
แต่ถ้ากล่าวโดยทั่วไป คำว่า เหตุ และ ปัจจัย ก็แปลว่าสิ่งที่ทำให้ผลเกิดขึ้น หรืออุปการะให้ผลเกิดขึ้นนั่นเอง
ความหมายของเหตุและผลในปัจจัย ๒๔ นี้ หมายถึงธรรมที่เป็นปัจจัยเนื่องกัน หรืออิงอาศัยกันในธรรม
อันเดียวกัน ซึ่งธรรมที่เป็นเหตุ ธรรมที่เป็นผลและธรรมที่นอกจากผล ดังนั้นเหตุและผลนี้จึงไม่จำเป็นที่จะต้องให้ผลตรงกันเสมอไป เหมือนการหว่านข้าวเปลือกเป็นเหตุผลที่ตรงกันก็จะต้องเป็นข้าวเปลือกเหมือนกัน แต่เหตุผลในปัจจัย ๒๔ หมายเอาเป็นเหตุเป็นผลเพราะอิงอาศัยกัน หรืออุปการะกัน ให้ผลอีกอย่างหนึ่งเกิดขึ้น เช่น หว่านข้าวเปลือกเป็นเหตุ ทำให้เกิดต้นข้าว ใบข้าว เป็นผลก็ได้
อวิชชาเป็นเหตุเป็นปัจจัยให้เกิดสังขาร

สังขารก็มีสังขาร ๓ นั้นได้แก่ ปุญญาภิสังขาร อปุญญาภิสังขาร อเนญชาภิสังขาร

อวิชาเป็นปัจจัยช่วยอุปาระแก่ปุญญาภิสังขารนั้นได้อำนาจปัจจัย ๒ ปัจจัย คือ
๑. อารัมมณปัจจัย ๒. ปกตูนิสสยปัจจัย

อวิชชาเป็นปัจจัยช่วยอุปการะแก่อปุญญาภิสังขารนั้นได้อำนาจปัจจัย ๑๕ ปัจจัย คือ
๑. เหตุปจฺจโย ๒. อารมฺมณปจฺจโย ๓. อธิปติปจฺจโย ๔.อนนฺตรปจฺจโย ๕.สมนนฺตรปจฺจโย
๖. สหชาตปจฺจโย ๗. อญฺญมญฺญปจฺจโย ๘.นิสฺสยปจฺจโย ๙.อุปนิสฺสยปจฺจโย ๑๐.อาเสวนปจฺจโย
๑๑.สมฺปยุตฺตปจฺจโย ๑๒.อตฺถิปจฺจโย ๑๓.นตฺถิปจฺจโย ๑๔ วิคตปจฺจโย ๑๕.อวิคตปจฺจโย

อวิชชาเป็นปัจจัยช่วยอุปการะแก่อาเนญชาภิสังขารนั้นได้อำนาจปัจจัย ๑ คือ
๑. ปกตูปนิสสยปัจจัย

การที่จะเข้าใจเรื่องปัจจัยนั้นควรจะต้องค่อยๆศึกษากันต่อไป

:b8:
ขอบคุณและอนุโมทนากับการตอบของลุงหมานครับ

แต่จะกรุณาทำให้ง่าย และบาลีน้อยๆหน่อยจะพอได้ไหมครับ

:b4: :b27: :b8:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 09 ก.พ. 2013, 00:00 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 11 ต.ค. 2010, 12:11
โพสต์: 5019


 ข้อมูลส่วนตัว


กบนอกกะลา เขียน:
ปัณหาของนักเรียนเก่ง ๆ ...คือ...ตอนลงมือทำ

ปัณหาของคนทำงาน..คือ...ตอนกลับไปเรียนอีกที
s002


:b1:

นั่นสิ่ ตอนนี้ที่ทำงานกำลังเตรียมก้าวเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
ทางสำนักงานก็กำลังเตรียมจับพนักงานมา train ในเรื่องภาษาแล้ว
:b32: :b32: :b32:

