วันเวลาปัจจุบัน 19 เม.ย. 2024, 23:53  



เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง




กลับไปยังกระทู้  [ 19 โพสต์ ]  ไปที่หน้า 1, 2  ต่อไป  Bookmark and Share
เจ้าของ ข้อความ
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 02 มิ.ย. 2019, 19:48 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


ถ้าอ่านหัวข้อนี้เข้าใจ จะแลเห็นพุทธธรรมระดับสูงโล่งโก่งไปเลย

ลองพินาดู

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 02 มิ.ย. 2019, 19:59 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


ทุกข์ในอริยสัจ แยกให้ชัด จากทุกข์ในไตรลักษณ์

@ หมวดใหญ่ของทุกข์

บทบรรยายตอนนี้ ความจริงเป็นเรื่องของไตรลักษณ์ คือ อนิจจตา ทุกขตา และอนัตตตาทั้งหมด
แต่เมื่อพูดมาถึงทุกขตา คือ เรื่องทุกข์ ก็มีการพูดโยงไปเกี่ยวกับเรื่องทุกข์ ที่มีอยู่ในหลักธรรมหมวดอื่นด้วย โดยเฉพาะทุกข์ในอริยสัจ ๔ เพราะเนื่องกัน ถึงกันอยู่ แต่เมื่ออธิบายโยงถึงกัน หรือพันกัน บางทีก็ทำให้สับสนได้

พูดง่ายๆ ว่า ทุกข์ในไตรลักษณ์ ซึ่งเป็นเรื่องธรรมดาของธรรมชาติ บางทีก็ไปเกิดเป็นทุกข์ในอริยสัจ คือ เมื่อคนไม่รู้เข้าใจทำกับมันไม่ถูก ทุกข์ในธรรมชาติ ก็เกิดเป็นปัญหาขึ้นแก่คน

พูดในทางกลับกันว่า เพราะทุกข์ในไตรลักษณ์ ซึ่งเป็นเรื่องธรรมดาของธรรมชาติมีอยู่ มันมีภาวะกดอัดขัดแย้งบีบคั้นคงสภาพอยู่ไม่ได้ตามธรรมดาของมันก็จริง แต่เมื่อคนมีปัญญาไม่ถึงมัน ไม่ได้อย่างใจตัว ก็มาเกิดเป็นความกดดันอึดอัดขัดแย้งบีบคั้นขึ้นในชีวิตจิตใจของคน ทุกข์ในอริยสัจก็เลยเกิดมีเกิดเป็นขึ้นมา

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 02 มิ.ย. 2019, 20:10 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 27 มิ.ย. 2012, 14:54
โพสต์: 2805


 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
ทุกข์ในอริยสัจ แยกให้ชัด จากทุกข์ในไตรลักษณ์

@ หมวดใหญ่ของทุกข์

บทบรรยายตอนนี้ ความจริงเป็นเรื่องของไตรลักษณ์ คือ อนิจจตา ทุกขตา และอนัตตตาทั้งหมด
แต่เมื่อพูดมาถึงทุกขตา คือ เรื่องทุกข์ ก็มีการพูดโยงไปเกี่ยวกับเรื่องทุกข์ ที่มีอยู่ในหลักธรรมหมวดอื่นด้วย โดยเฉพาะทุกข์ในอริยสัจ ๔ เพราะเนื่องกัน ถึงกันอยู่ แต่เมื่ออธิบายโยงถึงกัน หรือพันกัน บางทีก็ทำให้สับสนได้

พูดง่ายๆ ว่า ทุกข์ในไตรลักษณ์ ซึ่งเป็นเรื่องธรรมดาของธรรมชาติ บางทีก็ไปเกิดเป็นทุกข์ในอริยสัจ คือ เมื่อคนไม่รู้เข้าใจทำกับมันไม่ถูก ทุกข์ในธรรมชาติ ก็เกิดเป็นปัญหาขึ้นแก่คน

พูดในทางกลับกันว่า เพราะทุกข์ในไตรลักษณ์ ซึ่งเป็นเรื่องธรรมดาของธรรมชาติมีอยู่ มันมีภาวะกดอัดขัดแย้งบีบคั้นคงสภาพอยู่ไม่ได้ตามธรรมดาของมันก็จริง แต่เมื่อคนมีปัญญาไม่ถึงมัน ไม่ได้อย่างใจตัว ก็มาเกิดเป็นความกดดันอึดอัดขัดแย้งบีบคั้นขึ้นในชีวิตจิตใจของคน ทุกข์ในอริยสัจก็เลยเกิดมีเกิดเป็นขึ้นมา

กรัชกายรู้มั้ย. ทุกข์ดับทุกข์. ทุกข์อริยสัจคือรู้ว่าโลกมีความทุกข์ต่อสรรพชีวิต. ทุกข์ในตรัยลักษณ์ รู้เพื่อดับทุกข์ของสรรพชีวิต

.....................................................
อย่าลืมทำกิจในอริยสัจ
เราจะเดินให้สุดทาง http://www.thaidhamma.net


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 02 มิ.ย. 2019, 20:16 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


bigtoo เขียน:
กรัชกาย เขียน:
ทุกข์ในอริยสัจ แยกให้ชัด จากทุกข์ในไตรลักษณ์

@ หมวดใหญ่ของทุกข์

บทบรรยายตอนนี้ ความจริงเป็นเรื่องของไตรลักษณ์ คือ อนิจจตา ทุกขตา และอนัตตตาทั้งหมด
แต่เมื่อพูดมาถึงทุกขตา คือ เรื่องทุกข์ ก็มีการพูดโยงไปเกี่ยวกับเรื่องทุกข์ ที่มีอยู่ในหลักธรรมหมวดอื่นด้วย โดยเฉพาะทุกข์ในอริยสัจ ๔ เพราะเนื่องกัน ถึงกันอยู่ แต่เมื่ออธิบายโยงถึงกัน หรือพันกัน บางทีก็ทำให้สับสนได้

