วันเวลาปัจจุบัน 29 มี.ค. 2024, 15:18  



เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


กฎการใช้บอร์ด


“อภิธรรม (สันสกฤต: abhidharma) หรืออภิธัมมะ (บาลี: abhidhamma) เป็นชื่อปิฎกศาสนาพุทธฉบับหนึ่งในปิฎกทั้งสามฉบับที่รวมเรียก "พระไตรปิฎก" อภิธรรมแปลว่าธรรมอันยิ่ง ปิฎกฉบับอภิธรรมนั้นเรียก "พระอภิธรรมปิฎก" ซึ่งว่าด้วยประมวลหลักธรรมและคำอธิบายที่เป็นหลักวิชาล้วนๆ ไม่มีความเกี่ยวข้องกับเหตุการณ์และบุคคลเลย”



กลับไปยังกระทู้  [ 6 โพสต์ ]    Bookmark and Share
เจ้าของ ข้อความ
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 03 มี.ค. 2023, 12:37 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-1
Moderators-1
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 พ.ค. 2011, 14:20
โพสต์: 8123


 ข้อมูลส่วนตัว




1371676078-o.jpg
1371676078-o.jpg [ 31.91 KiB | เปิดดู 1226 ครั้ง ]
อิทํ อฎฺฐวิธํ จิตฺตํ กามาวจรสญฺญิตํ
ทสปุญฺญกุริยวตฺถุ- วเสเนว ปวตฺตติ.

"จิตที่มีชื่อว่ากามาวจรจิต ๘ ดวงนี้ ย่อมดำเนินไปโดยเนื่องกับบุญกิริยาวัตถุ ๑๐"
๒๑. ทาน ลีลํ ภาวนา ปตฺติทานํ
เวยฺยาวจฺจํ เทสนา จานุโมโท
ทิฏฺฐิชฺชุตฺตํ สํสุติจฺจาปจาโย
เญยฺโย เอวํ ปุญฺญวตฺถุปฺปเภโท.

"ประเภทแห่งบุญกิริยาวัตถุ พึงทราบอย่างนี้ว่า ทาน (การให้) ศีล (การสำรวมกาย
วาจา) ภาวนา (การอบรมจิต) ปัตติทานะ (การให้ส่วนบุญ) เวยยาวัจจะ (การขวนขวายช่วย
เหลือผู้อื่น) ธรรมเทศนา (การแสดงธรรม) ปัตตานุโมทนะ (การอนุโมทนาบุญที่ผู้อื่นกระทำ)
ทิฏฐุชุกรรม (การทำความเห็นให้ตรง) ธรรมสวนะ (การฟังธรรม) และอปจายนะ (การเคารพ
ผู้ควรเคารพ)"


"แม้บุญกิริยาวัตถุเหล่านี้ก็รวมเป็น ๓ อีก คือ ปัตติทาน และปัตตานุโมทนะ
ย่อมรวมเข้าในทานมัยกุศล เวยยาวัจจะ และอปจายนะ ย่อมรวมเข้าในศีลมัยกุศล ส่วนธรรม-
เทศนา ธรรมสวนะ และทิฏฐุชุกรรม ย่อมรวมเข้าในภาวนามัยกุศล"

"บุญที่ระลึก[กุศลของตนและคนอื่น]ทั้งหมด การสรรเสริญ[กุศลของคนอื่น] และพระ
ไตรรัตน์'ย่อมรวมเข้าในทิฏฐุชุกรรม โดยไม่ต้องสงสัย"

"เจตนาทั้ง ๓ ขณะ คือ เจตนาก่อนทำ เจตนาขณะทำ และเจตนาหลังทำ เป็น
ทานมัยกุศล บัณฑิตพึงแสดงอย่างนี้ในบุญกิริยาวัตถุอื่น"

.....................................................
พระธรรมคำสอน บัญญัติ ตรัส ไว้ดีแล้ว ไม่ต้องลด ไม่ต้องเพิ่ม ไม่ต้องแก้ไข ใดๆ ทั้งสิ้น
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 03 มี.ค. 2023, 14:52 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-1
Moderators-1
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 พ.ค. 2011, 14:20
โพสต์: 8123