เอ้า....เอกอน...สู้สู้...วะ

ช่วงนี้งานยุ่งมาก
จริง ๆ เวลาที่งานยุ่ง ๆ หรือมีเรื่องยุ่ง ๆ เข้ามา
มันก็ท้าทายดีนะ
เราได้ลงเล่นเกมบริหารอารมณ์ บริหารจิต .... :b1: :b1: :b1:
มันมีปัญหา มีการกระทบเข้ามาทุกวัน มันเข้ามาได้ทุกเวลา
ถ้าเราบริหารการงาน บริหารชีวิตไม่เป็น มันจะมีแรงผลักดันให้เรา
อยากจะหนีจากโลกเข้าหาธรรม
แต่ถ้าเราบริหารการงาน บริหารชีวิตเป็น มันก็คือสนามปฏิบัติธรรม

คือ บางครั้ง การเป็นผู้ศึกษาปฏิบัติธรรม
ก็มักจะมีอารมณ์เกี่ยงในเรื่องทางโลกนะ
คือ คิดว่าแทนที่จะไปเรียนฝึกภาษาอังกฤษ เอาเวลาไปศึกษาธรรมทำสมาธิดีกว่า

คือ ถ้ามันเป็นภาระหน้าที่ ก็ทำไปเถอะ
เราก็ทำสัมมาอาชีวะ ... เน๊อะ
คือ ... เรากำลังทำกรรมที่เป็น สัมมาอาชีวะ :b32: :b32: :b32:
ซึ่งถ้าเราทำสัมมาอาชีวะให้เกิดได้ มันก็เป็นที่ ๆ สุข และ สงบได้

:b12: :b13: :b13: :b12:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 09 ก.พ. 2013, 06:10 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-1
Moderators-1
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 พ.ค. 2011, 14:20
โพสต์: 8585


 ข้อมูลส่วนตัว


asoka เขียน:
:b8:
ขอบคุณและอนุโมทนากับการตอบของลุงหมานครับ

แต่จะกรุณาทำให้ง่าย และบาลีน้อยๆหน่อยจะพอได้ไหมครับ

:b4: :b27: :b8:


บางคนก็ต้องการให้ถูกต้องตามพุทธวจนะ
ครั้นตอบไปอย่างอื่นก็ว่าสรุปเอาเองเดาเอาเอง มันยากแท้จริงๆจิตใจนี่

การที่ต้องตอบเป็นภาษาบาลีนั้น จะหลีกเลี่ยงไปตอบแบบอื่นไม่ได้เลย
เพราะมันจะไม่ตรงกับคำที่ถาม เพราะผู้ถาม ถามหาเหตุ ถามหาปัจจัยของเหตุ

ต้องขออภัยด้วยถ้าไม่เข้าใจคำบาลี
ก็พยายามยกตัวอย่างอุปมาไว้ให้แล้ว ก็น่าจะพอเข้าใจนะครับ

เหตุ นั้นเปรียบได้ดังรากเง่าของเมล็ดพืช
ผล นั้นเปรียบได้ดังลำต้นจนถึงดอกผลของพืชนั้น
ปัจจัย นั้นก็ได้แก่ ดิน ฟ้า อากาศ น้ำ เป็นต้นครับ
ลองไปอ่านทวนซ้ำอีกนะครับกับคำตอบด้านบน จะขอบคุณเป็นอย่างมากเลย

.....................................................
พระธรรมคำสอน บัญญัติ ตรัส ไว้ดีแล้ว ไม่ต้องลด ไม่ต้องเพิ่ม ไม่ต้องแก้ไข ใดๆ ทั้งสิ้น


แสดงโพสต์จาก:  เรียงตาม  
กลับไปยังกระทู้  [ 53 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1, 2, 3, 4  ต่อไป

เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


 ผู้ใช้งานขณะนี้

่กำลังดูบอร์ดนี้: ไม่มีสมาชิก และ บุคคลทั่วไป 1 ท่าน


ท่าน ไม่สามารถ โพสต์กระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ตอบกระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แก้ไขโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ลบโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แนบไฟล์ในบอร์ดนี้ได้

ค้นหาสำหรับ:
ไปที่:  
Google
ทั่วไป เว็บธรรมจักร