พูดง่ายๆ ว่า ทุกข์ในไตรลักษณ์ ซึ่งเป็นเรื่องธรรมดาของธรรมชาติ บางทีก็ไปเกิดเป็นทุกข์ในอริยสัจ คือ เมื่อคนไม่รู้เข้าใจทำกับมันไม่ถูก ทุกข์ในธรรมชาติ ก็เกิดเป็นปัญหาขึ้นแก่คน

พูดในทางกลับกันว่า เพราะทุกข์ในไตรลักษณ์ ซึ่งเป็นเรื่องธรรมดาของธรรมชาติมีอยู่ มันมีภาวะกดอัดขัดแย้งบีบคั้นคงสภาพอยู่ไม่ได้ตามธรรมดาของมันก็จริง แต่เมื่อคนมีปัญญาไม่ถึงมัน ไม่ได้อย่างใจตัว ก็มาเกิดเป็นความกดดันอึดอัดขัดแย้งบีบคั้นขึ้นในชีวิตจิตใจของคน ทุกข์ในอริยสัจก็เลยเกิดมีเกิดเป็นขึ้นมา



กรัชกายรู้มั้ย. ทุกข์ดับทุกข์. ทุกข์อริยสัจคือรู้ว่าโลกมีความทุกข์ต่อสรรพชีวิต. ทุกข์ในตรัยลักษณ์ รู้เพื่อดับทุกข์ของสรรพชีวิต


ไม่รู้ดิ มันเป็นยังไงหรอ อธิบายขยายความหน่อยสิ :b10:

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 03 มิ.ย. 2019, 02:35 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 27 มิ.ย. 2012, 14:54
โพสต์: 2805


 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
bigtoo เขียน:
กรัชกาย เขียน:
ทุกข์ในอริยสัจ แยกให้ชัด จากทุกข์ในไตรลักษณ์

@ หมวดใหญ่ของทุกข์

บทบรรยายตอนนี้ ความจริงเป็นเรื่องของไตรลักษณ์ คือ อนิจจตา ทุกขตา และอนัตตตาทั้งหมด
แต่เมื่อพูดมาถึงทุกขตา คือ เรื่องทุกข์ ก็มีการพูดโยงไปเกี่ยวกับเรื่องทุกข์ ที่มีอยู่ในหลักธรรมหมวดอื่นด้วย โดยเฉพาะทุกข์ในอริยสัจ ๔ เพราะเนื่องกัน ถึงกันอยู่ แต่เมื่ออธิบายโยงถึงกัน หรือพันกัน บางทีก็ทำให้สับสนได้

พูดง่ายๆ ว่า ทุกข์ในไตรลักษณ์ ซึ่งเป็นเรื่องธรรมดาของธรรมชาติ บางทีก็ไปเกิดเป็นทุกข์ในอริยสัจ คือ เมื่อคนไม่รู้เข้าใจทำกับมันไม่ถูก ทุกข์ในธรรมชาติ ก็เกิดเป็นปัญหาขึ้นแก่คน

พูดในทางกลับกันว่า เพราะทุกข์ในไตรลักษณ์ ซึ่งเป็นเรื่องธรรมดาของธรรมชาติมีอยู่ มันมีภาวะกดอัดขัดแย้งบีบคั้นคงสภาพอยู่ไม่ได้ตามธรรมดาของมันก็จริง แต่เมื่อคนมีปัญญาไม่ถึงมัน ไม่ได้อย่างใจตัว ก็มาเกิดเป็นความกดดันอึดอัดขัดแย้งบีบคั้นขึ้นในชีวิตจิตใจของคน ทุกข์ในอริยสัจก็เลยเกิดมีเกิดเป็นขึ้นมา



กรัชกายรู้มั้ย. ทุกข์ดับทุกข์. ทุกข์อริยสัจคือรู้ว่าโลกมีความทุกข์ต่อสรรพชีวิต. ทุกข์ในตรัยลักษณ์ รู้เพื่อดับทุกข์ของสรรพชีวิต

เวลาเรามีทุกข์ก็ให้ไปดูทุกข์นั้นอย่างใจจดใจจ่อ. อย่าหนีมัน. เดี๋ยวก็เจอ. ใจต้องเด็ดหน่อยนะกรัชกาย
ไม่รู้ดิ มันเป็นยังไงหรอ อธิบายขยายความหน่อยสิ :b10:

.....................................................
อย่าลืมทำกิจในอริยสัจ
เราจะเดินให้สุดทาง http://www.thaidhamma.net


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 03 มิ.ย. 2019, 02:36 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 27 มิ.ย. 2012, 14:54
โพสต์: 2805


 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
bigtoo เขียน:
กรัชกาย เขียน:
ทุกข์ในอริยสัจ แยกให้ชัด จากทุกข์ในไตรลักษณ์

@ หมวดใหญ่ของทุกข์

บทบรรยายตอนนี้ ความจริงเป็นเรื่องของไตรลักษณ์ คือ อนิจจตา ทุกขตา และอนัตตตาทั้งหมด
แต่เมื่อพูดมาถึงทุกขตา คือ เรื่องทุกข์ ก็มีการพูดโยงไปเกี่ยวกับเรื่องทุกข์ ที่มีอยู่ในหลักธรรมหมวดอื่นด้วย โดยเฉพาะทุกข์ในอริยสัจ ๔ เพราะเนื่องกัน ถึงกันอยู่ แต่เมื่ออธิบายโยงถึงกัน หรือพันกัน บางทีก็ทำให้สับสนได้