 ข้อมูลส่วนตัว


บัดนี้ พึงทราบลำคับความเกิดขึ้นของกามาวจรกุศลจิตทั้ง ๘ ควงนั้น ดังต่อไป
โดยความพิสดารว่า เมื่อบุคคลร่าเริงยินดีเพราะอาศัยความถึงพร้อมแห่งทานและ
ผู้รับทานหรือเหตุแห่งโสมนัสอื่น กระทำสัมมาทิฏฐิให้เกิดก่อนโดยนัยเป็นต้นว่าทานที่ให้
ผล ไม่มีคนอื่นชักชวน กระทำบุญมีทานเป็นตัน มหากุศลจิตควงแรกที่เกิดร่วมกับโสมนัส-
เวทนา ประกอบกับปัญญา เป็นอสังขาริก ย่อมเกิดแก่เขา

เมื่อเขาว่าเริงยินดีตามนัยที่กล่าวมาแล้ว กระทำสัมมาทิฏฐิให้เกิดก่อน มีคนอื่น
ชักชวน จึงกระทำทาน จิตดวงนั้นของเขาเป็นสสังขาริก

อนึ่ง คำว่า สังขาร ในอรรถนี้ เป็นชื่อของความเพียรที่เกิดแก่ตนหรือผู้อื่นก่อน
เมื่อเด็กเยาว์วัยที่มีการสั่งสมไว้ด้วยการเห็นข้อปฏิบัติของญาติ ครั้นเห็นพระภิกษุ
แล้วได้เกิดโสมนัสยินตี ให้ของอะไรที่อยู่ในมือหรือไหวัก็ตาม จิตดวงที่ ๓ ย่อมเกิดขึ้นแก่เขา
เมื่อมีญาติกระตุ้นเตือนโดยกล่าวว่าจงให้เถิด จงไหว้พระคุณเจ้าเถิด แล้วให้ของที่มี
อยู่ในมือหรือไหวั จิตดวงที่ ๔ ย่อมเกิดขึ้นแก่เขา
ถ้าบุคคลปราศจากโสมนัสในนัยทั้ง ๔ เพราะอาศัยความไม่ถึงพร้อมแห่งทานและ
ผู้รับเป็นตัน หรือปราศจากเหตุแห่งโสมนัสอื่น จิต ๔ ควงอื่นย่อมเกิดขึ้นร่วมกับอุเบกขา
โดยประการดังนี้ โปรดทราบกามาวจรจิต ๔ ดวง โดยจำแนกตามโสมนัส อุเบกขา
ปัญญา และสังขาร"

บัณฑิตพึงแสดง จิตเหล่านี้มีจำนวนน้อยมากโดยเนื่องด้วยบุญกิริยาวัตถุ ๑๐ เป็นต้นอีกด้วย

.....................................................
พระธรรมคำสอน บัญญัติ ตรัส ไว้ดีแล้ว ไม่ต้องลด ไม่ต้องเพิ่ม ไม่ต้องแก้ไข ใดๆ ทั้งสิ้น


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 03 มี.ค. 2023, 15:47 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-1
Moderators-1
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 พ.ค. 2011, 14:20
โพสต์: 8123


 ข้อมูลส่วนตัว


"กามาวจรกุศลจิตมี ๑๗.๒๘๐ ดาง บัณฑิตพึงแสดงอย่างนี้
เมี่อรวมกามาาจรกุศลจิต ๘ ดวงกับบุญกิริยาวัตถุ ๑๐ อารมณ์ ๖ อธิบดี ๔ กรรม ๓ จิต
ทราม จิตปานกลาง และจิตปราณีต ๓ ก็มีกามาวจรกุศลจิตทั้งหมด ๑๗.๒๘๐ ดวง กล่าวคือ มหากุศล
จิต ๘ × บุญกิริยาวัตถุ ๑๐ = ๘๐ × อารมณ์ ๖ =๔๘๐ อธิบดี ๔ = ๑.๙๒๐ × กรรม ๓ = ๕๗๖๐ =
× จิต ๓ ประเาท = ๑๗.๒๘๐ ดวง

