วันเวลาปัจจุบัน 29 มี.ค. 2024, 04:19  



เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง




กลับไปยังกระทู้  [ 117 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1, 2, 3, 4, 5 ... 8  ต่อไป  Bookmark and Share
เจ้าของ ข้อความ
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 23 เม.ย. 2019, 19:06 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 29 ต.ค. 2009, 15:06
โพสต์: 7503

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
Rosarin เขียน:
กรัชกาย เขียน:
ศีลกับเจตนารมณ์ทางสังคม

คำสอน และหลักปฏิบัติทางพระพุทธศาสนา ส่วนที่เกี่ยวข้องกับสังคม และสะท้อนถึงเจตนารมณ์ของพระพุทธศาสนา ในด้านความสัมพันธ์ทางสังคมได้มากที่สุด ก็คือ คำสอน และหลักปฏิบัติในขั้นศีล เพราะศีลเป็นระบบการควบคุมชีวิตด้านนอก เกี่ยวด้วยการแสดงออกทาง กาย วาจา เป็นระเบียบว่าด้วยความสัมพันธ์กับสภาพแวดล้อม โดยเฉพาะอย่างยิ่งความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์ด้วยกัน การดำเนินกิจการต่างๆของหมู่ชน
การจัดสภาพความเป็นอยู่ และสิ่งแวดล้อม ให้เรียบร้อยและเกื้อกุลแก่การดำรงอยู่ด้วยดีของหมู่ชนนั้น และแก่ความผาสุกแห่งสมาชิกทั้งปวงของหมู่ชน อันจะเอื้ออำนวยให้ทุกคนสามารถบำเพ็ญกิจกรณีย์ที่ดีงามยิ่งๆขึ้นไป เพื่อบรรลุจุดหมายสูงสุดของชีวิตตามความตกลงนับถือของพวกตน หรือเพื่อเข้าถึงประโยชน์และความดีงามสูงสุดตามอุดมการณ์ของหมู่ชนนั้น ตลอดจนเกื้อกูลแก่การที่หมู่ชนนั้นจะเผยแพร่อุดมการณ์ กิจการ และประโยชน์สุข ความดีงามของตนให้แผ่ขยายกว้างออกไป

ศีลพื้นฐาน หรือขั้นต้นที่สุด ก็คือ การไม่เบียดเบียนผู้อื่น ไม่ว่าด้วยกาย หรือวาจา และการไม่ทำลายสติสัมปชัญญะที่เป็นตัวคุ้มศีลของตน ศีลขั้นต้นสุดนี้ นิยมเรียกว่า ศีล ๕

เรื่องศีลกับสังคม หรือคำสอนในพระพุทธศาสนาที่เกี่ยวกับสังคมนั้น เป็นเรื่องใหญ่ มีขอบเขตกว้าง

:b12:
ศีล อ่านว่า สีละ แปลว่า ปกติ ตอนนี้รู้สึกตัวไหมว่ามีปกติไม่รู้มากแค่ไหน
ศีลเป็นธัมมะเป็นเจตสิกที่เกิดร่วมกับจิตไม่ใช่สติเจตสิกไม่ใช่สัมปชัญญะเจตสิก
สติและสัมปชัญญะไม่เกิดขณะที่ไม่รู้สึกตัวตามคำสอนอยู่คือไม่ได้ฟังคำสอนไม่คิดตามคำสอน
คำว่าจิตเกิดดับสืบต่อไม่ขาดสายมันนับไม่ถ้วนนับไม่ได้แต่ตนเองต้องกำลังคิดตามให้รู้สึกถูกตัวตนตามได้


คุณโรสไปเอา คคห.พวกนั้นมาจากสำนักไหนกันนะ :b10: :b32:

:b12:
ดูความจริงที่กำลังมีตามคำสอนจิตเกิดดับทีละ1ขณะ
มีครบตามปกติมีศีลปกติมีสมาธิก็ปกติมีกิเลสก็ปกติถูกไหม
ที่ไม่มีคือปัญญาจากการฟังยอมรับความจริงไหมว่าไม่ได้กำลังทำฟัง
ที่ไม่รู้เนี่ยเดี๋ยวนี้ไม่รู้ว่าตัวเองกำลังมีกิเลสและกำลังผลิตอกุศลศีลคืออกุศลเจตสิกทำให้จิตเป็นอกุศล
https://youtu.be/4bXu8bI0RgM
:b12:
:b16: :b16:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 23 เม.ย. 2019, 19:12 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 29 ต.ค. 2009, 15:06
โพสต์: 7503

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


Kiss
จิตเห็น1ขณะดับในลูกตาดำมีคนไหมมีอะไรหลังจากดับแล้วไหม
เห็น1ขณะมีแค่นี้=จิต+จักขุปสาทรูป+รูปของสีที่มหาภูตรูปสะท้อนแสงมากระทบลูกตาดับคือขณิกมรณะ
:b16: :b16:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 23 เม.ย. 2019, 19:25 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 29 ต.ค. 2009, 15:06
โพสต์: 7503

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


Rosarin เขียน:
กรัชกาย เขียน:
Rosarin เขียน:
กรัชกาย เขียน:
ศีลกับเจตนารมณ์ทางสังคม

คำสอน และหลักปฏิบัติทางพระพุทธศาสนา ส่วนที่เกี่ยวข้องกับสังคม และสะท้อนถึงเจตนารมณ์ของพระพุทธศาสนา ในด้านความสัมพันธ์ทางสังคมได้มากที่สุด ก็คือ คำสอน และหลักปฏิบัติในขั้นศีล เพราะศีลเป็นระบบการควบคุมชีวิตด้านนอก เกี่ยวด้วยการแสดงออกทาง กาย วาจา เป็นระเบียบว่าด้วยความสัมพันธ์กับสภาพแวดล้อม โดยเฉพาะอย่างยิ่งความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์ด้วยกัน การดำเนินกิจการต่างๆของหมู่ชน
การจัดสภาพความเป็นอยู่ และสิ่งแวดล้อม ให้เรียบร้อยและเกื้อกุลแก่การดำรงอยู่ด้วยดีของหมู่ชนนั้น และแก่ความผาสุกแห่งสมาชิกทั้งปวงของหมู่ชน อันจะเอื้ออำนวยให้ทุกคนสามารถบำเพ็ญกิจกรณีย์ที่ดีงามยิ่งๆขึ้นไป เพื่อบรรลุจุดหมายสูงสุดของชีวิตตามความตกลงนับถือของพวกตน หรือเพื่อเข้าถึงประโยชน์และความดีงามสูงสุดตามอุดมการณ์ของหมู่ชนนั้น ตลอดจนเกื้อกูลแก่การที่หมู่ชนนั้นจะเผยแพร่อุดมการณ์ กิจการ และประโยชน์สุข ความดีงามของตนให้แผ่ขยายกว้างออกไป