พูดง่ายๆ ว่า ทุกข์ในไตรลักษณ์ ซึ่งเป็นเรื่องธรรมดาของธรรมชาติ บางทีก็ไปเกิดเป็นทุกข์ในอริยสัจ คือ เมื่อคนไม่รู้เข้าใจทำกับมันไม่ถูก ทุกข์ในธรรมชาติ ก็เกิดเป็นปัญหาขึ้นแก่คน

พูดในทางกลับกันว่า เพราะทุกข์ในไตรลักษณ์ ซึ่งเป็นเรื่องธรรมดาของธรรมชาติมีอยู่ มันมีภาวะกดอัดขัดแย้งบีบคั้นคงสภาพอยู่ไม่ได้ตามธรรมดาของมันก็จริง แต่เมื่อคนมีปัญญาไม่ถึงมัน ไม่ได้อย่างใจตัว ก็มาเกิดเป็นความกดดันอึดอัดขัดแย้งบีบคั้นขึ้นในชีวิตจิตใจของคน ทุกข์ในอริยสัจก็เลยเกิดมีเกิดเป็นขึ้นมา



กรัชกายรู้มั้ย. ทุกข์ดับทุกข์. ทุกข์อริยสัจคือรู้ว่าโลกมีความทุกข์ต่อสรรพชีวิต. ทุกข์ในตรัยลักษณ์ รู้เพื่อดับทุกข์ของสรรพชีวิต


ไม่รู้ดิ มันเป็นยังไงหรอ อธิบายขยายความหน่อยสิ :b10:

เวลาเรามีทุกข์ก็ให้ไปดูทุกข์นั้นอย่างใจจดใจจ่อ. อย่าหนีมัน. เดี๋ยวก็เจอ. ใจต้องเด็ดหน่อยนะกรัชกาย

.....................................................
อย่าลืมทำกิจในอริยสัจ
เราจะเดินให้สุดทาง http://www.thaidhamma.net


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 03 มิ.ย. 2019, 06:54 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 29 ต.ค. 2009, 15:06
โพสต์: 7502

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
ถ้าอ่านหัวข้อนี้เข้าใจ จะแลเห็นพุทธธรรมระดับสูงโล่งโก่งไปเลย

ลองพินาดู

:b32:
ทุกข์เพราะไม่รู้ว่าเป็นทุกขะสัจจะ
ไม่ใช่เวทนานั่นมันความรู้สึกค่ะ
รู้แล้วไม่รู้สึกทุกข์ทรมาณค่ะ
เพราะยิ่งฟังยิ่งรู้ยิ่งเข้าใจ
ยิ่งทำให้ละจางคลายลง
ไม่ติดข้องต้องการเพิ่ม
อันที่ยังอยากรู้ทำเอา
นั่นน่ะทำเพราะไม่รู้
บอกว่าฟังให้เข้าใจ
เอากิเลสออกไม่ได้
มีแต่เพียรระลึกถูก
ตรงความจริงที่มีได้
คือความรู้สึกตัวตรงขณะเดี๋ยวนี้
https://youtu.be/Sgcf2AxWDOE
:b12:
:b4: :b4:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 03 มิ.ย. 2019, 07:57 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 27 มิ.ย. 2012, 14:54
โพสต์: 2805


 ข้อมูลส่วนตัว


Rosarin เขียน:
กรัชกาย เขียน:
ถ้าอ่านหัวข้อนี้เข้าใจ จะแลเห็นพุทธธรรมระดับสูงโล่งโก่งไปเลย

ลองพินาดู

:b32:
ทุกข์เพราะไม่รู้ว่าเป็นทุกขะสัจจะ
ไม่ใช่เวทนานั่นมันความรู้สึกค่ะ
รู้แล้วไม่รู้สึกทุกข์ทรมาณค่ะ
เพราะยิ่งฟังยิ่งรู้ยิ่งเข้าใจ
ยิ่งทำให้ละจางคลายลง
ไม่ติดข้องต้องการเพิ่ม
อันที่ยังอยากรู้ทำเอา
นั่นน่ะทำเพราะไม่รู้
บอกว่าฟังให้เข้าใจ
เอากิเลสออกไม่ได้
มีแต่เพียรระลึกถูก
ตรงความจริงที่มีได้
คือความรู้สึกตัวตรงขณะเดี๋ยวนี้
https://youtu.be/Sgcf2AxWDOE
:b12:
:b4: :b4:

พระองค์บอก. ถ้า.3อย่างนี้ แก่ เจ็บ ตายไม่มีในโลก. พระองค์ก็ไม่จำเป็นต้องอุบัติขึ้นมาในโลก. ลองพิณา. อย่าไปไกลเกินพระองค์. ตำราแต่งขยายความเกินไปเยอะ จำไว้. ระโชหระนัง. ยังบรรลุได้เลย

.....................................................
อย่าลืมทำกิจในอริยสัจ
เราจะเดินให้สุดทาง http://www.thaidhamma.net


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 03 มิ.ย. 2019, 09:33 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
ทุกข์ในอริยสัจ แยกให้ชัด จากทุกข์ในไตรลักษณ์

@ หมวดใหญ่ของทุกข์

บทบรรยายตอนนี้ ความจริงเป็นเรื่องของไตรลักษณ์ คือ อนิจจตา ทุกขตา และอนัตตตาทั้งหมด
แต่เมื่อพูดมาถึงทุกขตา คือ เรื่องทุกข์ ก็มีการพูดโยงไปเกี่ยวกับเรื่องทุกข์ ที่มีอยู่ในหลักธรรมหมวดอื่นด้วย โดยเฉพาะทุกข์ในอริยสัจ ๔ เพราะเนื่องกัน ถึงกันอยู่ แต่เมื่ออธิบายโยงถึงกัน หรือพันกัน บางทีก็ทำให้สับสนได้