อีกนัยหนึ่ง กามาวจรกุศลจิตมี ๑๕.๑๒o ดวง มหากุศลจิต ๘ × บุญกิริยาวัตถุ ๑๐ =
๘๐ × อารมณ์ ๖ = ๔๘๐ ในจำนวน ๘๘๐ นี้ เป็นมหากุศลจิตญาณสัมปยุตตจิต ๒๔๐ ญาณวิปปยุตตจิต
๒๔๐ มหากุศลถูาณสัมปยุตตจิต ๒๔๐ × อธิบดี ๔ × ๙๖๐. มหากุลญาณวิปปยุตจิต ๒๔๐ ×
อธิบดี ๓ = ๗๓๐ รวมความเป็นมหากุศล ๑.๖๘๐ มหากุศล ๑.๖๗๐ × กรรม ๓ = ๕.๐๔๐ × หีนะ มัชฌิมะ
ปณีตะ ๓ =๑๕.๑๒o มตินี้พบในคัมภีร์อภิธัมมัตถวิภาวินี หน้า๑๗๗-๗๘)

.....................................................
พระธรรมคำสอน บัญญัติ ตรัส ไว้ดีแล้ว ไม่ต้องลด ไม่ต้องเพิ่ม ไม่ต้องแก้ไข ใดๆ ทั้งสิ้น


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 04 มี.ค. 2023, 04:58 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-1
Moderators-1
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 พ.ค. 2011, 14:20
โพสต์: 8123


 ข้อมูลส่วนตัว


ความเป็นปัจจัยของปุญญาภิสังขาร


เจตนา ๘ อย่าง [ในมหากุศลจิตที่ชื่อว่า ปุญญาภิสังขาร ในกามภูมิ เป็นปัจจัย ๒
อย่าง คือ โดยนานาขณิกกรรมปัจจัยและอุปนิสสยปัจจัยแก่สุคติปฏิสนธิ]วิปากจิต ๔ ตวง(ที่
เป็นอเหตุกะ คือ กุตลวิบากอุเบกขาสันตีรณจิต ๑ และสเหตุกะ คือ มหาวิปากจิต ๘] ใน
ปฏิสนธิกาลในกามสุคติภูมิ"

มหากุศลเจตนา ๘ นั้นเป็นปัจจัย ๒ อย่างในปวัตติกาลแก่กามาวจร(อเหตุก] วิปาก-
จิต (จักขุวิญญาณ โสตวิญญาณ มานวิญญาณ ชิวหาวิญญาณ กายวิญญาณ สัมปฏิจฉจิต
โสมนัสสันตีรณกุศลวิปากจิต] เว้นอเหตุกมโนวิญญาณธาตุที่ประกอบกับอุเบกขา (กุศลวิบาก-
อุเบกขาสันตีรณจิต ๑ ในขณะทำหน้าที่ปฏิสนธิ ภวังค์ และจุติ]

มหากุศลเจตนาเหล่านั้นเป็นปัจจัย ๒ อย่างแก่วิปากจิต ๕ ดวง (กุศลวิบากจักขุ-
วิญญาณ กุศลวิบากโสตวิญญาณ สัมปฏิจฉจิต สันตีรณจิต ๒] ในปวัตติกาลในรูปภูมิ"

มหากุศลเจตนาเหล่านั้นเป็นปัจจัยแก่กามาวจรวิปากจิต [อเหตุกกุศลวิปากจิต] ๘
ดวงในปวัตติกาลในกามทุคติภูมิได้เช่นกัน แต่ไม่เป็นปัจจัยในปฏิสนธิกาล"

มหากุศลเจตนาเหล่านั้นป็นปัจจัยในปวัตติกาลแก่วิปากจิต ๑๖ ดวง (อเหตุกกุศล-
วิปากจิต ๘ มหาวิปากจิต ๘] และเป็นปัจจัยในปฏิสนธิกาลแก่วิปากจิต ๙ ดวง (กุศลวิบาก
อุเบกขาสันดีรณจิต ๑ มหาวิปากจิต ๘] ในกามสุดติภูมิ"