ศีลพื้นฐาน หรือขั้นต้นที่สุด ก็คือ การไม่เบียดเบียนผู้อื่น ไม่ว่าด้วยกาย หรือวาจา และการไม่ทำลายสติสัมปชัญญะที่เป็นตัวคุ้มศีลของตน ศีลขั้นต้นสุดนี้ นิยมเรียกว่า ศีล ๕

เรื่องศีลกับสังคม หรือคำสอนในพระพุทธศาสนาที่เกี่ยวกับสังคมนั้น เป็นเรื่องใหญ่ มีขอบเขตกว้าง

:b12:
ศีล อ่านว่า สีละ แปลว่า ปกติ ตอนนี้รู้สึกตัวไหมว่ามีปกติไม่รู้มากแค่ไหน
ศีลเป็นธัมมะเป็นเจตสิกที่เกิดร่วมกับจิตไม่ใช่สติเจตสิกไม่ใช่สัมปชัญญะเจตสิก
สติและสัมปชัญญะไม่เกิดขณะที่ไม่รู้สึกตัวตามคำสอนอยู่คือไม่ได้ฟังคำสอนไม่คิดตามคำสอน
คำว่าจิตเกิดดับสืบต่อไม่ขาดสายมันนับไม่ถ้วนนับไม่ได้แต่ตนเองต้องกำลังคิดตามให้รู้สึกถูกตัวตนตามได้


คุณโรสไปเอา คคห.พวกนั้นมาจากสำนักไหนกันนะ :b10: :b32:

:b12:
ดูความจริงที่กำลังมีตามคำสอนจิตเกิดดับทีละ1ขณะ
มีครบตามปกติมีศีลปกติมีสมาธิก็ปกติมีกิเลสก็ปกติถูกไหม
ที่ไม่มีคือปัญญาจากการฟังยอมรับความจริงไหมว่าไม่ได้กำลังทำฟัง
ที่ไม่รู้เนี่ยเดี๋ยวนี้ไม่รู้ว่าตัวเองกำลังมีกิเลสและกำลังผลิตอกุศลศีลคืออกุศลเจตสิกทำให้จิตเป็นอกุศล
https://youtu.be/4bXu8bI0RgM
:b12:
:b16: :b16:

สติแปลว่าระลึกตามคำสอนได้เป็นโสภณเจตสิกไม่เกิดขณะที่ไม่รู้มีกิเลสมีอวิชชาและไม่คิดตามคำสอนอยู่
:b11:
:b12: :b12:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 24 เม.ย. 2019, 09:45 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 29 ต.ค. 2009, 15:06
โพสต์: 7503

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


Kiss
ชาตินี้คือปัจจุบันเท่านั้นที่รู้แล้วว่าเกิดเป็นคนฟังคำสอนรู้เรื่องเริ่มฟังได้แล้วนะคะ
ดูความปกติของตนเองที่กำลังคิดพูดทำอยู่เดี๋ยวนี้
ไม่ไปไหนตัวจริงธัมมะกำลังมีที่กายใจคุณมีแล้ว
กำลังเกิดดับนับแสนโกฏิขณะและทุกขณะ
ตายจากสิ่งที่คุณคิดว่ามีแล้วขณิกมรณะ
ดูลมหายใจให้ชัดมันขาดแล้วนับไม่ได้
เพราะแสนล้านดวงจิตมันไม่ต่อกัน
ทุกขณะจิตสืบต่อตรงวิถีจิตสลับกัน
ตายทุกขณะเดี๋ยวนี้จะไปทำอะไรก็ไม่รู้ว่าลมมันไม่ต่อกันยาวๆ
เพราะทุกขณะมันเกิดสืบต่อเป็นผลที่เคยทำไว้ในอดีตยังครองอัตภาพนี้จนกว่าถึงขณะสุดท้ายคือจุติจิต
เมื่อจุติจิตให้ผลขณะสุดท้ายของชาตินี้เคลื่อนผ่านภวังค์เข้าร่างใหม่ทันทีไม่ล่องลอยไปเร็วแบบกะพริบตาค่ะ
https://youtu.be/6_6FakiEVY8
onion onion onion


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 24 เม.ย. 2019, 10:13 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


Rosarin เขียน:
Kiss
ชาตินี้คือปัจจุบันเท่านั้นที่รู้แล้วว่าเกิดเป็นคนฟังคำสอนรู้เรื่องเริ่มฟังได้แล้วนะคะ
ดูความปกติของตนเองที่กำลังคิดพูดทำอยู่เดี๋ยวนี้
ไม่ไปไหนตัวจริงธัมมะกำลังมีที่กายใจคุณมีแล้ว
กำลังเกิดดับนับแสนโกฏิขณะและทุกขณะ
ตายจากสิ่งที่คุณคิดว่ามีแล้วขณิกมรณะ
ดูลมหายใจให้ชัดมันขาดแล้วนับไม่ได้
เพราะแสนล้านดวงจิตมันไม่ต่อกัน
ทุกขณะจิตสืบต่อตรงวิถีจิตสลับกัน
ตายทุกขณะเดี๋ยวนี้จะไปทำอะไรก็ไม่รู้ว่าลมมันไม่ต่อกันยาวๆ
เพราะทุกขณะมันเกิดสืบต่อเป็นผลที่เคยทำไว้ในอดีตยังครองอัตภาพนี้จนกว่าถึงขณะสุดท้ายคือจุติจิต
เมื่อจุติจิตให้ผลขณะสุดท้ายของชาตินี้เคลื่อนผ่านภวังค์เข้าร่างใหม่ทันทีไม่ล่องลอยไปเร็วแบบกะพริบตาค่ะ
https://youtu.be/6_6FakiEVY8
onion onion onion