พูดง่ายๆ ว่า ทุกข์ในไตรลักษณ์ ซึ่งเป็นเรื่องธรรมดาของธรรมชาติ บางทีก็ไปเกิดเป็นทุกข์ในอริยสัจ คือ เมื่อคนไม่รู้เข้าใจทำกับมันไม่ถูก ทุกข์ในธรรมชาติ ก็เกิดเป็นปัญหาขึ้นแก่คน

พูดในทางกลับกันว่า เพราะทุกข์ในไตรลักษณ์ ซึ่งเป็นเรื่องธรรมดาของธรรมชาติมีอยู่ มันมีภาวะกดอัดขัดแย้งบีบคั้นคงสภาพอยู่ไม่ได้ตามธรรมดาของมันก็จริง แต่เมื่อคนมีปัญญาไม่ถึงมัน ไม่ได้อย่างใจตัว ก็มาเกิดเป็นความกดดันอึดอัดขัดแย้งบีบคั้นขึ้นในชีวิตจิตใจของคน ทุกข์ในอริยสัจก็เลยเกิดมีเกิดเป็นขึ้นมา



ต่อ



พูดอีกอย่างหนึ่งว่า ทุกข์ในไตรลักษณ์ ก็เป็นธรรมชาติไปตามธรรมดาของมัน เราไปยกเลิกมันไม่ได้ ก็ต้องฝึกเจริญปัญญาขึ้นมาให้รู้เท่าทัน แล้วก็ปฏิบัติไปตามเหตุปัจจัย

แต่ทุกข์ในอริยสัจ ที่เป็นเรื่องของคนนี้ เรายกเลิกไป ทำให้หมดสิ้นได้ และก็ทำอย่างนั้นได้ ด้วยการมีปัญญารู้เท่าทัน และปฏิบัติต่อทุกข์ในไตรลักษณ์ คือ สรรพสังขารนั่นแหละให้ถูก

นอกจากนั้น และเห็นง่ายกว่านั้น ยังมีทุกข์อีกอย่างหนึ่ง เรียกว่า ทุกขเวทนา คือความรู้สึกไม่สบาย เจ็บปวด เป็นต้น ที่มีชุดของเขา คือ มีสุขเวทนา รู้สึกสบาย ชื่นกายชื่นใจ และอทุกขมสุขเวทนา เฉยๆ (อุเบกขา)
ข้อนี้ ก็เกี่ยวข้องอาศัยสภาวะของสิ่งทั้งหลายที่เป็นทุกข์ในไตรลักษณ์นี้ ด้วยเช่นกัน แต่เมื่อมันเป็นความรู้สึกของคน รับรู้ได้ทันที ก็เลยเข้าใจง่าย แทบไม่ต้องใช้ปัญญาอะไร แค่กิ่งไม้ไม่เที่ยงเป็นทุกข์คงทนอยู่ไม่ได้ หักหล่นลงมาถูกหัว คนโดนทุกข์ของธรรมชาตินี้มากระทบตัวเข้า ก็เจ็บปวดหัว เกิดทุกขเวทนา บางที ก็แทบทนไม่ไหว

ทุกขเวทนาอย่างที่ว่านี้ง่าย ก็แก้ไข ไปหาหมอ หรือทำแผลใส่ยา รอเวลาแผลหาย ตรงไปตรงมา ก็จบ

แต่ถ้าเกิดไม่รู้ ว่ากิ่งไม้ที่มันทุกข์ตามธรรมดาของธรรมชาติแล้วมันทนอยู่ไม่ไหว ก็หักตกลงมาโดนตัว เกิดไปสงสัยคนนั้น ระแวงคนนี้ ว่า คนไหนประทุษร้าย แล้วจงใจขว้างกิ่งไม้มาจะให้เขาเจ็บตัวหรือตายไป

คราวนี้ เลยคิดวุ่นวาย มีโกรธมีแค้นมีคิดต่างๆนานา เริ่มไม่สบายใจ และกดดันบีบคั้นลึกลงไป ตอนนี้มีทุกขเวทนาพ่วงมาด้วย แต่ทุกข์ใหญ่อยู่ลึกลงไป เป็นปัญหาของทุกขอริยสัจขึ้นแล้ว คราวนี้ เรื่องราวอาจจะใหญ่โต หรือ ยืดเยื้อยาวนาน ทุกขอริยสัจมา พลอยให้ทุกขเวทนาขยาย และยืดยาวแยกยื่นบานปลายออกไปได้เยอะแยะ อาจจะไม่จบ

ได้พูดมา พอเห็นง่ายๆ แต่ที่จริง ทุกขอริยสัจนี้ เป็นเรื่องใหญ่เท่าไรก็ได้ พาเดือดร้อนกันไป แม้แต่ถึงขั้นสงครามโลกก็มี พูดง่ายๆ นี่ก็คือปัญหาของมนุษย์

เมื่อมองให้ดี จะเห็นว่า แต่ก่อนนั้น มีทุกข์เดียวแต่ในไตรลักษณ์ แต่พอมีคนมีชีวิตขึ้นมา ทั้ง ๓ ทุกข์นั้น ทั้งทุกข์ไตรลักษณ์ ทุกขเวทนา และทุกขอริยสัจ ก็มากันครบเลย