ปุญญาภิสังขาร [๕ เว้นอภิญญา] ในรูปภูมิ เป็นปัจจัยในปฏิสนธิกาลแก่[รูปาวจร]
วิปากจิต ๕ ในรูปภูมิ"

(การเว้นอภิญญาเจตนาในที่นี้ ก็เพราะว่าอภิญญาเจตนาให้ผลปฏิสนธิไม่ใด้ เนื่องจากเป็น
เพียงอานิสงส์ของจตุตถฌานสมาธิ จึงมีผลเสมอกับสมาธิข้างต้น หรือเนื่องจากมีกำลังน้อยโดยไม่ใด้รับ
อาเสวนปัจจัยจากชวนจิตดวงก่อนที่เป็นมหัคคภูมิเหมือนกัน เพราะเกิดขึ้นครั้งเดียว หรือเนื่องจาก
ไม่เป็นเหตุของผลที่เป็นวิญญาณจิต"]


อภิธรรมมาตาร น.๒๑๐

.....................................................
พระธรรมคำสอน บัญญัติ ตรัส ไว้ดีแล้ว ไม่ต้องลด ไม่ต้องเพิ่ม ไม่ต้องแก้ไข ใดๆ ทั้งสิ้น


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 17 มี.ค. 2023, 17:36 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-1
Moderators-1
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 พ.ค. 2011, 14:20
โพสต์: 8123


 ข้อมูลส่วนตัว


อีกอย่างหนึ่ง ในข้อความ[ของคัมภีร์อรรถกถา]นื้ โกสลฺสมฺภูตฎฺเฐน กุสลา "
(ชื่อว่า กุศลเพราะเป็นสภาวะเกิดตัวปัญญ) ญาณวิปปยุตตจิตชื่อว่า กุศล เพราะเกิด
ด้วยปัญญาที่เรียกว่า ความฉลาดอันเป็นอุปนิสสยปัจจัย (ปัจจัยเป็นที่อาศัยซึ่งอยู่ใกล้ตัว)
ซึ่งเกิดในวิถีจิตที่มีอาวัชชนจิตต่างกัน (วิถีจิตอันประกอบด้วยอาวัชชนจิตต่างจากวิถีที่เป็น
ญาณวิปปยุตตจิต] ฉันใด ในข้อนี้ ญาณวิปปยุตตจิตนั้นกล่าวได้ว่าเป็นวิมังสาธิปเตยยะ
(ประกอบด้วยวิมังสาธิบดี) เพราะเกิดด้วยญาณอันเป็นอุปนิสสยปัจจัยที่เป็นวิมังสาธิบดี
ฉันนั้น ญาณวิปปยุตตจิตจึงไม่ถูกแยกออกด้วยความมุ่งหมายนี้ แต่กามกุศลจิตที่พันจาก
อธิบดีมีอยู่เป็นจำนวนมาก จึงไม่ควรเป็นจิตที่มีวิมังสาธิบดีเป็นเหตุ

พึงกระทำสมาสว่า กามาวจรกุศลจิต คือ จิตที่เป็นกุศลหยั่งลงเป็นไปในกามภูมิ

ถามว่า ชื่อว่า กุศล เพราะมีสภาพอย่างไร
ตอบว่า ชื่อว่า กุศล เพราะมีสภาพไม่มีโรค(คือกิเลส] ดีงาม ฉลาด ไม่มีโทษ
และมีผลเป็นสุข หมายความว่า กิเลสมีราคะเป็นต้น
ชื่อว่า โรค เพราะมีสภาพเสียดแทงกระแสจิต
ชื่อว่า ไม่ดีงาม เพราะมีสภาพมิใช่ประโยชน์
ชื่อว่า ไม่ฉลาด เพราะมีสภาพไม่ละเอียดอ่อน
ชื่อว่า โทษ เพราะมีสภาพพงตำหนิ
และชื่อว่า มีผลเป็นทุกข์ เพราะมีผลไม่น่าปรารถนา

.....................................................
พระธรรมคำสอน บัญญัติ ตรัส ไว้ดีแล้ว ไม่ต้องลด ไม่ต้องเพิ่ม ไม่ต้องแก้ไข ใดๆ ทั้งสิ้น