พ่ะน่ะว่ากันไปขอรับดีกว่าอยู่เปล่าๆ :b32: เอ๊ะ หรืออยู่เปล่าๆดีกว่า ชักไม่แน่ใจ :b10:

ไปไม่รอดครับพุทธเมืองไทย

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 24 เม.ย. 2019, 10:52 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


นำหลักตั้งแต่ ก.ไก่ ข.ไข่ มาเลย


อาราธนาศีล (มะยัง ภันเต วิสุงๆ ฯลฯ) กล่าวคำเชิญ หรือขอร้องพระให้ให้ศีล

(เมื่อได้กล่าวคำอาราธนาแล้ว พระก็กล่าวนำ ผู้อาราธนาก็ว่าตาม ซึ่งเรียกว่า สมาทาน แล้วก็นำไปฝึกหัดปฏิบัติตนตามนั้น)

คำสมาทาน ว่า

๑.ปาณาติปาตา เวรมณี สิกฺขาปทํ สมาทิยามิ.

ฯลฯ

(สังเกต สิกขาบท ดังกล่าวก่อนหน้าทุกๆข้อ)



สมาทาน การถือเอารับเอาเป็นข้อปฏิบัติ, การถือปฏิบัติ เช่น สมาทานศีล คือ รับเอาศีลมาปฏิบัติ

สมาทานวิรัติ (สมาทาน+วิรัติ) การเว้นด้วยการสมาทาน คือ ได้สมาทานศีลไว้ก่อนแล้ว เมื่อประสบเหตุที่จะไห้ทำความชั่ว ก็งดเว้นได้ตามที่สมาทานนั้น

วิรัติ ความเว้น,งดเว้น; เจตนาที่งดเว้นจากความชั่ว

วิริติ ๓ คือ

๑. สัมปัตตวิรัติ เว้นได้ซึ่งสิ่งที่ประจวบเข้า

๒.สมาทานวิรัติ เว้นด้วยการสมาทาน

๓.สมุจเฉทวิรัติ เว้นได้โดยเด็ดขาด

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 24 เม.ย. 2019, 11:02 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


ศีล ความประพฤติดีทางกายและวาจา, การรักษากายและวาจาให้เรียบร้อย, ข้อปฏิบัติสำหรับควบคุมกายและวาจาให้ตั้งอยู่ในความดีงาม, การรักษาปกติตามระเบียบวินัย, ปกติมารยาทที่ปราศจากโทษ, ข้อปฏิบัติในการฝึกหัดกายวาจาและอาชีพ, มักใช้เป็นคำเรียกอย่างง่ายสำหรับคำว่า อธิศีลสิกขา

ศีล ๕ สำหรับทุกคน คือ

๑.เว้นจากการทำลายชีวิต (ปาณ หมายถึงสิ่งที่มีลมหายใจ ท่านเพ่งเอามนุษย์)

๒.เว้นจากถือเอาของที่เขามิได้ให้

๓.เว้นจากประพฤติผิดในกาม

๔.เว้นจากพูดเท็จ (เช่น เป็นพยานเท็จในศาล เป็นต้น)

๕.เว้นจากของเมา คือ สุราเมรัยอันเป็นที่ตั้งแห่งความประมาท



ศีล ๘ สำหรับฝึกตนให้ยิ่งขึ้นไปโดยรักษาในบางโอกาส หรือมมีศรัทธาจะรักษาประจำก็ได้

ศีล ๑๐ สำหรับสามเณร แต่ผู้ใดจะรักษาก็ได้

ศีล ๒๒๗ ศีลสำหรับพระภิกษุ มีในภิกขุปาฎิโมกข์

ศีล ๓๑๑ ศีลสำหรับพระภิกษุณี

ศีลอุโบสถ คือ ศีล ๘ ที่สมาทานรักษาพิเศษในวันอุโบสถ

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 24 เม.ย. 2019, 11:11 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


ศีลธรรม ความประพฤติที่ดีงามทางกายวาจา, ความประพฤติที่ดีที่ชอบ, ความสุจริตทางกายวาจา และอาชีวะ,

โดยทางศัพท์ ศีลธรรม แปลว่า "ธรรมคือศีล" หมายถึงธรรมขั้นศีล หรือธรรมในระดับศีล เพราะศีลเป็นธรรมอย่างหนึ่ง ในบรรดาธรรมภาคปฏิบัติ ๓ อย่างคือ ศีล สมาธิ และปัญญา ดังนั้น ต่อจากธรรมขั้นศีล จึงมีธรรมขั้นสมาธิ และธรรมขั้นปัญญา

ได้มีผู้พยายามแปล ศีลธรรม อีกอย่างหนึ่งว่า "ศีลและธรรม" (ถ้าแปลให้ถูกต้องจริง ต้องว่า ศีลและธรรมอื่นๆ นอกจากศีล เช่น สมาธิ และปัญญา เพราะศีลก็เป็นธรรมอย่างหนึ่ง) ถ้าแปลอย่างนี้ จะต้องเข้าใจว่าศีลธรรม มิใช่เป็นเพียงความประพฤติดีงามเท่านั้น แต่รวมถึงสมถะวิปัสสนา ขันธ์ ๕ ปฏิจจสมุปบาท ไตรลักษณ์ เป็นต้นด้วย, เทียบ จริยธรรม

จริยธรรม "ธรรมคือความประพฤติ" "ธรรมคือการดำเนินชีวิต" หลักความประพฤติ, หลักการดำเนินชีวิต 1. ธรรมที่เป็นข้อประพฤติปฏิบัติ ศีลธรรม หรือกฎศีลธรรม (ความหมายตามบัญญัติสมัยปัจจุบัน ซึ่งกำหนดให้ จริยธรรม เป็นคำแปลสำหรับคำภาษาอังกฤษว่า ethics) 2. จริยะ (หรือจริยธรรม) อันประเสริฐ เรียกว่า พรหมจริยะ (พรหมจริยธรรม หรือ พรหมจรรย์) แปลว่า "ความประพฤติอันประเสริฐ" หรือ การดำเนินชีวิตอย่างประเสริฐ หมายถึง มรรคมีองค์ ๘ หรือ ศีล สมาธิ ปัญญา