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 03 มิ.ย. 2019, 10:36 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 27 มิ.ย. 2012, 14:54
โพสต์: 2805


 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
กรัชกาย เขียน:
ทุกข์ในอริยสัจ แยกให้ชัด จากทุกข์ในไตรลักษณ์

@ หมวดใหญ่ของทุกข์

บทบรรยายตอนนี้ ความจริงเป็นเรื่องของไตรลักษณ์ คือ อนิจจตา ทุกขตา และอนัตตตาทั้งหมด
แต่เมื่อพูดมาถึงทุกขตา คือ เรื่องทุกข์ ก็มีการพูดโยงไปเกี่ยวกับเรื่องทุกข์ ที่มีอยู่ในหลักธรรมหมวดอื่นด้วย โดยเฉพาะทุกข์ในอริยสัจ ๔ เพราะเนื่องกัน ถึงกันอยู่ แต่เมื่ออธิบายโยงถึงกัน หรือพันกัน บางทีก็ทำให้สับสนได้

พูดง่ายๆ ว่า ทุกข์ในไตรลักษณ์ ซึ่งเป็นเรื่องธรรมดาของธรรมชาติ บางทีก็ไปเกิดเป็นทุกข์ในอริยสัจ คือ เมื่อคนไม่รู้เข้าใจทำกับมันไม่ถูก ทุกข์ในธรรมชาติ ก็เกิดเป็นปัญหาขึ้นแก่คน

พูดในทางกลับกันว่า เพราะทุกข์ในไตรลักษณ์ ซึ่งเป็นเรื่องธรรมดาของธรรมชาติมีอยู่ มันมีภาวะกดอัดขัดแย้งบีบคั้นคงสภาพอยู่ไม่ได้ตามธรรมดาของมันก็จริง แต่เมื่อคนมีปัญญาไม่ถึงมัน ไม่ได้อย่างใจตัว ก็มาเกิดเป็นความกดดันอึดอัดขัดแย้งบีบคั้นขึ้นในชีวิตจิตใจของคน ทุกข์ในอริยสัจก็เลยเกิดมีเกิดเป็นขึ้นมา



ต่อ



พูดอีกอย่างหนึ่งว่า ทุกข์ในไตรลักษณ์ ก็เป็นธรรมชาติไปตามธรรมดาของมัน เราไปยกเลิกมันไม่ได้ ก็ต้องฝึกเจริญปัญญาขึ้นมาให้รู้เท่าทัน แล้วก็ปฏิบัติไปตามเหตุปัจจัย

แต่ทุกข์ในอริยสัจ ที่เป็นเรื่องของคนนี้ เรายกเลิกไป ทำให้หมดสิ้นได้ และก็ทำอย่างนั้นได้ ด้วยการมีปัญญารู้เท่าทัน และปฏิบัติต่อทุกข์ในไตรลักษณ์ คือ สรรพสังขารนั่นแหละให้ถูก

นอกจากนั้น และเห็นง่ายกว่านั้น ยังมีทุกข์อีกอย่างหนึ่ง เรียกว่า ทุกขเวทนา คือความรู้สึกไม่สบาย เจ็บปวด เป็นต้น ที่มีชุดของเขา คือ มีสุขเวทนา รู้สึกสบาย ชื่นกายชื่นใจ และอทุกขมสุขเวทนา เฉยๆ (อุเบกขา)
ข้อนี้ ก็เกี่ยวข้องอาศัยสภาวะของสิ่งทั้งหลายที่เป็นทุกข์ในไตรลักษณ์นี้ ด้วยเช่นกัน แต่เมื่อมันเป็นความรู้สึกของคน รับรู้ได้ทันที ก็เลยเข้าใจง่าย แทบไม่ต้องใช้ปัญญาอะไร แค่กิ่งไม้ไม่เที่ยงเป็นทุกข์คงทนอยู่ไม่ได้ หักหล่นลงมาถูกหัว คนโดนทุกข์ของธรรมชาตินี้มากระทบตัวเข้า ก็เจ็บปวดหัว เกิดทุกขเวทนา บางที ก็แทบทนไม่ไหว

ทุกขเวทนาอย่างที่ว่านี้ง่าย ก็แก้ไข ไปหาหมอ หรือทำแผลใส่ยา รอเวลาแผลหาย ตรงไปตรงมา ก็จบ

แต่ถ้าเกิดไม่รู้ ว่ากิ่งไม้ที่มันทุกข์ตามธรรมดาของธรรมชาติแล้วมันทนอยู่ไม่ไหว ก็หักตกลงมาโดนตัว เกิดไปสงสัยคนนั้น ระแวงคนนี้ ว่า คนไหนประทุษร้าย แล้วจงใจขว้างกิ่งไม้มาจะให้เขาเจ็บตัวหรือตายไป

คราวนี้ เลยคิดวุ่นวาย มีโกรธมีแค้นมีคิดต่างๆนานา เริ่มไม่สบายใจ และกดดันบีบคั้นลึกลงไป ตอนนี้มีทุกขเวทนาพ่วงมาด้วย แต่ทุกข์ใหญ่อยู่ลึกลงไป เป็นปัญหาของทุกขอริยสัจขึ้นแล้ว คราวนี้ เรื่องราวอาจจะใหญ่โต หรือ ยืดเยื้อยาวนาน ทุกขอริยสัจมา พลอยให้ทุกขเวทนาขยาย และยืดยาวแยกยื่นบานปลายออกไปได้เยอะแยะ อาจจะไม่จบ

ได้พูดมา พอเห็นง่ายๆ แต่ที่จริง ทุกขอริยสัจนี้ เป็นเรื่องใหญ่เท่าไรก็ได้ พาเดือดร้อนกันไป แม้แต่ถึงขั้นสงครามโลกก็มี พูดง่ายๆ นี่ก็คือปัญหาของมนุษย์