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 18 มี.ค. 2023, 09:56 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-1
Moderators-1
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 พ.ค. 2011, 14:20
โพสต์: 8123


 ข้อมูลส่วนตัว




ice-7836641__340.jpg
ice-7836641__340.jpg [ 36.16 KiB | เปิดดู 322 ครั้ง ]
ส่วนจิตชื่อว่า กุศล กล่าวคือสภาวะไม่มีโรค เพราะพันจากกิเลส และชื่อว่.า
ดีงาม ฉลาด ไม่มีโทษ และมีผลเป็นสุข เพราะเป็นปฏิปักษ์ต่อกิเลส
กูศล คือ สภาระทำบาปธรรมอันน่าตำหนิให้หวั่นไหว คือ ให้สั่นคลอนพินาศไป
อีกอย่างหนึ่ง กุสะ คือ สภาพนอนเนื่องในกระแสจิตของเหล่าสัตว์ด้วยอาการ
อันน่าต่าหนิ หมายถึง ราคะเป็นตัน กุศล คือ สภาวะกำจัดบาปธรรม
อีกอย่างหนึ่ง กุสะ คือ ปัญญา เพราะเป็นสภาพกระทำบาปธรรมที่น่าตำหนิให้
อ่อนกำลังหรือทำให้หมดไป กุศล คือ สภาวะอันบุคคลพึงถือเอาด้วยปัญญา
อีกอย่างหนึ่ง กุศล คือ สภาวะตัดทอนฝ่ายเศร้าหมองเหมือนหญ้าคาที่บาดมือ
อีกอย่างหนึ่ง กุศล คือ สภาวะทำลายบาปธรรมอันน่าตำหนิ แปลง ร เป็น ล
อักษร
อีกอย่างหนึ่ง ชื่อว่า กุศล เพราะเป็นสภาวะเกิดด้วยปัญญา [ตามนัยนี้เป็นบทที่
แยกรากศัพท์ไม่ได้]

(คำว่า กุสล มีความหมาย ๕ ประการ คือ
- สภาวะทำบาปธรรมอันน่าตำหนิให้หวั่นไหว = กุ (บาปธรรมอันน่าตำหนิ) + สถ ธาตุ
(หวั่นไหว) + เณ ปัจจัย + อ ปัจจัย
- สภาวะกำจัดบาปธรรมที่นอนเนื่องด้วยอาการอันน่าตำหนิ - กุส (บาปธรรม) + ลู
ธาตุ (กำจัด) + อ ปัจจัย
- สภาวะอันบุคคลพึงถือเอาด้วยปัญญา = กุส (ปัญญา) + ลา ธาตุ (ถือเอา) + อ ปัจจัย
- สภาวะตัดทอนฝ่ายเศร้าหมองเหมือนหญ้าคา = กุสา (หญ้าคา) + ลู ธาตุ (ตัดทอน)
+ อ ปัจจัย
- สภาวะทำลายบาปธรรมอันน่าตำหนิ = กุ (บาปธรรมอันน่าตำหนิ) + สร ธาตุ (ทำลาย
+ อ ปัจจัย แปลง ร ใน สร ธาตุเป็น ล]

.....................................................
พระธรรมคำสอน บัญญัติ ตรัส ไว้ดีแล้ว ไม่ต้องลด ไม่ต้องเพิ่ม ไม่ต้องแก้ไข ใดๆ ทั้งสิ้น
แสดงโพสต์จาก:  เรียงตาม  
กลับไปยังกระทู้  [ 6 โพสต์ ] 

เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


 ผู้ใช้งานขณะนี้

กำลังดูบอร์ดนี้: ไม่มีสมาชิก และ บุคคลทั่วไป 16 ท่าน


ท่าน ไม่สามารถ โพสต์กระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ตอบกระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แก้ไขโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ลบโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แนบไฟล์ในบอร์ดนี้ได้

ค้นหาสำหรับ:
ไปที่:  
Google
ทั่วไป เว็บธรรมจักร