ศีลวัตร, ศีลพรต ศีลและวัตร, ศีลและพรต, ข้อที่จะต้องสำรวมระวังไม่ล่วงละเมิด ชื่อว่า ศีล ข้อที่พึงถือปฏิบัติชื่อว่า วัตร หลักความประพฤติทั่วไปอันจะต้องรักษาเป็นพื้นฐานเสมอกัน ชื่อว่า ศีล ข้อปฏิบัติพิเศษเพื่อฝึกฝนตนให้ยิ่งขึ้นไป ชื่อว่า วัตร มีในภิกขุณีปาฎิโมกข์

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 24 เม.ย. 2019, 11:18 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 29 ต.ค. 2009, 15:06
โพสต์: 7503

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
ศีล ความประพฤติดีทางกายและวาจา, การรักษากายและวาจาให้เรียบร้อย, ข้อปฏิบัติสำหรับควบคุมกายและวาจาให้ตั้งอยู่ในความดีงาม, การรักษาปกติตามระเบียบวินัย, ปกติมารยาทที่ปราศจากโทษ, ข้อปฏิบัติในการฝึกหัดกายวาจาและอาชีพ, มักใช้เป็นคำเรียกอย่างง่ายสำหรับคำว่า อธิศีลสิกขา

ศีล ๕ สำหรับทุกคน คือ

๑.เว้นจากการทำลายชีวิต (ปาณ หมายถึงสิ่งที่มีลมหายใจ ท่านเพ่งเอามนุษย์)

๒.เว้นจากถือเอาของที่เขามิได้ให้

๓.เว้นจากประพฤติผิดในกาม

๔.เว้นจากพูดเท็จ (เช่น เป็นพยานเท็จในศาล เป็นต้น)

๕.เว้นจากของเมา คือ สุราเมรัยอันเป็นที่ตั้งแห่งความประมาท



ศีล ๘ สำหรับฝึกตนให้ยิ่งขึ้นไปโดยรักษาในบางโอกาส หรือมมีศรัทธาจะรักษาประจำก็ได้

ศีล ๑๐ สำหรับสามเณร แต่ผู้ใดจะรักษาก็ได้

ศีล ๒๒๗ ศีลสำหรับพระภิกษุ มีในภิกขุปาฎิโมกข์

ศีล ๓๑๑ ศีลสำหรับพระภิกษุณี

ศีลอุโบสถ คือ ศีล ๘ ที่สมาทานรักษาพิเศษในวันอุโบสถ

ความประพฤติเป็นไปของจิตตามปกติตามการสะสมศีลมีแค่3ประการตรงปัจจุบันขณะคือ
1วิญญาณจริยา จิตทำหน้าที่เดียวคือเป็นประธานรับรู้อารมณ์ทุกอย่างที่ปรากฏเดี๋ยวนี้ไงรู้ทุกอย่างเลย
2ญาณจริยาคือความประพฤติของจิตที่ประกอบด้วยปัญญาเช่นฟังคำสอนเข้าใจ
3อัญญาณจริยาคือความประพฤติของจิตด้วยความไม่รู้เช่นบวชแต่รับเงินทอง
:b12:
:b4: :b4:


แก้ไขล่าสุดโดย Rosarin เมื่อ 24 เม.ย. 2019, 11:21, แก้ไขแล้ว 2 ครั้ง.

โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 24 เม.ย. 2019, 11:19 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


ศึกษา การเรียน, การฝึกฝนปฏิบัติ, การเล่าเรียนให้รู้เข้าใจ และฝึกหัดปฏิบัติให้เป็นคุณสมบัติที่เกิดมีขึ้นในตนหรือให้ทำได้ทำเป็น ตลอดจนแก้ไขปรับหรือพัฒนาให้ดียิ่งขึ้นไปจนกว่าจะสมบูรณ์, ในการศึกษาทางพระธรรมวินัย นิยมใช้รูปที่เขียนอย่างบาลี คือ "สิกขา"

สิกขา การศึกษา, การสำเหนียก, การเรียน, การฝึกฝนปฏิบัติ, การเล่าเรียนให้รู้เข้าใจ และการฝึกหัดปฏิบัติให้เป็นคุณสมบัติที่เกิดมีขึ้นในตนหรือให้ทำได้ทำเป็น ตลอดจนแก้ไขปรับหรือพัฒนาให้ดียิ่งขึ้นไปจนถึงความสมบูรณ์, ข้อที่จะต้องศึกษา, ข้อปฏิบัติสำหรับฝึกอบรมพัฒนาบุคคล สิกขา ๓ คือ

๑. อธิสีลสิกขา สิกขาคือศีลอันยิ่ง, อธิศีลอันเป็นข้อที่จะต้องศึกษา, ข้อปฏิบัติเพื่อการฝึกอบรมพัฒนาศีลอย่างสูง

๒. อธิจิตตสิกขา สิกขาคือจิตอันยิ่ง, อธิจิตอันเป็นข้อที่จะต้องศึกษา, ข้อปฏิบัติเพื่อการฝึกอบรมพัฒนาจิตใจให้มีสมาธิ เป็นต้น อย่างสูง

(กุศลจิตทั้งหลาย จนถึงสมาบัติ ๘ เป็นจิต, ฌานสมาบัติที่เป็นบาทแห่งวิปัสสนา เป็นอธิจิต, แต่สมาบัติ ๘ นั้นแหละ ถ้าปฏิบัติด้วยความเข้าใจ มุ่งให้เป็นเครื่องหนุนนำออจากวัฏฏะ ก็เป็นอธิจิต)


๓. อธิปัญญาสิกขา สิกขาคือปัญญาอันยิ่ง, อธิปัญญาอันเป็นข้อที่จะต้องศึกษา, ข้อปฏิบัติเพื่อการฝึกอบรมพัฒนาปัญญาอย่างสูง