เมื่อมองให้ดี จะเห็นว่า แต่ก่อนนั้น มีทุกข์เดียวแต่ในไตรลักษณ์ แต่พอมีคนมีชีวิตขึ้นมา ทั้ง ๓ ทุกข์นั้น ทั้งทุกข์ไตรลักษณ์ ทุกขเวทนา และทุกขอริยสัจ ก็มากันครบเลย
เรียกว่ารู้ทุกข์กำจัดทุกข์นั่นเอง

.....................................................
อย่าลืมทำกิจในอริยสัจ
เราจะเดินให้สุดทาง http://www.thaidhamma.net


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 03 มิ.ย. 2019, 10:43 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


bigtoo เขียน:
กรัชกาย เขียน:
กรัชกาย เขียน:
ทุกข์ในอริยสัจ แยกให้ชัด จากทุกข์ในไตรลักษณ์

@ หมวดใหญ่ของทุกข์

บทบรรยายตอนนี้ ความจริงเป็นเรื่องของไตรลักษณ์ คือ อนิจจตา ทุกขตา และอนัตตตาทั้งหมด
แต่เมื่อพูดมาถึงทุกขตา คือ เรื่องทุกข์ ก็มีการพูดโยงไปเกี่ยวกับเรื่องทุกข์ ที่มีอยู่ในหลักธรรมหมวดอื่นด้วย โดยเฉพาะทุกข์ในอริยสัจ ๔ เพราะเนื่องกัน ถึงกันอยู่ แต่เมื่ออธิบายโยงถึงกัน หรือพันกัน บางทีก็ทำให้สับสนได้

พูดง่ายๆ ว่า ทุกข์ในไตรลักษณ์ ซึ่งเป็นเรื่องธรรมดาของธรรมชาติ บางทีก็ไปเกิดเป็นทุกข์ในอริยสัจ คือ เมื่อคนไม่รู้เข้าใจทำกับมันไม่ถูก ทุกข์ในธรรมชาติ ก็เกิดเป็นปัญหาขึ้นแก่คน

พูดในทางกลับกันว่า เพราะทุกข์ในไตรลักษณ์ ซึ่งเป็นเรื่องธรรมดาของธรรมชาติมีอยู่ มันมีภาวะกดอัดขัดแย้งบีบคั้นคงสภาพอยู่ไม่ได้ตามธรรมดาของมันก็จริง แต่เมื่อคนมีปัญญาไม่ถึงมัน ไม่ได้อย่างใจตัว ก็มาเกิดเป็นความกดดันอึดอัดขัดแย้งบีบคั้นขึ้นในชีวิตจิตใจของคน ทุกข์ในอริยสัจก็เลยเกิดมีเกิดเป็นขึ้นมา



ต่อ



พูดอีกอย่างหนึ่งว่า ทุกข์ในไตรลักษณ์ ก็เป็นธรรมชาติไปตามธรรมดาของมัน เราไปยกเลิกมันไม่ได้ ก็ต้องฝึกเจริญปัญญาขึ้นมาให้รู้เท่าทัน แล้วก็ปฏิบัติไปตามเหตุปัจจัย

แต่ทุกข์ในอริยสัจ ที่เป็นเรื่องของคนนี้ เรายกเลิกไป ทำให้หมดสิ้นได้ และก็ทำอย่างนั้นได้ ด้วยการมีปัญญารู้เท่าทัน และปฏิบัติต่อทุกข์ในไตรลักษณ์ คือ สรรพสังขารนั่นแหละให้ถูก

นอกจากนั้น และเห็นง่ายกว่านั้น ยังมีทุกข์อีกอย่างหนึ่ง เรียกว่า ทุกขเวทนา คือความรู้สึกไม่สบาย เจ็บปวด เป็นต้น ที่มีชุดของเขา คือ มีสุขเวทนา รู้สึกสบาย ชื่นกายชื่นใจ และอทุกขมสุขเวทนา เฉยๆ (อุเบกขา)
ข้อนี้ ก็เกี่ยวข้องอาศัยสภาวะของสิ่งทั้งหลายที่เป็นทุกข์ในไตรลักษณ์นี้ ด้วยเช่นกัน แต่เมื่อมันเป็นความรู้สึกของคน รับรู้ได้ทันที ก็เลยเข้าใจง่าย แทบไม่ต้องใช้ปัญญาอะไร แค่กิ่งไม้ไม่เที่ยงเป็นทุกข์คงทนอยู่ไม่ได้ หักหล่นลงมาถูกหัว คนโดนทุกข์ของธรรมชาตินี้มากระทบตัวเข้า ก็เจ็บปวดหัว เกิดทุกขเวทนา บางที ก็แทบทนไม่ไหว

ทุกขเวทนาอย่างที่ว่านี้ง่าย ก็แก้ไข ไปหาหมอ หรือทำแผลใส่ยา รอเวลาแผลหาย ตรงไปตรงมา ก็จบ

แต่ถ้าเกิดไม่รู้ ว่ากิ่งไม้ที่มันทุกข์ตามธรรมดาของธรรมชาติแล้วมันทนอยู่ไม่ไหว ก็หักตกลงมาโดนตัว เกิดไปสงสัยคนนั้น ระแวงคนนี้ ว่า คนไหนประทุษร้าย แล้วจงใจขว้างกิ่งไม้มาจะให้เขาเจ็บตัวหรือตายไป