(ความรู้เข้าใจหลักเหตุผลถูกต้องอย่างสามัญ อันเป็นกัมมัสสกตาญาณ คือ ความรู้จักว่าทุกคนเป็นเจ้าของแห่งกรรมของตน เป็นปัญญา, วิปัสสนาปัญญาที่กำหนดรู้ความจริงแห่งไตรลักษณ์ เป็นอธิปัญญา แต่โดยนัยอย่างเพลา กัมมัสสกตาปัญญาที่โยงไปให้มองเห็นทุกข์ที่เนื่องด้วยวัฏฏะ หรือแม้แต่กระทั่งความรู้ความเขาใจที่ถูกต้องในการระลึกถึงคุณพระรัตนตรัย ซึ่งจะเป็นปัจจัยหนุนให้ก้าวไปในมรรค ก็เป็นอธิปัญญา)

สิกขา ๓ นี้ นิยมเรียกว่า ไตรสิกขา และเรียกข้อย่อยทั้งสามง่ายๆ สั้นๆ ว่า ศีล สมาธิ ปัญญา

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 24 เม.ย. 2019, 11:26 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


Rosarin เขียน:
กรัชกาย เขียน:
ศีล ความประพฤติดีทางกายและวาจา, การรักษากายและวาจาให้เรียบร้อย, ข้อปฏิบัติสำหรับควบคุมกายและวาจาให้ตั้งอยู่ในความดีงาม, การรักษาปกติตามระเบียบวินัย, ปกติมารยาทที่ปราศจากโทษ, ข้อปฏิบัติในการฝึกหัดกายวาจาและอาชีพ, มักใช้เป็นคำเรียกอย่างง่ายสำหรับคำว่า อธิศีลสิกขา

ศีล ๕ สำหรับทุกคน คือ

๑.เว้นจากการทำลายชีวิต (ปาณ หมายถึงสิ่งที่มีลมหายใจ ท่านเพ่งเอามนุษย์)

๒.เว้นจากถือเอาของที่เขามิได้ให้

๓.เว้นจากประพฤติผิดในกาม

๔.เว้นจากพูดเท็จ (เช่น เป็นพยานเท็จในศาล เป็นต้น)

๕.เว้นจากของเมา คือ สุราเมรัยอันเป็นที่ตั้งแห่งความประมาท



ศีล ๘ สำหรับฝึกตนให้ยิ่งขึ้นไปโดยรักษาในบางโอกาส หรือมมีศรัทธาจะรักษาประจำก็ได้

ศีล ๑๐ สำหรับสามเณร แต่ผู้ใดจะรักษาก็ได้

ศีล ๒๒๗ ศีลสำหรับพระภิกษุ มีในภิกขุปาฎิโมกข์

ศีล ๓๑๑ ศีลสำหรับพระภิกษุณี

ศีลอุโบสถ คือ ศีล ๘ ที่สมาทานรักษาพิเศษในวันอุโบสถ

ความประพฤติเป็นไปของจิตตามปกติตามการสะสมศีลมีแค่3ประการตรงปัจจุบันขณะคือ
1วิญญาณจริยา จิตทำหน้าที่เดียวคือเป็นประธานรับรู้อารมณ์ทุกอย่างที่ปรากฏ
2ญาณจริยาคือความประพฤติของจิตที่ประกอบด้วยปัญญา
3อัญญาณจริยาคือความประพฤติของจิตด้วยความไม่รู้


มาอีกแระปัจจุบันขณะ ปัจจุบันขณะของคุณโรสวัดจากไหนถึงไหนเรียกปัจจุบันขณะ ตอบ

ถ้าว่า ตามสามข้อนั้น ถามคุณโรสว่า กายกับจิตแยกจากกันไปทำอะไรต่ออะไรได้ไหม เช่น ไปซื้อส้มตำปากซอย ไปแต่จิต กายอยู่บ้าน ได้ไหม หรือ ไปแต่กาย จิตใจอยู่บ้านได้ไหม ตอบ :b32:

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 24 เม.ย. 2019, 16:05 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 29 ต.ค. 2009, 15:06
โพสต์: 7503

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
Rosarin เขียน:
กรัชกาย เขียน:
ศีล ความประพฤติดีทางกายและวาจา, การรักษากายและวาจาให้เรียบร้อย, ข้อปฏิบัติสำหรับควบคุมกายและวาจาให้ตั้งอยู่ในความดีงาม, การรักษาปกติตามระเบียบวินัย, ปกติมารยาทที่ปราศจากโทษ, ข้อปฏิบัติในการฝึกหัดกายวาจาและอาชีพ, มักใช้เป็นคำเรียกอย่างง่ายสำหรับคำว่า อธิศีลสิกขา

ศีล ๕ สำหรับทุกคน คือ

๑.เว้นจากการทำลายชีวิต (ปาณ หมายถึงสิ่งที่มีลมหายใจ ท่านเพ่งเอามนุษย์)

๒.เว้นจากถือเอาของที่เขามิได้ให้

๓.เว้นจากประพฤติผิดในกาม

๔.เว้นจากพูดเท็จ (เช่น เป็นพยานเท็จในศาล เป็นต้น)

๕.เว้นจากของเมา คือ สุราเมรัยอันเป็นที่ตั้งแห่งความประมาท



ศีล ๘ สำหรับฝึกตนให้ยิ่งขึ้นไปโดยรักษาในบางโอกาส หรือมมีศรัทธาจะรักษาประจำก็ได้

ศีล ๑๐ สำหรับสามเณร แต่ผู้ใดจะรักษาก็ได้

ศีล ๒๒๗ ศีลสำหรับพระภิกษุ มีในภิกขุปาฎิโมกข์

ศีล ๓๑๑ ศีลสำหรับพระภิกษุณี

ศีลอุโบสถ คือ ศีล ๘ ที่สมาทานรักษาพิเศษในวันอุโบสถ

ความประพฤติเป็นไปของจิตตามปกติตามการสะสมศีลมีแค่3ประการตรงปัจจุบันขณะคือ
1วิญญาณจริยา จิตทำหน้าที่เดียวคือเป็นประธานรับรู้อารมณ์ทุกอย่างที่ปรากฏ
2ญาณจริยาคือความประพฤติของจิตที่ประกอบด้วยปัญญา
3อัญญาณจริยาคือความประพฤติของจิตด้วยความไม่รู้