คราวนี้ เลยคิดวุ่นวาย มีโกรธมีแค้นมีคิดต่างๆนานา เริ่มไม่สบายใจ และกดดันบีบคั้นลึกลงไป ตอนนี้มีทุกขเวทนาพ่วงมาด้วย แต่ทุกข์ใหญ่อยู่ลึกลงไป เป็นปัญหาของทุกขอริยสัจขึ้นแล้ว คราวนี้ เรื่องราวอาจจะใหญ่โต หรือ ยืดเยื้อยาวนาน ทุกขอริยสัจมา พลอยให้ทุกขเวทนาขยาย และยืดยาวแยกยื่นบานปลายออกไปได้เยอะแยะ อาจจะไม่จบ

ได้พูดมา พอเห็นง่ายๆ แต่ที่จริง ทุกขอริยสัจนี้ เป็นเรื่องใหญ่เท่าไรก็ได้ พาเดือดร้อนกันไป แม้แต่ถึงขั้นสงครามโลกก็มี พูดง่ายๆ นี่ก็คือปัญหาของมนุษย์

เมื่อมองให้ดี จะเห็นว่า แต่ก่อนนั้น มีทุกข์เดียวแต่ในไตรลักษณ์ แต่พอมีคนมีชีวิตขึ้นมา ทั้ง ๓ ทุกข์นั้น ทั้งทุกข์ไตรลักษณ์ ทุกขเวทนา และทุกขอริยสัจ ก็มากันครบเลย


เรียกว่ารู้ทุกข์กำจัดทุกข์นั่นเอง


กำจัดยังไง

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 04 มิ.ย. 2019, 05:26 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


จำหลักให้แม่นให้ได้ก่อน

ต่อ


เมื่อมีความเข้าใจเบื้องต้นอย่างนี้แล้ว ก็มาดูหลักกันสักหน่อย ตอนแรกก็สรุปที่ได้พูดมา ได้สาระว่า

ทุกข์ ปรากฏในหมวดธรรมสำคัญ ๓ หมวด เรียงตามง่ายยาก ได้แก่

๑) ในเวทนา (เวทนา ๓ คือ ทุกข์ สุข อทุกขมสุข หรืออุเบกขา เวทนา ๕ คือ ทุกข์ สุข โทมนัส โสมนัส และอุเบกขา) เรียกเต็มว่า ทุกขเวทนา

๒) ในไตรลักษณ์ (อนิจจัง ทุกข์ อนัตตา) เรียกเต็มว่า ทุกขลักษณะ

๓) ในอริยสัจ ๔ (ทุกข์ สมุทัย นิโรธ มรรค) เรียกเต็มว่า ทุกขอริยสัจ

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 04 มิ.ย. 2019, 05:31 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


เมื่อจำหลักได้แล้ว ก็ทำความเข้าใจหลักนั่นต่อ



ทุกข์ในหมวดธรรมทั้งสามนั้น มีความหมายเกี่ยวโยงเนื่องอยู่ด้วยกัน แต่มีขอบเขตกว้างแคบกว่ากันเป็นบางแง่บางส่วน หรือเป็นผลสืบต่อจากกัน ดังนี้

ทุกข์ ที่มีความหมายกว้างที่สุด ครอบคลุมทั้งหมด คือ ทุกข์ในไตรลักษณ์ หรือ ทุกขลักษณะ หรือ ทุกขตา

ได้แก่ ภาวะที่ไม่คงตัว คงอยู่ในสภาพเดิมไม่ได้ เพราะมีความบีบคั้นกดดันขัดแย้งที่เกิดจากความเกิดขึ้น และความเสื่อมสลาย ดังได้อธิบายแล้วข้างต้น ซึ่งเป็นลักษณะของสังขารทั้งหลายทั้งปวง (สพฺเพ สงฺขารา ทุกฺขา) กินขอบเขตเท่ากันกับความไม่เที่ยง คือ สิ่งใด ไม่เที่ยง สิ่งนั้นก็เป็นทุกข์ (ยทนิจฺจํ ตํ ทุกฺขํ)

ทุกข์ ที่มีความหมายแคบที่สุด เป็นเพียงอาการสืบเนื่องด้านหนึ่งเท่านั้น ก็คือ ทุกข์ที่เป็นเวทนา เรียกเต็มว่า ทุกขเวทนา หรือ ความรู้สึกทุกข์ ได้แก่
อาการสืบเนื่องจากทุกข์ในไตรลักษณ์ หรือ ความรู้สึกที่เกิดขึ้นในบุคคลเนื่องมาจากทุกข์ในไตรลักษณ์นั้น
กล่าวคือ ความรู้สึกบีบคั้นกดดันข้องขัดของคน ซึ่งเกิดขึ้น เมื่อความบีบคั้นกดดันขัดแย้ง ที่เป็นสภาพสามัญของสิ่งทั้งหลาย เป็นไปในระดับหนึ่ง หรือ ในอัตราส่วนหนึ่ง โดยสัมพันธ์กับสภาพกาย และสภาพจิตของเขา ดังที่ได้อธิบายมาแล้วในข้อความ บางตอนข้างต้น* (ดูข้อ สุขปฏิกฺเขปโต)

ทุกขเวทนานี้ ก็เป็นทุกข์ตามความหมายในไตรลักษณ์ด้วย เช่นเดียวกับเวทนาอื่นๆทุกอย่าง ไม่ว่าจะเป็นสุขเวทนา หรืออทุกขมสุขเวทนา ก็ตาม หมายความว่า เวทนาทุกอย่าง จะเป็นทุกขเวทนาก็ดี สุขเวทนาก็ดี อทุกขมสุขเวทนากก็ดี ล้วนเป็นทุกข์ในความหมายที่เป็นลักษณะสามัญนั้นทั้งสิ้น