มาอีกแระปัจจุบันขณะ ปัจจุบันขณะของคุณโรสวัดจากไหนถึงไหนเรียกปัจจุบันขณะ ตอบ

ถ้าว่า ตามสามข้อนั้น ถามคุณโรสว่า กายกับจิตแยกจากกันไปทำอะไรต่ออะไรได้ไหม เช่น ไปซื้อส้มตำปากซอย ไปแต่จิต กายอยู่บ้าน ได้ไหม หรือ ไปแต่กาย จิตใจอยู่บ้านได้ไหม ตอบ :b32:

:b12:
ปัจจุบันขณะของตถาคตคือมันดับแล้วนับแสนโกฏิขณะเดี๋ยวนี้ส่วนตัวตนคนน่ะรู้แบบตถาคตไม่ได้
ปัจจุบันขณะของคนที่คิดตามปกติตามคำสอนคือคิดถูกตามได้ตรง1ทางไม่ปนทางกันด้วยคิดตรงตาม
1คำก็ต้องเป็นคำที่ตรง1ทางตามเป็นจริงที่กายใจตัวคุณกำลังมีเทียบตรง1ทางที่คิดตรงตามได้ตรง1สัจจะ
เช่น...เห็น...มีแค่เห็น...เปล่าๆ...ไม่มีคิดไม่มีได้ยินไม่มีอะไรปน...แค่เห็นแล้วดับมีอะไรไหมหลังจากที่ดับแล้ว
:b12:
:b4: :b4:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 26 เม.ย. 2019, 07:41 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


Rosarin เขียน:
กรัชกาย เขียน:
Rosarin เขียน:
กรัชกาย เขียน:
ศีล ความประพฤติดีทางกายและวาจา, การรักษากายและวาจาให้เรียบร้อย, ข้อปฏิบัติสำหรับควบคุมกายและวาจาให้ตั้งอยู่ในความดีงาม, การรักษาปกติตามระเบียบวินัย, ปกติมารยาทที่ปราศจากโทษ, ข้อปฏิบัติในการฝึกหัดกายวาจาและอาชีพ, มักใช้เป็นคำเรียกอย่างง่ายสำหรับคำว่า อธิศีลสิกขา

ศีล ๕ สำหรับทุกคน คือ

๑.เว้นจากการทำลายชีวิต (ปาณ หมายถึงสิ่งที่มีลมหายใจ ท่านเพ่งเอามนุษย์)

๒.เว้นจากถือเอาของที่เขามิได้ให้

๓.เว้นจากประพฤติผิดในกาม

๔.เว้นจากพูดเท็จ (เช่น เป็นพยานเท็จในศาล เป็นต้น)

๕.เว้นจากของเมา คือ สุราเมรัยอันเป็นที่ตั้งแห่งความประมาท



ศีล ๘ สำหรับฝึกตนให้ยิ่งขึ้นไปโดยรักษาในบางโอกาส หรือมมีศรัทธาจะรักษาประจำก็ได้

ศีล ๑๐ สำหรับสามเณร แต่ผู้ใดจะรักษาก็ได้

ศีล ๒๒๗ ศีลสำหรับพระภิกษุ มีในภิกขุปาฎิโมกข์

ศีล ๓๑๑ ศีลสำหรับพระภิกษุณี

ศีลอุโบสถ คือ ศีล ๘ ที่สมาทานรักษาพิเศษในวันอุโบสถ

ความประพฤติเป็นไปของจิตตามปกติตามการสะสมศีลมีแค่3ประการตรงปัจจุบันขณะคือ
1วิญญาณจริยา จิตทำหน้าที่เดียวคือเป็นประธานรับรู้อารมณ์ทุกอย่างที่ปรากฏ
2ญาณจริยาคือความประพฤติของจิตที่ประกอบด้วยปัญญา
3อัญญาณจริยาคือความประพฤติของจิตด้วยความไม่รู้


มาอีกแระปัจจุบันขณะ ปัจจุบันขณะของคุณโรสวัดจากไหนถึงไหนเรียกปัจจุบันขณะ ตอบ

ถ้าว่า ตามสามข้อนั้น ถามคุณโรสว่า กายกับจิตแยกจากกันไปทำอะไรต่ออะไรได้ไหม เช่น ไปซื้อส้มตำปากซอย ไปแต่จิต กายอยู่บ้าน ได้ไหม หรือ ไปแต่กาย จิตใจอยู่บ้านได้ไหม ตอบ :b32:

:b12:
ปัจจุบันขณะของตถาคตคือมันดับแล้วนับแสนโกฏิขณะเดี๋ยวนี้ส่วนตัวตนคนน่ะรู้แบบตถาคตไม่ได้
ปัจจุบันขณะของคนที่คิดตามปกติตามคำสอนคือคิดถูกตามได้ตรง1ทางไม่ปนทางกันด้วยคิดตรงตาม
1คำก็ต้องเป็นคำที่ตรง1ทางตามเป็นจริงที่กายใจตัวคุณกำลังมีเทียบตรง1ทางที่คิดตรงตามได้ตรง1สัจจะ
เช่น...เห็น...มีแค่เห็น...เปล่าๆ...ไม่มีคิดไม่มีได้ยินไม่มีอะไรปน...แค่เห็นแล้วดับมีอะไรไหมหลังจากที่ดับแล้ว
:b12:
:b4: :b4:



อ่ะน่ะ เราถามเรื่องไปซื้อส้มตำปากซอย แต่คุณโรสไปแสนโกฎิขณะ ไปตถาคตไปโน่น คิกๆๆ

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 26 เม.ย. 2019, 08:17 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
ศีลกับเจตนารมณ์ทางสังคม