ทุกข์ในอริยสัจ หรือ ทุกขอริยสัจ ก็คือ สภาวะที่เป็นทุกข์ในไตรลักษณ์นั่นเอง ซึ่งมาเป็นที่ตั้งที่อาศัยที่ก่อเกิดเป็นปัญหาขึ้นแก่มนุษย์ เนื่องจากมนุษย์ทำให้เป็นปัญหาขึ้นมา

ขยายความว่า สังขารทั้งหลายถูกบีบคั้นตามธรรมดาของมัน โดยเป็นทุกข์ในไตรลักษณ์ และสังขารเหล่านั้นนั่นแหละ (ไม่ทั้งหมดและไม่เสมอไป) เมื่อคนไม่รู้เท่าทัน และปฏิบัติต่อมันไม่ถูกต้อง มันก็ก่อความบีบคั้นขึ้นแก่คน โดยเป็นทุกข์ในอริยสัจ (แต่การที่มันจะกลายเป็นของบีบคั้นคนขึ้นมาได้ ก็เพราะมันเองเป็นสภาวะที่ถูกบีบคั้น โดยเป็นทุกข์ในไตรลักษณ์ จึงไม่อาจเป็นไปได้ที่มันจะให้ความสมอยากเต็มแท้แน่จริงแก่คน)




พูดง่ายๆว่า ทุกขอริยสัจ หมายเฉพาะเรื่องของเบญจขันธ์ หรือ อุปาทานขันธ์ เรียกเป็นศัพท์ว่า ได้แก่ ทุกข์เฉพาะส่วนที่เป็นอินทรียพัทธ์ คือ เนื่องด้วยอินทรีย์ เกี่ยวกับชีวิต ไม่รวมถึงทุกข์ที่เป็นอนินทรียพัทธ์ (ไม่เนื่องด้วยอินทรีย์) ซึ่งเป็นทุกข์ในไตรลักษณ์ แต่ไม่จัดเป็นทุกข์ในอริยสัจ

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 04 มิ.ย. 2019, 07:26 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 27 มิ.ย. 2012, 14:54
โพสต์: 2805


 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
จำหลักให้แม่นให้ได้ก่อน

ต่อ


เมื่อมีความเข้าใจเบื้องต้นอย่างนี้แล้ว ก็มาดูหลักกันสักหน่อย ตอนแรกก็สรุปที่ได้พูดมา ได้สาระว่า

ทุกข์ ปรากฏในหมวดธรรมสำคัญ ๓ หมวด เรียงตามง่ายยาก ได้แก่

๑) ในเวทนา (เวทนา ๓ คือ ทุกข์ สุข อทุกขมสุข หรืออุเบกขา เวทนา ๕ คือ ทุกข์ สุข โทมนัส โสมนัส และอุเบกขา) เรียกเต็มว่า ทุกขเวทนา

๒) ในไตรลักษณ์ (อนิจจัง ทุกข์ อนัตตา) เรียกเต็มว่า ทุกขลักษณะ

๓) ในอริยสัจ ๔ (ทุกข์ สมุทัย นิโรธ มรรค) เรียกเต็มว่า ทุกขอริยสัจ

มันก็ทุกข์เดียวนั่นแหล่ะ. อริยสัจ มันมีเรื่องเดียว. แค่มันมีตัวทุกข์กับลักษณ์ทุกข์ จนเกิดปัญญาแก้ทุกข์หรือดับทุกข์. แค่นั้นเอง

.....................................................
อย่าลืมทำกิจในอริยสัจ
เราจะเดินให้สุดทาง http://www.thaidhamma.net


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 04 มิ.ย. 2019, 07:50 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


bigtoo เขียน:
กรัชกาย เขียน:
จำหลักให้แม่นให้ได้ก่อน

ต่อ


เมื่อมีความเข้าใจเบื้องต้นอย่างนี้แล้ว ก็มาดูหลักกันสักหน่อย ตอนแรกก็สรุปที่ได้พูดมา ได้สาระว่า

ทุกข์ ปรากฏในหมวดธรรมสำคัญ ๓ หมวด เรียงตามง่ายยาก ได้แก่

๑) ในเวทนา (เวทนา ๓ คือ ทุกข์ สุข อทุกขมสุข หรืออุเบกขา เวทนา ๕ คือ ทุกข์ สุข โทมนัส โสมนัส และอุเบกขา) เรียกเต็มว่า ทุกขเวทนา

๒) ในไตรลักษณ์ (อนิจจัง ทุกข์ อนัตตา) เรียกเต็มว่า ทุกขลักษณะ

๓) ในอริยสัจ ๔ (ทุกข์ สมุทัย นิโรธ มรรค) เรียกเต็มว่า ทุกขอริยสัจ

มันก็ทุกข์เดียวนั่นแหล่ะ. อริยสัจ มันมีเรื่องเดียว. แค่มันมีตัวทุกข์กับลักษณ์ทุกข์ จนเกิดปัญญาแก้ทุกข์หรือดับทุกข์. แค่นั้นเอง


ดับยังไง

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


แสดงโพสต์จาก:  เรียงตาม  
กลับไปยังกระทู้  [ 19 โพสต์ ]  ไปที่หน้า 1, 2  ต่อไป

เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


 ผู้ใช้งานขณะนี้

กำลังดูบอร์ดนี้: Google [Bot] และ บุคคลทั่วไป 65 ท่าน


ท่าน ไม่สามารถ โพสต์กระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ตอบกระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แก้ไขโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ลบโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แนบไฟล์ในบอร์ดนี้ได้

ค้นหาสำหรับ:
ไปที่:  
Google
ทั่วไป เว็บธรรมจักร