คำสอน และหลักปฏิบัติทางพระพุทธศาสนา ส่วนที่เกี่ยวข้องกับสังคม และสะท้อนถึงเจตนารมณ์ของพระพุทธศาสนา ในด้านความสัมพันธ์ทางสังคมได้มากที่สุด ก็คือ คำสอน และหลักปฏิบัติในขั้นศีล เพราะศีลเป็นระบบการควบคุมชีวิตด้านนอก เกี่ยวด้วยการแสดงออกทาง กาย วาจา เป็นระเบียบว่าด้วยความสัมพันธ์กับสภาพแวดล้อม โดยเฉพาะอย่างยิ่งความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์ด้วยกัน การดำเนินกิจการต่างๆของหมู่ชน
การจัดสภาพความเป็นอยู่ และสิ่งแวดล้อม ให้เรียบร้อยและเกื้อกุลแก่การดำรงอยู่ด้วยดีของหมู่ชนนั้น และแก่ความผาสุกแห่งสมาชิกทั้งปวงของหมู่ชน อันจะเอื้ออำนวยให้ทุกคนสามารถบำเพ็ญกิจกรณีย์ที่ดีงามยิ่งๆขึ้นไป เพื่อบรรลุจุดหมายสูงสุดของชีวิตตามความตกลงนับถือของพวกตน หรือเพื่อเข้าถึงประโยชน์และความดีงามสูงสุดตามอุดมการณ์ของหมู่ชนนั้น ตลอดจนเกื้อกูลแก่การที่หมู่ชนนั้นจะเผยแพร่อุดมการณ์ กิจการ และประโยชน์สุข ความดีงามของตนให้แผ่ขยายกว้างออกไป

ศีลพื้นฐาน หรือขั้นต้นที่สุด ก็คือ การไม่เบียดเบียนผู้อื่น ไม่ว่าด้วยกาย หรือวาจา และการไม่ทำลายสติสัมปชัญญะที่เป็นตัวคุ้มศีลของตน ศีลขั้นต้นสุดนี้ นิยมเรียกว่า ศีล ๕



ชาวพุทธไม่น้อยที่ยังมองศีลไม่ออก ตอนนี้ให้ดูสักหนึ่งตัวอย่าง (ศีลข้อ ๑) โดยเทียบกับบทความนั่น

https://4.bp.blogspot.com/-CUItAacRwh0/ ... 1600/1.jpg

อ้างคำพูด:
แม่ ... ร่ำไห้ หลังรู้ว่าลูกฆ่าน้องเอ๋ย บอกนิสัยสุดโหด เคยติดคุกถึง 2 ครั้ง คนที่บ้านยังกลัว

แม่...กล่าวว่า ขณะนี้ครอบครัวทราบเรื่องที่ลูกชายไปก่อเหตุฆ่าคนตายจากเจ้าหน้าที่ตำรวจแล้ว ครอบครัวรู้สึกเสียใจ และคิดถึงหัวอกของคนที่สูญเสีย ตอนที่ตั้มอายุ 19 ปี เคยถูกจับ ในคดีจี้ชิงทรัพย์คนขับรถแท็กซี่ในกรุงเทพฯ และติดคุกอยู่นานหลายปี
เมื่อออกจากคุกมาก็กลับมาอยู่บ้าน ทำงานรับจ้างไปเรื่อย
ต่อมาถูกจับในคดียาเสพติด ติดคุกอยู่หลายปีเช่นกัน เพิ่งพ้นคุกออกมาเมื่อเดือน ก.พ. 2562

หลังออกจากคุกในครั้งนี้ ลูกชายมีนิสัยเปลี่ยนแปลงไป โดยมีอารมณ์เกรี้ยวกราด ฉุนเฉียว โมโหง่าย และมักระบายด้วยการกรีดข้อมือตัวเอง และทำร้ายตัวเองต่างๆนานา
แม่จึงตัดสินใจให้ลูกชายบวช ซึ่งได้บวชเป็นเวลา 7 วันก็สึกออกมา และไม่อยากอยู่บ้าน ขอเข้าไปหางานทำในเมืองขอนแก่น แต่ไม่มีที่อยู่ แม่จึงได้เช่าคอนโด จุดเกิดเหตุให้ลูกชาย พักอยู่กับน้องชาย แต่น้องชายอยู่ไม่ได้ เพราะตั้มมักจะหงุดหงิดโมโหง่าย น้องชายกลัวถูกทำร้ายจึงขอย้ายไปอยู่ที่อื่น


ติดคุกแล้วจะทำให้คนกลับตัวกลับใจเป็นสุจริตชนนั้นยากมากกกสักหน่อย พ้นโทษมาแล้วกลับได้มิจฉาติดตัวมาอีกหลายอย่าง เพราะได้แลกเปลี่ยนระหว่างนักโทษด้วยกัน ข้ารู้เรื่องลักขโมย แกรู้เรื่องอะไรมาแลกกัน แล้วสภาพแวดล้อมในคุกสุดแสนจะกดดัน อยู่ร่วมกันร้อยพ่อพันแม่ต่างจิตต่างใจ พ้นโทษออกมาได้รอยสักเต็มตัวออกมา นี่แหละปรโตโฆสะที่ไม่ดี ยิ่งขาดโยนิโสมนสิการด้วยไปกันใหญ่ มากมายออกมาแล้วก็เข้าไปอีก ออกมาอีก ก็เข้าไปอีก มนุษย์ธรรมดาๆนะไม่ใช่องคุลิมาลในตำนาน

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 26 เม.ย. 2019, 10:44 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
ได้อธิบายมาเพียงนี้ พอให้เข้าใจความหมายของถ้อยคำที่สำคัญ เพื่อเป็นฐานของการที่จะพูดเรื่องศีลกันต่อไป ในด้านหนึ่ง ก็จะได้รู้เข้าใจความหมายที่แท้จริงให้ชัดเจน แต่พร้อมกันนั้น ในอีกด้านหนึ่ง ก็จะได้ตระหนักถึงสภาพปัจจุบัน ที่ได้มีความเข้าใจความหมายของถ้อยคำเหล่านี้ไม่เพียงพอ โดยมองเห็นว่าความหมายได้คับแคบคลาดเคลื่อนผิดเพี้ยนไปอย่างไร แล้วศึกษาอย่างรู้เท่าทันที่จะให้ได้ผลตามที่มุ่งหมาย


ขอแทรกเล็กน้อยว่า ในเรื่องวินัย ในความหมายเชิงสังคมนั้น ได้กล่าวไว้ในบทที่ว่าด้วยเรื่องกรรมบ้างแล้ว ควรจะศึกษาอย่างโยงถึงกันด้วย


เมื่อทำความเข้าใจกันอย่างนี้แล้ว ก็จะพูดถึงเรื่องศีลในเชิงสังคม โดยถือความหมายของคำตามที่เข้าใจกันแบบคลุมๆ ในปัจจุบัน เช่นเป็นคำที่ใช้แทนกันได้ และใช้ปนกันไปกับคำในชุดเดียวกัน ครั้นแล้ว พร้อมด้วยความรู้เท่าทันนั้น ก็ศึกษาจับสาระของเรื่องราวให้ชัดเจน ดังที่จะกล่าวต่อไป



ต่อ


ศีลระดับธรรมอยู่ที่ตัวคน ศีลระดับวินัยขยายผลเพื่อสังคม

ศีล ตามความหมายกว้างๆ อย่างที่ใช้เป็นคำไทยนั้น กล่าวได้คร่าวๆว่า มี ๒ ระดับ

หนึ่ง ระดับทั่วไป ได้แก่ ระดับธรรม หรือระดับที่ยังเป็นเป็นธรรม คือ เป็นข้อแนะนำสั่งสอน หรือหลักความประพฤติที่แสดง (เทสิตะ – แสดงธรรม บัญญัติวินัย) ให้รู้เข้าใจ ผู้ที่ทำดีทำชั่ว มีความประพฤติดีประพฤติชั่ว หรือรักษาศีล ละเมิดศีล ย่อมได้รับผลดีผลชั่วเองตามเหตุปัจจัย ตามกฎธรรมดาแห่งความดีความชั่ว ที่เรียกว่า กฎแห่งกรรม หรือตามกฎแห่งกรรมนั้น

สอง ระดับเฉพาะ ได้แก่ ระดับวินัย หรือระดับที่เป็นวินัย คือ เป็นแบบแผนข้อบังคับที่บัญญัติ คือวางหรือกำหนดขึ้น (ปัญญัติตะ-แสดงธรรม บัญญัติวินัย) ไว้ เป็นทำนองประมวลกฎหมาย สำหรับกำกับความประพฤติของสมาชิกในหมู่ชนหรือชุมชนหนึ่ง โดยสอดคล้องกับความมุ่งหมายของหมู่คณะ หรือชุมชนนั้นโดยเฉพาะ ผู้ละเมิดบทบัญญัติแห่งศีลประเภทวินัยนี้ มีความผิดตามอาณาของหมู่ ซ้อนเข้ามาอีกชั้นหนึ่ง เพิ่มจากอกุศลเจตนาที่จะได้รับผลตามกฎแห่งกรรมของธรรมชาติ

เมื่อพิจารณาตามหลักนี้ จะเห็นได้ว่า สังคมวงกว้าง คือหมู่มนุษย์ทั้งหมด มีสภาพต่างกันไป ทั้งโดยกาละ และเทศะ ตกอยู่ใต้อิทธิพลของภาวะเปลี่ยนแปลงทางสังคม เศรษฐกิจ และการเมือง เป็นต้น ซึ่งแปลกกันไปตามถิ่น ตามยุคสมัย
การที่จะวงบทบัญญัติเกี่ยวกับศีลในส่วนรายละเอียดลงไว้เป็นแบบแผนอย่างเดียวกันตายตัวโดยอาณา อย่างที่เรียกว่า วินัย นั้น มิใช่ฐานะที่จะพึงกระทำ เพราะไม่อาจให้สังคมทุกยุคทุกสมัยทุกสภาพแวดล้อม ดำรงอยู่ด้วยดี และมีสภาพเกื้อกูล ด้วยประมวลบทบัญญัติที่มีข้อปลีกย่อยอย่างหนึ่งอย่างเดียวกันทั้งหมด

ดังนั้น สำหรับสังคมมนุษย์ทั่วไป พระพุทธศาสนาจึงแนะนำสั่งสอน หรือเสนอหลักธรรมหมวดที่นิยมเรียกกันว่า ศีล ๕ ไว้เป็นข้อกำหนดอย่างต่ำ หรือหลักความประพฤติอย่างน้อยที่สุดในระดับศีล เลยจากนั้นขึ้นไป ก็มี ศีลในกรรมบถ คือ กุศลกรรมบถ ๗ ข้อต้น หรือศีลที่เป็นองค์แห่งมรรค ได้แก่ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ และสัมมาอาชีวะ (คัมภีร์รุ่นอรรถกถา เรียกศีลชุดนี้ว่า”อาชีวัฏฐมกศีล”แปลว่า ศีลมีอาชีวะเป็นที่แปด หรือศีลที่ครบ ๘ ทั้งสัมมาชีพ – วิสุทฺธิ.1/13) ซึ่งเป็นหลักของศีลอย่างกว้างๆ

ศีลอย่างนี้ พระพุทธเจ้าทรงสอนตามฐานะที่มันเป็นธรรม คือ คำแนะนำหรือหลักความประพฤติ ซึ่งเมื่อปฏิบัติหรือไม่ปฏิบัติ ย่อมก่อให้เกิดผลดีหรือผลร้ายไปตามกฎแห่งธรรมดา
ถ้าผู้ใดเห็นชอบว่าตนควรประพฤติตามคำสอนของพระพุทธเจ้า ก็ยกเอาข้อธรรมขั้นศีลเหล่านี้มาเป็นข้อปฏิบัติของตน เพียรพยายามตั้งใจทำตามนั้น ถือกันว่า ถ้าเขาปฏิบัติได้แม้เพียงศีล ๕ ก็สมควรแก่การเรียกว่า เป็นชาวพุทธ

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


แสดงโพสต์จาก:  เรียงตาม  
กลับไปยังกระทู้  [ 117 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1, 2, 3, 4, 5 ... 8  ต่อไป

เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


 ผู้ใช้งานขณะนี้

กำลังดูบอร์ดนี้: ไม่มีสมาชิก และ บุคคลทั่วไป 33 ท่าน


ท่าน ไม่สามารถ โพสต์กระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ตอบกระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แก้ไขโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ลบโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แนบไฟล์ในบอร์ดนี้ได้

ค้นหาสำหรับ:
ไปที่:  
Google
ทั่วไป เว็บธรรมจักร


cron